ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Periodic Table
2
Dimitri Mendeleev Dmitri Ivanovich Mendeleev ได้เสนอการจัดตารางธาตุออกมาในลักษณะคล้าย ๆ กัน โดยพบว่าสมบัติต่าง ๆ ของธาตุสัมพันธ์กับมวลอะตอมของธาตุ ตาม Periodic Law คือ “ สมบัติของธาตุเป็นไปตามมวลอะตอมของธาตุโดยเปลี่ยนแปลงเป็นช่วง ๆ ตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น”
3
เอคาซิลิคอนทำนายเมื่อ พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871)
Dimitri Mendeleev ตาราง เปรียบเทียบสมบัติของธาตุเอคาซิลิคอนกับเจอร์เมเนียมที่ทำนายและที่ค้นพบ สมบัติ เอคาซิลิคอนทำนายเมื่อ พ.ศ (ค.ศ. 1871) เจอร์เมเนียมพบเมื่อ พ.ศ (ค.ศ.1886) มวลอะตอม สีของธาตุ ความหนาแน่น (g/cm3) จุดหลอมเหลว (0C ) สูตรของออกไซด์ ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm3) เมื่อผสมกับกรดไฮโดรคลอริก 72 เป็นโลหะสีเทา 5.5 สูง GeO2 4.7 ละลายได้เล็กน้อย 72.6 5.36 958 4.70 ไม่ละลายที่ 25 0C
4
Henry Moseley Henry Moseley ได้จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก ดังนั้นในปัจจุบัน Periodic Law มีความหมายว่า “สมบัติต่าง ๆ ของธาตุจะขึ้นอยู่กับเลขอะตอมของธาตุนั้น และขึ้นอยู่กับการจัดอิเล็กตรอนของธาตุเหล่านั้น” He was able to derive the relationship between x-ray frequency and number of protons
5
ตารางธาตุในปัจจุบัน
6
Periodic Classification of the Elements
ตัวอย่างที่ 1 จงเติมข้อความต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ เลขอะตอม โครงแบบอิเล็กตรอน คาบที่ หมู่ที่ สัญลักษณ์ธาตุ 8 _________________ _____ _____ __________ 36 _________________ _____ _____ __________ 42 _________________ _____ _____ __________ 50 _________________ _____ _____ __________
7
ตารางเปรียบเทียบสมบัติของโลหะและอโลหะ
สมบัติของอโลหะ มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณภูมิห้อง ยกเว้น ปรอทที่เป็นของเหลว เมื่อขัดจะมีความมันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดี แต่การนำไฟฟ้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เคาะจะมีเสียงกังวาน แข็งและเหนียวสามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ ที่อุณหภูมิห้องมีได้ทุกสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เมื่อขัดจะไม่มีความมันวาว ไม่นำไฟฟ้าและไม่นำความร้อน ยกเว้นบางตัว เช่น แกร์ไฟต์นำไฟฟ้าได้ เคาะจะไม่มีเสียงกังวาน ส่วนมากเปราะไม่สามารถจะทำให้เป็นแผ่นหรือเป็นเส้นได้ 7
8
ตารางเปรียบเทียบสมบัติของโลหะและอโลหะ
สมบัติของอโลหะ มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง มีความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะสูง เป็นพวกชอบให้อิเล็กตรอน ทำให้เกิดเป็นไอออนบวก เกิดเป็นสารประกอบ เช่น ออกไซด์ คลอไรด์ ซัลไฟด์และไฮไดร์ได้ ส่วนใหญ่จะทำปฏิกิริยากับกรดเจือจางให้ก๊าชไฮโดรเจน ส่วนมากมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ ส่วนมากมีความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะต่ำ เป็นพวกชอบรับอิเล็กตรอน ทำให้เกิดเป็นไอออนลบ เกิดเป็นสารประกอบ เช่น ออกไซด์ คลอไรด์ ซัลไฟด์และไฮไดร์ได้ ไม่ทำปฏิกิริยากับกรดเจือจาง 8
10
Group 1A Elements
11
Group 2A Elements
12
Group 3A Elements B เป็นกึ่งโลหะ
13
Group 4A Elements
14
ตัวอย่างออกไซด์: N2O, NO2, N2O4, N2O5, P4O6, P4O10
Group 5A Elements Bismuth(Bi) Antimony(Sb) Arsenic(As) ตัวอย่างออกไซด์: N2O, NO2, N2O4, N2O5, P4O6, P4O10
15
ตัวอย่างออกไซด์: SO2, SO3
Group 6A Elements Oxygen (O) Polonium (Po) Sulphur (S) Selenium (Se) Tellurium(Te) ตัวอย่างออกไซด์: SO2, SO3 SO3(s) + H2O(l) H2SO4(aq)
16
Group 7A Elements
17
Group 8A Elements
18
ก๊าซเฉื่อย ก๊าซเฉื่อยหรือก๊าซมีตระกูล ( inert gas or noble gas) หมายถึง ธาตุที่ไม่ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ๆ ซึ่งมีทั้งหมด 6 ธาตุ ตือ He, Ne, Ar, Kr, Xe และ Rn * ก๊าซเฉื่อย 1 อะตอม เท่ากับ 1 โมเลกุล * ปนอยู่กับอากาศประมาณร้อยละ 1 โดยปริมาตร พบว่ามี Ar อยู่มากที่สุดคือประมาณร้อยละ ของก๊าซเฉื่อยทั้งหมด
19
Diatomic Elements
20
ธาตุกึ่งโลหะ 13 14 15 16 17 B Boron C Carbon N Nitrogen O Oxygen
F Fluorine Al Aluminium Si Silicon P Phosphorus S Sulfur Cl Chlorine Ga Gallium Ge Germanium As Arsenic Se Selenium Br Bromine In Indium Sn Tin Sb Antimony Te Tellurium I Iodine Tl Thallium Pb Lead Bi Bismuth Po Polonium At Astatine
21
ธาตุกึ่งโลหะ (Metalloids)
ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคล้ายโลหะ และมีสมบัติบางประการคล้ายอโลหะ ได้แก่ B (โบรอน) Si (ซิลิกอน) Ge (เจอร์เมเนียม) As (อาร์เซนิก) Sb (แอนติโมนี) Te (เทลลูเรียม) Po (โพโลเนียม) At (แอสทาทีน) 25
22
ธาตุแทรนซิชัน (Transition elememts)
IIIB IVB VB VIB VIIB VIIIB IB IIB 18
23
สีของสารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
24
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.