ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นวัตกรรม Joint feeding
2
ความสำคัญของปัญหา 1.หอผู้ป่วย วธ 3. ให้การบริการการพยาบาลแก่ผู้ป่วยพิเศษ ด้านอายุรกรรมทุกระบบ 2. ผู้ป่วยร้อยละ 30 จะเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังและมีปัญหาในการ กลืน อาหารจึงจำเป็นต้องใส่สาย N.G. tube เพื่อให้อาหาร ทางสายยาง 3.ผู้ป่วยที่ให้อาหารทางสายยางโดยใช้set kangaroo กับ N.G. tube ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 จะหลุดก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ
3
อุปกรณ์การประดิษฐ์ 1.สว่าง 2.เลื่อย 3.กรรไกร 4.ไขควง 5.กระดาษทราย
6.น๊อต (ตัวละ2บาท) 7.แผ่นอะคาริก (30x30 ซ.ม.=120 บาท) 8.ยางยืด (ก.1xย.90 ซ.ม.= 5บาท)
4
วิธีประดิษฐ์ 6 ซ.ม. 2.5ซ.ม. 1.นำแผ่นอะคาริก หนา 5 มม นำมาเจาะรูตรงกลางขนาด 0.5 ซ.ม. มาตัคให้ได้ขนาด 6x2.5 ซ.ม.จำนวน 2 แผ่น และขนาด 0.8 ซ.ม. ตามลำดับ 3.นำมาเจาะรูขนาด 0.3 ซ.ม. ซ้าย-ขวาทั้งสองแผ่น นำแผ่นที่ 1 มาตัดให้ขอบกว้าง 0.8 ซ.ม. โดยให้ห่างจากขอบบน-ล่าง 1.25 ซ.ม ถึงวงกลมกว้าง 0.5 ซ.ม. แผ่นที่ 2 และขอบซ้าย-ขวา 0.5 ซ.ม ตัดเหมือนกันให้กว้าง 0.3 ซ.ม.และ 0.2 ซ.ม.
5
แบบประเมินผล Joint Feeing
เป้าหมาย 1. เพื่อประเมินความพึงพอใจการใช้อุปกรณ์ 2. เพื่อเก็บข้อมูลปัญหา และ อุปสรรคในการใช้ เครื่องชี้วัด 1. อัตราความพึงพอใจต่อการใช้ Joint feeding มากกว่า 90 % 2. ไม่พบ อุบัติการณ์หลังการใช้ Joint feeding ชื่อผู้ป่วย ห้อง หอผู้ป่วย วัน เดือน ปี เวลา ผู้ป่วยใส่สายอาหาร NG PEG Gastrostomy Others ผู้ป่วยใช้ ถุงอาหารแบบ Kangaroo pump set Nutri-Bag จำนวนครั้งต่อวัน ครั้ง..( ) ในการใช้ Joint feeding ครั้งนี้ ไม่เลื่อนหลุด เลื่อนหลุด ดีมาก ดี ดีพอใช้ พอใช้ ปรับปรุง 1. ความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์ 2. ความสะดวกในการใช้อุปกรณ์ 3. ช่วยป้องกัน สาย feeding หลุดเลื่อนได้ดี 4. ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามแผนการรักษา ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ……………………………………………………………………………… ลงชื่อผู้ประเมิน
6
การนำไปใช้
7
INNOVATION Thank you for you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.