งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ และการตรวจติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ และการตรวจติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ และการตรวจติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓ ประจำปี พ.ศ.๒๕๕๕ วันจันทร์ ที่ ๑๘ มิ.ย. ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ สโมสรตำรวจ

2 กำหนดการ การชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ และการตรวจติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓ ประจำปี พ.ศ.๒๕๕๕   ครั้งที่ ๔ วันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ สโมสรตำรวจ ถนนวิภาวดี – รังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร

3 เวลา ๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น ลงทะเบียน เวลา ๐๙.๐๐ – ๐๙.๐๕ น ผู้แทน ยศ. กล่าวรายงานความเป็นมาของ โครงการฯ เวลา ๐๙.๐๕ – ๐๙.๑๕ น ประธานกล่าวเปิดการสัมมนา เวลา ๐๙.๑๕ – ๑๐.๑๕ น ชี้แจงภาพรวมโครงการ ผลการดำเนินงานที่ ผ่านมา ปัญหา และข้อเสนอแนะ โครงการ พัฒนาสถานีตำรวจฯ ปี ๒๕๕๕ โดย พล.ต.ต.วันชาติ คำเครือคง ผบก.ยศ. และ พ.ต.อ.ภาณุวิชญ์ ทองยิ้ม รอง ผบก.ยศ. เวลา ๑๐.๑๕ – ๑๐.๓๐ น. - พักรับประทานอาหารว่าง เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๑.๓๐ น. - บรรยายแนวทางการปฏิบัติ และการ ประเมินผล (output และ outcome) ตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจ เพื่อประชาชนฯ โดย พล.ต.ต.วันชาติ คำเครือคง ผบก.ยศ. และ พ.ต.อ.ภาณุวิชญ์ ทองยิ้ม รอง ผบก.ยศ. เวลา ๑๑.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. - แนวทางการตรวจประเมินผลโครงการพัฒนา สถานีตำรวจเพื่อประชาชนฯ ของ ศชต.

4 เวลา ๑๒. ๐๐ – ๑๓. ๐๐ น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓. ๐๐ – ๑๔
เวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. - บรรยายแนวทางการตรวจ ราชการ ของ จต. โดยผู้แทน จต. เวลา ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น พักรับประทานอาหารว่าง เวลา ๑๔.๔๕ – ๑๖.๓๐ น บรรยายแนวทางการตรวจราชการ ของ จต. โดยผู้แทน จต. (ต่อ) หมายเหตุ : กำหนดการ สามารถปรับได้ตามความเหมาะสม ผู้เข้าร่วมสัมมนา ครั้งที่ ๔ จำนวน ๕๘๗ นาย (ภ.๑ ภ.๒ ภ.๗ ภ.๘ ภ.๙ และ ศชต. สภ. ละ ๑ นาย วิทยากร และเจ้าหน้าที่ จำนวน ๒๐ นาย รวม จำนวน ๖๐๗ นาย)

5 หัวใจและภารกิจหลักของตำรวจ
ก่อน เกิดเหตุ เป็นงานนอกสถานีตำรวจ งานรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินประชาชน หลัง เกิดเหตุ เป็นงาน บนสถานีตำรวจ งานอำนวยความยุติธรรม (งานสืบสวนสอบสวน)

6 งานตำรวจจุดแตกหักอยู่ที่โรงพัก
หัวใจภารกิจหลักของตำรวจตำรวจ ภารกิจรอง เป็นงานบริการ (นอกสถานี) (ในสถานี) (นอกสถานี) (ในสถานี) ก่อน หลัง งานด้านการรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน (งาน ป.) งานด้านการอำนวยความยุติธรรม ทางอาญา (งาน ส.) งานด้านการควบคุมและจัดการจราจร งานด้านการบริการทั่วไป ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัด คือ Output Output Output Output Outcome outcome Outcome Outcome

7 เนื่องจากมีการปรับปรุงและปรับเปลี่ยนกฎหมายต่าง ๆ อาทิ เช่น
๑.๓ จากปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ดังกล่าว จึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชนต้นแบบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติขึ้น เพื่อขยายผลให้สถานีตำรวจซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก ในการบริการประชาชนมีมาตรฐานเป็นสากล และมีบุคลากรเป็นที่เชื่อมั่นศรัทธาแก่ประชาชน และเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการจัดทำโครงการสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต่อไป เนื่องจากมีการปรับปรุงและปรับเปลี่ยนกฎหมายต่าง ๆ อาทิ เช่น (๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ (๒) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ ๕ พ.ศ.๒๕๔๕ (๓) พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ (๔) แผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบราชการไทย ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ประกอบกับกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับการกำหนดอำนาจหน้าที่ของ ส่วนราชการ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑.๔

