ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhattiya Kawrungruang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สัปดาห์ที่ 7 : ศิลปะขอมในประเทศไทย (สถาปัตยกรรม)
1. วิวัฒนาการตัวปราสาท ปราสาทขอม = ปูพื้นฐานจาก “วิมาน” ในศิลปะอินเดีย S สมัย วัสดุ Plan รวม Plan ครรภคฤหะ ยอดวิมาน รูป ก่อน พระนคร อิฐ ครรภคฤหะ ยกเก็จ+เสาติดผนัง วิมาน+ปราสาทจำลอง หิน ครรภคฤหะ+มณฑป+ระเบียงคด เพิ่มมุม ไม่มีเสาติดผนัง วิมาน+กลีบขนุน 61-62
2
2. วิวัฒนาการทับหลัง ทับหลัง = คานปลอมเหนือประตูซึ่งสักภาพเล่าเรื่องทางศาสนา = กลายมาจาก “กูฑุ” (หน้าบันรูปเกือกม้า) ในศิลปะอินเดีย ก่อนพระนคร พระนคร ตรงกลาง วงกลมรูปเหรียญ หน้ากาล(อิทธิพลชวา) ท่อนตรงกลาง วงโค้งของหน้าบันกูฑุ พวงมาลัย ด้านข้าง สัตว์ต่างๆหันหัวเข้า เช่น มกร ไม่มีสัตว์หันหน้าเข้า ด้านล่าง พวงมาลัย+พวงอุบะ ใบไม้ห้อยตกลงมา ตัวอย่างรูป 58-60
3
หน้าบันหรือหน้าจั่ว ศิลา 61 x 85 ซม
รูปที่ 58
4
แผนผังเมือง ทวารวดี ขอม plan Plan ไม่แน่นอนตามลักษณะภูมิประเทศ
ศาสนสถาน อยู่ในเมือง/นอกเมืองก็ได้ - กลางเมืองเสมอ - ตรงแนวประตูเมืองเสมอ
5
ทับหลัง ศิลา 67 x 12 x 48 ซม. ปัจจุบันอยู่ที่วัดสุปัฏนาราม จ
รูปที่ 59
6
ทับหลัง ศิลา 164 x 14 ซม. พบที่ปราสาทภูมิโพน อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ศิลปะลพบุรีตอนต้น ต้นพุทธศตวรรษที่ 13 รูปที่ 60
7
ปราสาทหินพิมาย อยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ศิลปะลพบุรี กลางพุทธศตวรรษที่ 17 เป็นพุทธสถานในลักธิมหายาน สมัยลพบุรีที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สร้างก่อนปราสาทนครวัดเล็กน้อย มีลักษณะผิดแผกไปจากปราสาทขอมบ้าง เช่น ลายสลักที่ฐานมีลักษณะสูงขึ้นมาก รูปที่ 61 และมีขอบอยู่ข้างบนและการย่อมุมของปราสาทรวมทั้งเครื่องบนหรือหลังคาซึ่งมีรูปครุฑแบกประกอบด้วย ปราสาทหินพิมายหันหน้าไปทางทิศใต้
8
รูปที่ 62 พระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี ศิลปะลพบุรี ต้นพุทธศตวรรษที่ 18
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.