งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน
ศ.ดร.ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ

2 4 ประเภทของ ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน
Thermodynamic Indicators Physical – Thermodynamic Indicators Economic – Thermodynamic Indicators Economic Indicators

3 Economic – Thermodynamic Indicator
Specific Energy Consumption Energy Intensity Energy Elasticity

4 Specific Energy Consumption (SEC)
SEC = E/P E = ปริมาณพลังงานที่ใช้ไป P = ผลผลิตที่ได้

5 Energy Intensity Indicators for the Manufacturing Sector (USA)
Energy /Gross Output Energy /Industrial Production Energy /Value Added Energy /Gross Production Originating Energy /Value of Shipments Energy /Value of Production Energy /Adjusted - Capacity Value of Production

6 การเปรียบเทียบ EI ระหว่างประเทศ
E = Energy / GDP

7 EI สำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย
EI1 = Energy / Industrial Production EI2 = Energy / Value of Production ระดับอุตสาหกรรม (สิ่งทอ, เครื่องนุ่งห่ม) EI = Energy / GDP

8 การวัดค่าความเข้มพลังงาน
ต้องการข้อมูล 2 ส่วน คือ ข้อมูลการใช้พลังงาน และ ข้อมูลปริมาณการผลิต และข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์

9 ความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน (Energy Elasticity / Coefficient)
หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงการบริโภคพลังงาน ต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงผลผลิต เป็น ตัวชี้วัดความไว ของการเปลี่ยนแปลงการบริโภคพลังงาน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของผลผลิต

10 ค่าความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน (Energy Elasticity / Coefficient)
EE = ∆E/E ∆P/P E = ปริมาณพลังงานที่ใช้ P = ปริมาณผลผลิต/ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ ของผลผลิต

11 การวัดค่าความยืดหยุ่นพลังงาน
ต้องการข้อมูล เช่นเดียวกับ การวัดค่าความเข้มพลังงาน แต่ ต้องการข้อมูลอย่างน้อย 2 ปี เพื่อแสดงค่า ณ เวลาหนึ่ง เวลาใด

12 การใช้ประโยชน์ จากค่าความเข้มพลังงาน
เป็นตัวบอกต้นทุนทางพลังงานสำหรับสินค้า หรือบริการ ใช้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน ใช้สำหรับกำหนดเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

13 ความเข้มพลังงานในฐานะต้นทุน
สหรัฐอเมริกา (1994) Textile Mill Products 3,870 Btu/$1 (1992) MJ/1,000 บาท) Apparel and Other Textile Products 380 Btu/$1 (1992) (10.02 MJ/1,000 บาท) ไทย (2003) สิ่งทอ 1, MJ/1000บาท เครื่องนุ่งห่ม MJ/1000บาท

14 การใช้ประโยชน์ของความยืดหยุ่นพลังงาน
วัดประสิทธิภาพการบริโภคพลังงาน พยากรณ์ความต้องการพลังงาน

15 ค่าความเข้มพลังงาน เมื่อเทียบกับปริมาณการผลิต
ค่าความเข้มพลังงาน เมื่อเทียบกับปริมาณการผลิต หมายเหตุ ปริมาณพลังงานคิดเป็นพลังงานปฐมภูมิเทียบเท่า

16 ค่าความเข้มพลังงาน เมื่อเทียบกับมูลค่าการผลิต *
ค่าความเข้มพลังงาน เมื่อเทียบกับมูลค่าการผลิต * * 1. มูลค่าการผลิตเมื่อคิดเทียบกับปี 2545 (ใช้ดัชนี ลาสแปร์) 2. ปริมาณพลังงานคิดเป็นพลังงานปฐมภูมิเทียบเท่า

17 ความเข้มพลังงาน เมื่อเทียบกับ GDP *

18 ค่าความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน เมื่อเทียบกับปริมาณการผลิต
ค่าความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน เมื่อเทียบกับปริมาณการผลิต

19 ค่าความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน เมื่อเทียบกับมูลค่าการผลิต
ค่าความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน เมื่อเทียบกับมูลค่าการผลิต

20 ค่าความยืดหยุ่น / สัมประสิทธิ์พลังงาน เมื่อเทียบกับ GDP

21 Thank You

22 การเปลี่ยนแปลงค่าความเข้มพลังงาน

23

24

25


ดาวน์โหลด ppt ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google