8 ๒. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการของสถานีตำรวจ ในการบริการประชาชน ตลอดจนการปรับปรุงระบบการให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนให้ครบวงจร ในการบริการ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนและให้บริการที่ดีแก่ประชาชนผู้รับบริการอย่างแท้จริง ๒) เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการประชาชน โดยให้ประชาชนมีทางเลือก ที่ใช้บริการที่มีความหลากหลาย มีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในการให้บริการ ส่งเสริมรูปแบบการให้บริการที่มีความคล่องตัว รวดเร็ว โปร่งใส ทันกาล สามารถปรับตัวให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยเน้นการพัฒนาระบบการส่งมอบบริการอย่างเป็นขั้นตอน ๓) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ทุกสถานีตำรวจ อำนวยความสะดวก เอาใจใส่ดูแลให้บริการที่ตอบสนองตามความต้องการของประชาชน มีการวางระบบการรับฟังความคิดเห็น ติชมการทำงาน มีข้อมูลป้อนกลับในการปรับปรุงการบริการทุกด้าน ๔) ส่งเสริมให้สถานีตำรวจใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นแนวทางในการทำงาน และยกระดับธรรมาภิบาลเพื่อให้เกิดการยอมรับ และความศรัทธาจากประชาชนผู้รับบริการ

9 โครงการโรงพักเพื่อประชาชนระยะที่ ๑ เน้นการให้บริการเพื่อประชาชนและ
โครงการโรงพักเพื่อประชาชนระยะที่ ๑ เน้นการให้บริการเพื่อประชาชนและ กิจกรรมตามที่ ตร. กำหนด โครงการโรงพักเพื่อประชาชนระยะที่ ๒ เน้นบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวและ การพัฒนาทางกายภาพ โครงการโรงพักเพื่อประชาชนระยะที่ ๓ เน้น ๑. บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) ๒. การบริการด้วยความเต็มใจและใส่ใจ (Service Mind) ๓. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (Result Base Management) ● วัดผลผลิต (Out put) ● วัดผลลัพธ์ (Out come) ๔. สอดคล้องกับ ● รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ● พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ ● แผนยุทธศาสตร์พัฒนา ระบบราชการไทย ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ๕. นโยบายรัฐบาล และ นโยบายผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ๖. แผนอาเซียน ปี ๒๕๕๘ ๗. ตัวแบบหลักสากล

10 โครงการโรงพักเพื่อประชาชน โครงการโรงพักเพื่อประชาชน
● เป็นโรงพักผูกขาดที่ได้เฉพาะ โรงพักเดียว คือ ๑. โรงพักดีเด่นตลอด ๒. อีก ๙๙ โรงพัก ไม่มีบทบาท ● เป็นการพัฒนาทางกายภาพ ๑๐๐ % โครงการโรงพักเพื่อประชาชน ระยะที่ ๑ - ๒ โครงการโรงพักเพื่อประชาชน ระยะที่ ๓ มองภาพรวม โดยยึดประชาชน เป็นศูนย์กลาง + ประชาชนเป็นตัวตั้ง ๒. พัฒนาทุกสถานีตำรวจเป็นองค์รวม เน้นทุกสถานีต้องพัฒนา ● ทองแดง ● เงิน ● ทอง ๓. กายภาพแค่ ๑๕% ที่เหลือ ๘๕ % เป็นการพัฒนาโดยเอาประชาชนเป็นตัวตั้ง ๔. ความดีความชอบได้ยกทีม

11 ๔) ตัวแบบในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ : Service Quality (SERVQUAL)
๔) ตัวแบบในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ : Service Quality (SERVQUAL) ตร. สากล สากล ตร. ๑๙ % ๒๕ % ๒๕ % ๓๒ % ๑๖ % ๑๕ % ๑๕ % ๑๑ % ๒๒ % ๒๐ %

12 สัดส่วนการวัดตามประเด็น
ตาราง : สัดส่วนการวัดคุณภาพการให้บริการของโรงพักเพื่อประชาชน ระยะที่ ๓ องค์ประกอบ สัดส่วนการวัด สัดส่วนการวัดตามประเด็น ๑. สิ่งที่จับต้องได้ในการบริการ, สิ่งที่สัมผัสได้, ลักษณะที่ปรากฏ (Tangibles) (One Stop Service) ๑๕ % เป็นการวัดการ ● บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) ๑๕% ๒. ความรวดเร็วในการตอบสนอง (Responsiveness/Effective) (Effective) ๒๐ % ● รวดเร็วในบริการ (Effective) ๒๐% ๓. ความมั่นใจในบริการ และการรับประกัน (Assurance) หรือผลสำเร็จของงาน (output) (output) ๒๕ % ● วัดปริมาณผลงาน (Output) ๒๕% ๔. ความน่าเชื่อถือ และวางใจได้ (Reliability) หรือความพึงพอใจ (Outcome) (outcome) ● เชื่อถือ ศรัทธา พึงพอใจ ในการบริการ วัดความพึงพอใจ ที่เป็น Output ๒๕% ๕. ความเต็มใจ หรือการเอาใจใส่ลูกค้าเป็นรายบุคคล (Service Mild) (Service Mind) ๑๕ % เป็นการวัดการบริการ ด้วยความเต็มใจและใส่ใจ

