ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อินเตอร์เน็ต
2
หัวข้อ อินเตอร์เน็ต (internet) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
DNS (Domain Name System) TCP/IP IP Addressing IP Datagram โปรโตคอลอื่นๆ ที่น่าสนใจ
3
1. อินเตอร์เน็ต (internet)
อินเตอร์เน็ต (internet) คือ เครือข่าย WAN จะอยู่ในห้อง(Wide Area Network) หรือ การเชื่อมโยงเครือข่ายในบริเวณกว้าง ที่มีขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมไปทั่วโลก อินเตอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ โดยกระทรวงกลาโหมของประเทศหรัฐอเมริกา จัดตั้งเป็น ARPA (Advance Research Project Agency) และมีการเชื่อมต่อไปยังมหาวิทยาลัย 4 มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย สถาบันวิจัยของมาหวิทยาลัยแสตนฟอร์ด (SRI International) University of California, Los Angeles (UCSLA) University of California, Santa Barbara (UCSB) University of Utah ให้บริการ , chat, โอนถ่ายข้อมูล
4
1. อินเตอร์เน็ต (internet)(ต่อ)
ในปี ค.ศ ได้มีกานำเครือข่ายหน่วยงานของรัฐบา มาเชื่อต่อเข้ากับ ARPANET ส่งผลให้เครือข่ายเดิมมีขนาดใหญ่มากขึ้น จึงได้เริ่มเรียกเครือข่ายนี้ว่า “อินเตอร์เน็ต”
5
1. อินเตอร์เน็ต (internet)(ต่อ)
อินเตอร์เน็ตจะมีองค์กรหรือหน่วยงานที่คอยให้บริการด้านอินเตอร์เน็ตที่เรียกว่า “ISP (Internet Service Provider)” โดยแบ่งเป็น ISP ระดับประเทศ (National ISP) และ (Regional ISP)
6
1. อินเตอร์เน็ต (internet)(ต่อ)
7
1. อินเตอร์เน็ต (internet)(ต่อ)
การแสดงกระบวนการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผ่าน NSP (Network Service Provider)networkผู้เชื่อมกัน และ MAE (Metropolitan(เมือง) Area Exchange)
8
1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
"โมเด็ม (Modem)" ซึ่งเป็นอุปกร์ที่ใช้แปลงสัญญาณ (Modulation)หรือโมเดม จากดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อกเพื่อทำการส่งไปตามสารโทรศัพท์ ในทางกลับกันก็สามารถแปลงสัญญาณกลับ (Demodulation) จากสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอล
9
2.1 มาตรฐานโมเด็ม -Bell Telephone (ผู้ผลิต)(Bell Modems)
-องค์การ ITU-T มาตรฐานรุ่น V.90 มีความเร็วในการรับ/ส่งข้อมูล 53,000/33,600 bps (โมเดมแบบบนี้จะมีในโน้ดบุ๊ก)
10
2.1 มาตรฐานโมเด็ม ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line ) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งข้อมูลผ่านโทรศัพท์ด้วยความเร็ซสูง เป็นเทคโนโลยีประเภทหนึ่งของ DSL (SDSL IDSL และ HDSL) HDSL: High bit rate Digital Subscriber Line SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line IDSL: ISDN Digital Subscriber Line การใช้งานช่วงความถี่ ช่วงความถี่ต่ำ ให้กับสัญญาณโทรศัพท์ 0-4 KHz ช่วงความถี่ในการรับข้อมูล เรียกว่า "Downstream" ช่วงความถี่ในการส่งข้อมูล "Upstream"
11
2.1 มาตรฐานโมเด็ม การแสดงประสิทธิภาพของเทคโนโลยี DSL
การแสดงการแบ่งสัญญารของ ADSL (การขนส่งข้อมูลแบบ Asymmetric)
12
2.1 มาตรฐานโมเด็ม -Bell Telephone (Bell Modems)
-องค์การ ITU-T มาตรฐานรุ่น V.90 มีความเร็ซในการรับ/ส่งข้อมูล 53,000/33,600 bps
13
การเชื่อมต่อ ADSL DSLAM (Digital Subscriber Line Access Multiplexer)
DSL Modem Splitter Micro filter (ตัวกรองสัญญาณ ออกจากสายโทรศัพท์)
14
อุปกรณ์ภายใน ADSL ADSL ใช้ Frequency Division Multiplexing (FDM) ในการแย่กสัญญานเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงทางในการับ/ส่งข้อมูล โดยใช้ DMT (Discrete Multitone Technique)
15
