ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
อย่างน้อย 6 เท่าของเงินเดือน
2
วิธีคิดดอกเบี้ย ดอกเบี้ย = เงินต้น x อัตราดอกเบี้ย x ระยะเวลา (ปี)
3
ดอกเบี้ย มีเงิน 1,000 บาท นำเงินจำนวนนี้ไปลงทุนโดยได้รับผลตอบแทน
มีเงิน 1,000 บาท นำเงินจำนวนนี้ไปลงทุนโดยได้รับผลตอบแทน ร้อยละ 10 ต่อปี เมื่อผ่านไป 10 ปี เงินจำนวนนี้จะกลายเป็นเท่าใด
4
ดอกเบี้ย เราจะได้ ดอกเบี้ย = 1,000 x 0.1 x 10 = 1,000 บาท
ดังนั้น ปีผ่านไป เราจะมีเงิน 2,000 บาท ใช่หรือไม่
5
ดอกเบี้ย วิธีคิดดอกเบี้ยทบต้น ดอกเบี้ย = PV x (1 + i)n PV = เงินต้น
6
ดอกเบี้ย ดอกเบี้ย = 1,000 x ( 1+ 0.1) 10 = 2,593.74
= 2,593.74 10 ปีผ่านไป เราจะมีเงิน 2, บาท
7
กฎ 72 วิธีลัดหาช่วงเวลาที่จะทำให้เงินต้นเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว
ระยะเวลา = 72 / อัตราดอกเบี้ย
8
ทางเลือกของการลงทุน 3% 6% 12% 24 12 6 ทางเลือกของการลงทุน ดอกเบี้ยหรือ
อัตราผลตอบแทน จำนวนปีที่เงิน จะเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว บัญชีเงินฝาก ออมทรัพย์ 3% พันธบัตรรัฐบาล 6% ซื้อหุ้น 12% 24 12 6
9
เคล็ดลับในการออม เริ่มต้นแต่เนิ่นๆ จ่ายให้ตัวเองก่อน
หมั่นออมอย่างสม่ำเสมอ
10
ปีรามิดของความเสี่ยงและผลตอบแทน
ความเสี่ยงสูงสุด/ ผลตอบแทนสูงสุด หุ้น อสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวม บัญชีเงินฝากประจำ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ พันธบัตรรัฐบาล ความเสี่ยงต่ำสุด/ ผลตอบแทนต่ำสุด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.