13 โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓
(พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) จุดเน้น ๑. ด้านกระบวนการ (Process) ● บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) คือ สะดวก (15%) ● บริการด้วยความรวดเร็วมีขั้นตอน ระยะเวลาที่เป็นมาตรฐาน คือ รวดเร็ว (Effective) (20%) ● บริการด้วยความเต็มใจและใส่ใจ (Service Mind) คือ ประทับใจ (15%) ๒. ด้านผลลัพธ์ ● ผลของการบริการ วัดผลสำเร็จของงานที่ตำรวจทำได้จากการให้บริการ คือ (Output) มีตัวชี้วัดผลสำเร็จ (25%) ● ผลลัพธ์ที่ทำได้ คือ ประชาชนมีความพึงพอใจ (Outcome) มีตัวชี้วัดความพึงพอใจของประชาชนเป็นศูนย์กลาง (25%)

14 ๑. เปรียบเทียบคะแนนในแต่ละด้าน (๑-๔ ด้านแรก) Process
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (Result Base Management) บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) บริการด้วย ความรวดเร็ว (Effective) บริการด้วย ความเต็มใจ (Service Mind) ผลผลิต (out put)ผลสำเร็จของงาน ๒๕ % ผลลัพธ์ (out come) ความพึงพอใจ ๒๕ % ภาพลักษณ์ที่เห็นลงทุนทางกายภาพ เช่น ที่จอดรถ สถานที่สะอาด เคาน์เตอร์บริการดี เน้นการให้บริการที่รวดเร็ว เต็มใจ ใส่ใจบริการ ไม่ต้องลงทุน เน้นมีผลงานการปฏิบัติที่บรรลุเป้าหมายและมีผลงานในภารกิจหลัก เน้นคุณภาพการให้บริการที่เกิดผลตามพึงพอใจแก่ประชาชนทุกด้าน ๑๕% ๒๐% ๑๕% ๘๕ % เป็นการวัดผลโดยเน้นไปที่ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง เอาประชาชน เป็นตัวตั้ง และเกิดความพึงพอใจในการให้บริการ ๑๕ % เป็นการพัฒนา/ปรับปรุงทางกายภาพให้ดูดี สะดวก

15 Process ๒. ถ้าเป็นด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากร (ด้านที่ ๕) ๒๕ % ๑๕%
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (Result Base Management) บริหารชัดเจน มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา เอาใจใส่ลูกน้อง ผลผลิต (out put) ผลงานภาพรวม ทั้ง ๕ ด้านมี ๒๕ % ผลลัพธ์ (out come) ผลรวมของความ พึงพอใจทั้ง ๕ ด้านมี ๒๕ % เน้นการวางระบบการปกครองบังคับบัญชาให้ชัดเจนเหมาะสมและเน้นระบบ ธรรมาภิบาล เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการระดมสมองแก้ไขปัญหาของประชาชนร่วมกัน ตลอดจนการฝึกอบรมให้เป็นตำรวจที่ดี เอาใจใส่ดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา ● เน้นวัดผลงานทั้ง ๕ ด้าน ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ โดยแบ่งเป็น ๓ กลุ่ม ● ทองแดง (๖๐-๗๐) ● เงิน (๗๑-๘๐) ● ทอง (๘๑ ขึ้นไป) ● เน้นวัดผลความพึงพอใจทั้ง ๔ ด้านแรกให้สำเร็จไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ ● เน้นพัฒนานวัตกรรมการให้บริการอีก ๑๐% ๑๕% ๒๐% ๑๕%

16 การปรับปรุงแบบเก่าแบบใหม่
การปรับปรุงตามแนวทางเดิม การปรับปรุงตามแนวทางใหม่ ๑. ปรับปรุงสถานที่ทางกายภาพให้ดูดีทุ่มงบประมาณในพัฒนา ๒. จัดให้มีสถานที่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ๓. จัดโต๊ะเก้าอี้ให้สวยงาม ๔. จัดการฝึก ให้ตำรวจมีวินัย ๕. จัดแฟ้มเอกสารให้สวยงามคะแนนดี ๑. จัดให้มีสภากาแฟสำหรับการประชุมประจำสัปดาห์หรือระดมสมอง เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในการให้บริการในแต่ละด้านบริการ ๒. การนำผลการประชุมสภากาแฟ หรือการระดมสมองไปสู่การปฏิบัติและการแก้ไขปัญหาต่างๆ ร่วมกัน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ๓. ปรับภาพลักษณ์ การให้บริการดุจญาติ ดุจครอบครัวเดียวกัน

