ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJàew Sindudeja ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ
ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ ลักษณะงาน ( ลักษณะอุตสาหกรรม ) ลักษณะการจ้างงาน ( การจ้างงานโดยภาคเอกชน รัฐบาล ส่วนบุคคล หรือ ในครอบครัว ) สถานที่ทำงาน การคมนาคม รายได้
2
คือ การกระจายตัวของประชากร
ปิรามิดประชากร Population Pyramid คือ การกระจายตัวของประชากร ตามอายุและเพศ
3
ลักษณะทั่วไป 3 แบบ 1. แบบฐานขยาย -มีประชากรกลุ่มอายุน้อย เป็นจำนวนมาก
2. แบบฐานแคบ -มีประชากรกลุ่ม อายุน้อยไม่มาก 3. แบบคงที่ -ประชากรในกลุ่ม อายุต่างๆ มีพอๆ กัน
4
การสร้างปิรามิด 1. ใช้จำนวนประชากร Absolute numbers
2. ใช้สัดส่วน Proportion
5
รูปแบบของปิรามิดมี 5 แบบ
6
การแปลความจากปิรามิดประชากร
1. ฐานกว้างเข้าหาปลายรูป = อัตราเกิดสูง อัตราตายสูง มีช่วงคนเป็นภาระสูง
7
2. ฐานกว้างมากกว่าแบบที่ 1 คอดเรียวหาส่วนยอดแหลม
2. ฐานกว้างมากกว่าแบบที่ 1 คอดเรียวหาส่วนยอดแหลม = การเพิ่มของประชากรเร็วมาก (เพราะการตายของทารกอายุ ต่ำกว่า 1 ปี ลดลง แต่อัตราเกิดไม่ลดลง ทำให้ประชากรเพิ่มมาก) ช่วงอายุกลาง การเพิ่มลดลง เพราะการตายลดลง อัตราส่วนพึ่งพิงสูงสุด พบใน ฟิลิปปินส์ บราซิล เม็กซิโก
8
3. รูปคล้าย รวงผึ้ง = อัตราเกิดต่ำเพราะฐานแคบ และภาวะการตายต่ำ ทำให้ช่วงกลาง มีประชากรมาก อัตราส่วนพึ่งพิงมีเฉพาะผู้สูงอายุ พบในยุโรป
9
4. รูปคล้าย ระฆัง = อัตราตายต่ำ ต่อมาอัตราเกิดเพิ่มแต่อัตราตายยังต่ำ
ประชากรเพิ่มช่วงอายุกลาง จะคล้ายแบบที่ 3 ในอนาคต อัตราส่วนพึ่งพิงมีเฉพาะกลุ่มเด็ก พบในสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา
10
5. อัตราเกิดลดลงอย่างรวดเร็ว และถ้าลดลงอีกฐานจะแคบเข้า อัตราตายต่ำ พบในญี่ปุ่น
11
Figure 2.1 : Population Pyramid
for Australia June 1977 Figure 2.2 : Population Pyramid For Australia (1961 Census) and West Malaysia (1957 Census)
12
Figure 7.2 : Age sex distribution of female stable populations with high mortality
(e0 = 40) and low mortality (e0 = 70) and rates of growth r = 0, 1 and 2% p.a.