3. Domain Name System DNS (Domain Name System) การสื่อสารโดยใช้ TCP/IP จำเป็นจะต้องติดต่อสื่องสารกันด้วย IP Address ทำให้จดจำได้ยากจึงมีการใช้ชื่อ หรือ ข้อความแทน โดยเรียกระบบนี้คือ DNS (Domain Name System) มีส่วนประกอบ 3 ส่วนด้วยกันคือ Name Resolver Domain Mane Space Name Server
16
3.1 ประเภทของ DNS โดเมนทั่วไป (Generic Domain)
โดเมนรหัสประเทศ (Country Domain) อินเวอร์สโดเมน (Inverse Domain) ARPA Domain
17
3.2 กระบานการทำงานของ DNS Server
DNS Server ให้บริการสำหรับแอปพลิเคชั่น และ DNS Server อื่น
18
4. TCP/IP TCP/IP (Transmission Control Protocol(กฎการสื่อสาร)/Internet Protocol) เป็นโปรโตคอล(กฏการสื่อสาร) สำคัญที่ใช้ในการเชื่อมโยงและติดต่อสื่อสารในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารกันทั้งภายในและภายนอกองค์กร TCP/IP โดย TCP/IP แบ่งการทำงานออกเป็น 4 ชั้นได้แก่ แอปพลิเคชั่น (Application Layer) SMTP,FTP และ HTTP ชั้นติดต่อระหว่างโฮสต์ (Host-to-Host Layer: Transport Layer) (เปนคนจัดการเส้นทางการส่ง) User Datagram Protocol Transmission Control Protocol ชั้นติดต่อระดับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet Layer) IP ARP RARP ICMP ICMP ชั้นความคุมการติดต่อระดับเครือข่าย (เปนตัวกำหนดเส้นทาง) (Network Access Layer)
19
Encapsulation
20
TCP/IP Model
21
5. IP Addressing IP Addressing ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จำเป็นต้องมีการระบุที่อยู่โดยการใช้โปรโตตอล IP การระบุที่อยู่เฉพาะของอุปกรณ์หรือโหนดต่างๆ ภายในเครือข่ายสามารถทำได้โดยใช้หมายเลขที่เรียกว่า "IP Address" โดย IPv4 หรือ IP เวอรชั่น 4 มี 32 บิต ประกอบด้วยหมายเลข Class Type หมายเลยเครือข่าย Network ID หมายเลขเครื่อง/อุปกรณ์ Host ID
22
5. IP Addressing IP Addressing ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จำเป็นต้องมีการระบุที่อยู่โดยการใช้โปรโตตอล IP การระบุที่อยู่เฉพาะของอุปกรณ์หรือโหนดต่างๆ ภายในเครือข่ายสามารถทำได้โดยใช้หมายเลขที่เรียกว่า "IP Address" โดย IPv4 หรือ IP เวอรชั่น 4 มี 32 บิต ประกอบด้วยหมายเลข Class Type หมายเลยเครือข่าย Network ID หมายเลขเครื่อง/อุปกรณ์ Host ID
23
5. IP Addressing (ต่อ)
24
6. IP Datagram IP Datagram เป็นข้อมูลที่ขนาดเล็กที่ใช้โปรโตคอล IP ในการค้นหาเส้นทางโดยจะต้องเดินทางผ่านเครือข่ายจำนวนมาก จึงจำเป็นร้องมีการเพิ่มข้อมูลในการค้นหาเส้นทางเพื่อให้ข้อมูลถูกส่งไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยขั้นตอนในการผนึกข้อมูลเข้ากับ IP Datagram นั้นเรียกว่า Encapsulation ซึ่งเป็นการผนึกเข้ากับ Header ก่อนจะทำการส่งไปยังปลายทาง ใน Header จะบรรจุข้อมูลที่จำเป็นต่อการเดินทางไปยังเป้นหมาย เช่น Physical Address ของเครื่องปลายทาง
25
6.1 Maximum Transmission Unit (MTU)
Maximum Transmission Unit (MTU) หมายถึง ขนาดสูงสุดของหนึ่งหน่วยข้อมูลที่สามารถส่งได้ เนื่องจากการขนส่ง Datagram นั้นจำเป็นต้องมีการกำหนดมาตรฐานของหนึ่งหน่วยข้อมูล
26
6.2 Fragmentation Fragmentation เมื่อ IP Datagram มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่เครือข่ายกำหนด หรือเกินกว่า MTU ที่ตั้งไว้ จะต้องใช้วิธีการแบ่งส่วนข้อมูลที่เรียกว่า "Fragmentation"
27
6.3 การค้นหาเส้นทางของ IP Datagram
การค้นหาเส้นทางของ IP Datagram สำหรับการค้นหาเส้นทางของ IP นั้นจะไม่ได้กระทำในขั้นตอนที่ข้อมูลจากต้นทาง แต่จะกระทำเมื่อปลายทางอยู่คนละเครือข่าย ทำให้จำเป็นต้องอาศัย Router ช่วยในการค้นหาเส้นทางการส่งข้อมูล โดยอาศัยตารางการหาเส้นทาง หรือ Routing Table
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.