17 ด้าน กระบวนการ Output (ผลผลิต) Outcome (ผลลัพธ์) ด้านการบริการทั่วไป (๕๐ คะแนน) ๒๕ คะแนน ด้านการอำนวยความยุติธรรม (๕๐ คะแนน) ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านควบคุมการจัดการจราจร (๕๐ คะแนน) ด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากร ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ ศชต.

18 ส่วนที่ ๑ การวัดความสำเร็จในส่วนของผลผลิต (Output) (ด้านละ ๒๕ คะแนน)
ด้านการบริการทั่วไป ตัวชี้วัด/กิจกรรม คะแนน ๙.๑ ระดับความสำเร็จการทดลองสุ่มตรวจระบบการให้บริการของข้าราชการตำรวจต่อประชาชนผู้มาติดต่อราชการ ณ สถานีตำรวจตามสภาพความเป็นจริง ๙.๒ ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาด้านการบริการสถานีตำรวจ(หน่วยงานระดับ Front Office) ที่มีการปฏิบัติงานและมีคุณภาพการให้บริการในระดับมาตรฐาน ๑๕ ๑๐

19 ๙.๑ การทดลองสุ่มตรวจระบบการให้บริการของข้าราชการตำรวจต่อประชาชนผู้มาติดต่อราชการ ณ สถานีตำรวจตามสภาพความเป็นจริง (๑๕ คะแนน) ทดลองสุ่มตรวจ ทั้ง ๕ หัวข้อการให้คะแนน อย่างน้อย ๒ ครั้ง หรือแล้วแต่ บช./ภ./เจรตำรวจของหน่วยงาน กำหนดจำนวนครั้งในแต่ละปีงบประมาณนั้น ๆ

20 ต่อ มีหัวข้อการให้คะแนน ดังนี้ ๑. ความพร้อมของผู้ให้บริการ (๒ คะแนน) ๒. การแต่งเครื่องแบบหรือการแต่งกายเรียบร้อย (๒ คะแนน ) ๓. พูดจาไพเราะสุภาพอ่อนโยนมีกิริยาอาการสุภาพ เป็นมิตร มีความกระตือรือร้นและยิ้มแย้มแจ่มใส ในการให้บริการ (๔ คะแนน ) ๔. ความรวดเร็วในการให้บริการเป็นไปตามระยะเวลามาตรฐานที่กำหนดไว้(๕ คะแนน ) ๕. รับโทรศัพท์ตามแบบที่กำหนดด้วยความสุภาพ ตอบคำถามและชี้แจงข้อสงสัยได้อย่างชัดเจน (๒ คะแนน )

21 ๙.๒ วัดร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาด้านการบริการสถานีตำรวจ (หน่วยงานระดับ Front Office) ที่มีการปฏิบัติงานและมีคุณภาพการให้บริการในระดับมาตรฐาน คะแนนรวมไม่ต่ำกว่า ร้อยละที่ ตร. กำหนด (๑๐ คะแนน) หมายเหตุ : สำหรับแบบ และวิธีการตรวจของ จต มีกิจกรรมที่เป็นกระบวนการ (process) คือ กิจกรรมที่๑ – ๖ ดังนั้น ในทางปฏิบัติให้นำผลการตรวจตามกิจกรรมที่ ๑ – ๖ ในแบบและวิธีการตรวจของ จต.

22 2. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา
ตัวชี้วัด/กิจกรรม คะแนน ๑๓.๑ ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาพนักงานสอบสวนเพื่อการ อำนวยความยุติธรรมทางอาญา ๑๓.๒ ร้อยละของพนักงานสอบสวนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านการ ๑๓.๒.๑ ร้อยละของพนักงานสอบสวนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้าน การอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ๑๓.๒.๒ การประเมินพนักงานสอบสวน โดย กต.ตร. สภ. ประเมินของการให้บริการด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ๑๐ ๒.๕