13
ตัวอย่างปิรามิดลักษณะต่างๆ
14
โครงสร้างทางอายุและเพศ (ปิรามิดประชากร)
15
Figure 19-3 : Population Structure of Developing and
Developed Regions of the World
16
Figure 2.3 : Population pyramid for West Germany (1972)
17
Figure 8.3 : Age Pyramid in Different Areas of San Diego (1970)
18
Figure 8.3 : Age Pyramid in Different Areas of San Diego (1970)
19
องค์ประกอบสำคัญของภาวะการเจริญพันธุ์
ภาวะการเจริญพันธุ์ (Fertility) คือ จำนวนบุตรที่เกิดจริงของบุคคล องค์ประกอบสำคัญของภาวะการเจริญพันธุ์ ความสามารถในการมีบุตร Fecundity การเป็นหมัน Sterility
20
การคำนวณภาวะเจริญพันธุ์
1. อัตราเกิด( CBR ) = จำนวนทารกที่เกิดมีชีพ จำนวนประชากรกลางปี x 1,000 2. CWR = อัตราส่วนเด็กต่อสตรี Child Woman Ratio = เด็กอายุ สตรี อายุ x 1,000 3. GFR = จำนวนการเกิดทั้งหมด จำนวนสตรีที่มีอายุ x 1,000
21
4. Age - Specific fertility
อัตราการเจริญพันธุ์ตามรายอายุ คือ การแบ่งสตรีเป็นหมวดโดยใช้ความแตกต่าง 5 ปี
22
Asf = จำนวนการเกิดจากสตรีในกลุ่มอายุหนึ่ง
จำนวนสตรีที่มีอายุในกลุ่มเดียวกัน x 1,000 ตัวอย่าง = จำนวนเด็กที่เกิดจากสตรี จำนวนสตรีในกลุ่ม x 1,000
23
5. อัตราเจริญพันธุ์รวมยอด ( Total fertility rate )
จำนวนบุตรที่เกิดรอดโดยเฉลี่ยจากสตรีคนหนึ่ง หรือ กลุ่มหนึ่ง คำนวณจากวิธีที่ 4 ทั้ง 7 กลุ่ม มาคูณกับ 5 ตัวอย่าง อายุ อัตราต่อพัน อายุ อัตราต่อพัน ผลรวมอัตราต่อพัน = 740 = x = 3,7000 หรือ ต่อ พัน
24
1. อัตราการเกิดอย่างหยาบ
1. อัตราการเกิดอย่างหยาบ Crude Birth Rate ( CBR ) 2. อัตราส่วนเด็กต่อสตรี Child Woman Ratio ( CWR ) ปี = ? ปี = ? 3. อัตราการเจริญพันธุ์ทั่วไป Growth Fertility rate ( GFR ) 4. อัตราเจริญพันธุ์ตามรายอายุ Age - Specific Fertility ( ASF ) 5. อัตราการเจริญพันธุ์รวบยอด Total Fertility Rate ( TFR )
25
6. อัตราเกิดทดแทนรวม Growth Reproductive Rate Gross - Net
6. อัตราเกิดทดแทนรวม Growth Reproductive Rate Gross - Net GRR = TFR x bf B bf = จำนวนเด็กที่เกิดเพศหญิง B = จำนวนเด็กที่เกิดทั้งหมดในปีเดียวกัน
26
และทั่วราชอาณาจักร พ.ศ. 2538-39
ตารางที่ 3 อัตราเจริญพันธุ์ จำแนกตามหมวดอายุของสตรีในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และทั่วราชอาณาจักร พ.ศ TABLE 3 AGE-SPECIFIC FERTILITY RATES FOR MUNICIPAL, NON-MUNICIPAL AREAS AND THE WHOLE KINGDOM : ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
27
ตารางที่ 3-1 อัตราเจริญพันธุ์ จำแนกตามหมวดอายุของสตรี จำแนกตามปีสำรวจ
TABLE 3-1 AGE-SPECIFIC FERTILITY RATES BY YEAR OF SURVEY ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
28
ตารางที่ 3-2 อัตราเจริญพันธุ์ทั้งมวล จำแนกตามภาค พ. ศ
ตารางที่ 3-2 อัตราเจริญพันธุ์ทั้งมวล จำแนกตามภาค พ.ศ , 2534 และ พ.ศ TABLE 3-2 TOTAL FERTILITY RATES BY REGION : , AND ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
29
อัตราเกิดทดแทน Net Reproductive Rate
เงื่อนไข สตรีไม่สามารถมีบุตรได้ทุกคน - สตรีอาจตาย - สตรีอาจไม่แต่งงาน bf x อัตราเกิดตามหมวดอายุของสตรีแต่ละหมวด B อัตราส่วนรอดชีพ ( จำนวนประชากรที่เหลือรอดในกลุ่มเดียวกัน ) x 1,000
30
Figure 6.8 : Crude birth rates among the countries of the world.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.