23 ๑๓.๑ วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาพนักงานสอบสวน เพื่อการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา (๑๐ คะแนน) มี ๓ ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ๑๓.๑.๑ (๔ คะแนน) ๑๓.๑.๒ (๒ คะแนน) ๑๓.๑.3 (๔ คะแนน) ๑๓.๑.๑ ตรวจสำนวนค้างตามคำสั่ง ตร. ที่ ๙๖๐/๒๕๓๗ลง ๑๐ ส.ค. ๒๕๓๗ และหนังสือ ตร. ที่ ๓๑.๒๑๒/๓๖๐๙ ลง ๒ มิ.ย.๒๕๔๙โดยคิดสำนวนล่าช้า เป็นร้อยละ ของสำนวนที่อยู่ระหว่างการสอบสวน แล้วคิด เป็นคะแนนตามกรอบการตรวจเดิมของจเรตำรวจ (๔ คะแนน)

24 ๑๓.๑.๒ ตรวจสอบการถูกร้องเรียนและการถูกตั้งกรรมการสอบสวนทางวินัยของพนักงานสอบสวน (๒ คะแนน)
๑) ตรวจสอบสถิติการดำเนินการทางวินัยมีสถิการ ถูกตั้งกรรมการ หรือมีแต่ยุติเรื่องตรวจสอบการถูก ร้องเรียนและการถูกตั้งกรรมการสอบสวนทางวินัย ของพนักงานสอบสวน (๒.๐คะแนน) ๒) มีสถิติการดำเนินการทางวินัยถูกลงโทษ ไม่สูง กว่าภาคทัณฑ์ (๑ คะแนน) ๓) มีสถิติการดำเนินการทางวินัยถูกลงโทษ สูงกว่า ภาคทัณฑ์ (๐ คะแนน)

25 - แบบประเมินพนักงานสอบสวน เพื่อทดลองสุ่มตรวจการวัดความพึงพอใจ มี ๓ ข้อ
๑๓.๑.๓ ทดลองสุ่มตรวจการวัดความพึงพอใจของประชาชนในการให้บริการและจากการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนโดยดำเนินการเหมือนด้าน การบริหารทั่วไปในกิจกรรมที่ ๙.๑.๑ (๔ คะแนน) - โทรศัพท์สอบถามผู้เสียหาย, - แบบประเมินพนักงานสอบสวน เพื่อทดลองสุ่มตรวจการวัดความพึงพอใจ มี ๓ ข้อ

26 ๑๓.๒.๑ การประเมินพนักงานสอบสวนดีเด่น ระดับ บก./ภ.จว. (๒.๕ คะแนน)
๑๓.๒ ร้อยละของพนักงานสอบสวนที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา (๕ คะแนน) มี ๒ ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ๑๓.๒.๑ การประเมินพนักงานสอบสวนดีเด่น ระดับ บก./ภ.จว. (๒.๕ คะแนน) ประเมินระดับ บก./ภ.จว. มาหาค่าเฉลี่ยกลางในภาพรวมของสถานีตำรวจ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน

27 ๑๕ ก.ย. ของปีงบประมาณนั้น ๆ (๒.๕ คะแนน)
๑๓.๒.๒ การประเมินพนักงานสอบสวน โดย กต.ตร. สน./สภ.ประเมินให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ ก.ย. ของปีงบประมาณนั้น ๆ (๒.๕ คะแนน) ข้อ ๑. การครองตนของพนักงานสอบสวนในสถานีตำรวจของท่านดีมากน้อยเพียงใด ข้อ ๒. การปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน ในสถานีตำรวจของท่านดีมากน้อยเพียงใด

28 ๑๓.๓ วัดร้อยละความสำเร็จของการให้บริการด้านการอำนวยความยุติธรรม ทางอาญา (กิจกรรมที่ ๑ - ๑๒) คะแนนรวมไม่ต่ำกว่าร้อยละที่ ตร. กำหนด (๑๐ คะแนน) หมายเหตุ : บช./ภ. รวบรวม

29 ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สิน ๑๓.๑ วัดร้อยละความสำเร็จของการให้บริการด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (กิจกรรม ที่ ๑ - ๑๑) คะแนนรวมไม่ต่ำกว่าร้อยละที่ ตร. กำหนด (๔ คะแนน) ๑๓.๑.๑ นำผลการตรวจในกิจกรรม ที่ ๑ – ๑๑ (เป็นคะแนนการตรวจด้านกระบวนการ หรือ process) มาคิดเป็นผลรวมคะแนนผ่าน ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ (ตรวจประเมินโดย บก./ภ.จว. ร่วมกับ บช./ภ. (จเรตำรวจของหน่วยงาน))

30 ๑๔.๑ วัดจำนวนคดีอาญา ซึ่งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวิตต่อจำนวนประชากร (คดี/แสนคน) (๕ คะแนน)
ข้อ ๑๔.๑ เอาผลคะแนนจาก บก./ภ.จว ที่ร่วมกับ บช. กำหนดและตรวจประเมิน - บช./ภ. และ บก./ภ.จว. ร่วมกันกำหนดกรอบและเกณฑ์การวัดตลอดจนการให้คะแนนเป็นรายสถานีอย่างชัดเจน และแจ้งให้ทุกสถานีตำรวจทราบเกณฑ์ การวัดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน - บช./ภ. (จเรตำรวจของหน่วยงาน) ส่งคะแนนในภาพรวม

31 ๑๔.๒.๑ ดำเนินการ ประเมินผลตามเป้าหมายที่ บก./ภ.จว. กำหนด ดังนี้
๑๔.๒ วัดระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของคดีแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นและจับกุมได้ในปีงบประมาณ (๖ คะแนน) ๑๔.๒.๑ ดำเนินการ ประเมินผลตามเป้าหมายที่ บก./ภ.จว. กำหนด ดังนี้ ๑๔.๒.๑ คดีกลุ่ม ๑ วัดร้อยละการเกิดและจับในปีงบประมาณ (๒ คะแนน) ๑๔.๒.๒ คดีกลุ่ม ๒ วัดร้อยละการเกิดและจับในปีงบประมาณ (๒ คะแนน) ๑๔.๒.๓ คดีกลุ่ม ๓ วัดร้อยละการเกิดและจับในปีงบประมาณ (๒ คะแนน)

32 ๑๔.๓ วัดระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการจับกุมคดีตามหมายจับค้างเก่า
(๕ คะแนน) ข้อ ๑๔.๓ เอาผลคะแนนจาก บก./ภ.จว. ที่ร่วมกับ บช./ภ. กำหนดและตรวจประเมิน บช./ภ. และ บก./ภ.จว. ร่วมกันกำหนดกรอบและเกณฑ์การวัดตลอดจนการให้คะแนนเป็นรายสถานีอย่างชัดเจน และแจ้งให้ทุกสถานีทราบเกณฑ์การวัดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน บช./ภ. (จเรตำรวจของหน่วยงาน) ส่งคะแนนในภาพรวม

33 ๑๔.๔ วัดระดับความสำเร็จในการสร้างเครือข่ายการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ (๕ คะแนน) มี ๔ กิจกรรม หรือตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ๑๔.๔.๑ จำนวนการสร้างเครือข่ายในการป้องกัน (๑ คะแนน) ๑๔.๔.๒ ค่าเฉลี่ยจำนวนอาสาสมัคร ของแต่ละ เครือข่ายรวมกัน (๑ คะแนน) ๑๔.๔.๓ จำนวนผลการปฏิบัติหรือผลงาน ของ อาสาสมัครทุกเครือข่าย (๒ คะแนน)

34 ๑๔.๔.๔ จำนวนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานชุมชนมีหน่วยปฏิบัติตามเกณฑ์แยกตาราง
เป็นของ ภ. และ บช.น. ดังนี้ ๑๔.๔.๔.๑ จำนวนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานชุมชน ของ ภ.จว. ใน ภ. ๑๔.๔.๔.๒ จำนวนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานชุมชน ของ บก.ใน บช.น.

35 ๔. ด้านควบคุมการจัดการจราจร
ตัวชี้วัด/กิจกรรม คะแนน ๙.๑ อัตราส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตต่อจำนวน ประชาชน (ราย/แสนคน) ๙.๑.๑ กำหนดกิจกรรมการดำเนินงาน โครงการเพื่อกวดขันวินัยจราจร และ ลดอุบัติเหตุ ๙.๑.๒ อัตราส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตต่อจำนวน ประชากร(ราย/แสนคน) ๙.๒ ร้อยละที่ลดลงของผู้เสียชีวิตที่เกิดจาก อุบัติเหตุจราจรทางบก ๙.๓ ร้อยละความสำเร็จของการให้บริการด้าน ควบคุมการจัดการจราจร ๓.๕ ๖.๕ ๑๐

36 ๙.๑.๑ กำหนดกิจกรรมการดำเนินงานโครงการเพื่อกวดขันวินัยจราจรและลดอุบัติเหตุ (๓.๕ คะแนน)
๑) มีการวิเคราะห์สภาพการเกิดอุบัติเหตุจนเป็นเหตุให้มีผู้บาดเจ็บและมีผู้เสียชีวิตโดย กำหนดมาตรการและแนวทางแก้ไขครบทุกเดือน (คะแนน ๐.๗) ๒) ตรวจสอบหลักฐานการจัดทำแผนที่อุบัติเหตุกำหนดจุด (Hot Spot)ครบทุกเดือน (คะแนน ๐.๗) ๓) ตรวจสอบหลักฐานการดำเนินการแก้ไข/ปฏิบัติตามมาตรการ ที่ได้มีการสรุปวิเคราะห์ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุครบทุกเดือน(คะแนน ๐.๗) ๔) มีการรายงานตามแบบรายงานการปฏิบัติตามโครงการฯ (๓๖๕ วันอันตราย) แบบ จ.๑ ของ ศทก.ครบทุกเดือน (คะแนน ๐.๗) ๕) มีผลการจับกุมผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับจราจร ๑๐ ฐานความผิด และการรายงานตามแบบรายงาน ตามโครงการฯ (๓๖๕วันอันตราย) แบบ จ.๒ ของ ศทก. ครบทุกเดือน (คะแนน ๐.๗) แบบ จ.๑ ของ ศทก.ครบทุกเดือน (คะแนน ๐.๗)

37 ๙.๑.๒ อัตราส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตต่อจำนวนประชากร (ราย/แสนคน) (๕ คะแนน)
ข้อ ๙.๑.๒.๑ การวัดอัตราส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตต่อจำนวนประชากร (ราย/แสนคน) (๕ คะแนน) ให้ดูหลักเกณฑ์การให้คะแนนตามตารางที่ ๑ ในแต่ละ บก./ภ.จว. และจัดเกณฑ์การให้คะแนนเป็นรายสถานีตำรวจได้อย่างชัดเจนต่อไป

38 ๙. ๒ ร้อยละที่ลดลงของผู้เสียชีวิตที่เกิดจากอุบัติเหตุจราจรทางบก (๖
๙.๒ ร้อยละที่ลดลงของผู้เสียชีวิตที่เกิดจากอุบัติเหตุจราจรทางบก (๖.๕ คะแนน) ข้อ ๙.๒ เอาผลคะแนนจาก บก./ภ.จว. ที่ร่วมกับ บช. กำหนดและตรวจประเมิน บช./ภ./บก/.ภ.จว. ร่วมกันกำหนดกรอบและเกณฑ์การวัดตลอดจนการให้คะแนนรายสถานีอย่างชัดเจนและแจ้งให้ทุกสถานีทราบเกณฑ์การวัดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ให้ดูสูตรการคำนวณและการคิดค่าคะแนนจากคำอธิบายด้านหลัง

39 ๙.๓ วัดร้อยละความสำเร็จของการให้บริการด้านควบคุมการจัดการจราจร (กิจกรรมที่ ๑ - ๘) คะแนนรวมไม่ต่ำกว่าร้อยละที่ ตร. กำหนด (๑๐ คะแนน) ๙.๓.๑ นำผลการตรวจประเมิน จาก บก. /บช (ตำรวจของหน่วยงาน) ในกิจกรรม ที่ ๑ - ๘ มารวมเป็นผลคะแนนในตัวชี้วัด ๙.๓ (๑๐ คะแนน)

40 ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากร
ตัวชี้วัด/กิจกรรม คะแนน ๑๑.๑ ร้อยละความสำเร็จของการให้บริการทั้ง ๕ ด้าน ผ่านเกณฑ์ที่ ตร. กำหนด ๑๑.๒ ทุกสถานีตำรวจไม่มีเรื่องร้องเรียน พฤติกรรมการใช้อำนาจหน้าที่ที่ผิด กฎหมาย ของปีงบประมาณนั้น ๆ ๑๑.๓ จำนวนเรื่องร้องเรียนพฤติกรรมไม่ เหมาะสม ลดลงร้อยละ ๕๐ ใน ปีงบประมาณ เปรียบเทียบกับ ปีงบประมาณที่ผ่านมา ๑๐

41 ๑๑.๑ วัดร้อยละความสำเร็จของการให้บริการทั้ง ๕ ด้าน (คะแนนการวัดผลด้านกระบวนการ หรือ process ทั้ง ๕ ด้าน) ๑๑.๑.๑ ผลรวมของคะแนนทั้ง ๕ ด้านบริการจากการวัดผลด้านกระบวนการต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ (ประเมิน โดย บก./ภ.จว. ร่วมกับ บช./ภ (จเรตำรวจของหน่วยงาน) ตรวจประเมินด้านกระบวนการ ทั้ง ๕ ด้านให้แล้วเสร็จภายใน ๓๑ ส.ค. ของปีงบประมาณนั้น ๆ

42 ๑๑.๒ ทุกสถานีตำรวจไม่มีเรื่องร้องเรียนพฤติกรรมการใช้อำนาจหน้าที่ที่ผิดกฎหมายตั้งแต่ วันที่ ๑ ต.ค. – ๓๑ ส.ค.ของปีงบประมาณนั้น ๑.ไม่มีการร้องเรียนหรือกรณีมีการร้องเรียนแต่ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือผลการสืบสวนข้อเท็จจริงไม่มีมูลความผิด หรือการสืบสวนข้อเท็จจริงอยู่ในระยะเวลาไม่เกิน ๖๐ วัน นับแต่วันที่รับเรื่องร้องเรียน หรือรับทราบคำสั่งให้สืบสวนข้อเท็จจริงแล้วแต่กรณี = ๕

43 ต่อ ๒. ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือผลการสืบสวน ข้อเท็จจริงมีมูลความผิด จำนวน ๑ – ๓ เรื่อง ๔ คะแนน ๓. ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือผลการสืบสวน ข้อเท็จจริงมีมูลความผิด จำนวน ๔ – ๖ เรื่อง = ๓ คะแนน ๔. ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือผลการสืบสวน ข้อเท็จจริงมีมูลความผิด จำนวน ๗ – ๙ เรื่อง = ๒ คะแนน ๕. ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือผลการสืบสวน ข้อเท็จจริงมีมูลความผิด จำนวน ๑๐ เรื่องขึ้นไป = ๑ คะแนน

44 - ฝรท.บก.อก.จต. รวบรวมผลสถิติการร้องเรียนพฤติกรรมการใช้อำนาจหน้าที่ที่ผิดกฎหมายส่งให้ บช./ภ. และให้ บก./ภ.จว. ร่วมกับ บช./ภ. คิดคะแนนตามผลสถิติฯ (สถิติฯ จาก ฝรท.บก.อก.จต. และจาก บก./ภ.จว./บช. /ภ. รวมกันโดยไม่ให้มีการนับสถิติฯ ซ้ำซ้อน) - ทั้งนี้ให้แต่ละ บช./ภ. เป็นผู้กำหนดวันที่จะนับสถิติตัวเลขเรื่องร้องเรียน และตรวจสอบความถูกต้องของสถิติฯ ร่วมกับ บก./ภ.จว.

45 ๑๑.๓ จำนวนเรื่องร้องเรียนพฤติกรรมไม่เหมาะสม ลดลง ร้อยละ ๕๐ ในปีงบประมาณ เปรียบเทียบปีงบประมาณ
ที่ผ่านมา (๑๐ คะแนน) มี ๒ ตัวชี้วัดย่อย คือ ๑๑.๓.๑ จำนวนเรื่องร้องเรียนพฤติกรรมไม่เหมาะสม (๘ คะแนน) - การให้คะแนนคิดจากจำนวนเรื่องร้องเรียนในปีงบประมาณ นั้น ๆ โดย ตร. กำหนด (๑ ต.ค. ปีงบประมาณ ที่ ผ่านมา - ๓๑ ส.ค. ของปีงบประมาณนั้น) จะต้องลดลงร้อยละ ๕๐ คิดคะแนน ดังนี้ ลดลงตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป หรือไม่มีเรื่องร้องเรียน (๘ คะแนน) ลดลงร้อยละ ๔๕ (๗ คะแนน) ลดลงร้อยละ ๔๐ (๖ คะแนน) ลดลงร้อยละ ๓๕ (๕ คะแนน) ลดลงร้อยละ ๓๐ (๔ คะแนน) ลดลงร้อยละ ๒๕ (๓ คะแนน)

46 มีเกณฑ์การคิดคะแนน ดังนี้
๑๑.๓.๒ สน./สภ. รายงานผลการปฏิบัติ บก./ภ.จว. ต้นสังกัดทุกเดือน (๒ คะแนน) มีเกณฑ์การคิดคะแนน ดังนี้ ๑. สน./สภ. รายงานผลการปฏิบัติ บก./ภ.จว. ต้นสังกัด ทุกเดือนอย่างสม่ำเสมอ (๒ คะแนน) ๒. สน./สภ. รายงานผลการปฏิบัติ บก. /ภ.จว. ต้นสังกัด แต่ไม่สม่ำเสมอ (๑ คะแนน)

47 ส่วนที่ ๒ แบบสำรวจความคิดเห็นความพึงพอใจของประชาชน
๑. ด้านการบริการทั่วไป ๒๕ คะแนน ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรม ๒๕ คะแนน ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๒๕ คะแนน ๔. ด้านการควบคุมและจัดการจราจร ๒๕ คะแนน ๕. ด้านการพัฒนาบุคลากร ๒๕ คะแนน ๕.๑ ด้านการบริหารทั่วไปภายในสถานีตำรวจ ๕.๒ ความคิดเห็นของ กต.ตร. และหน่วยงานต่างๆ ๖. ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ ๒๕ คะแนน ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ หน้า ๕๓

48 กต.ตร.บก./ภ.จว. เป็นผู้ควบคุมและวางแผนการแจกจ่ายแบบสอบถามของ กต.ตร.บก./สภ. โดยให้สลับหัว ท้ายของ สภ. ตัวอย่าง เช่น กต.ตร.สภ. ..ก.. แจกแบบสอบถาม สภ. ..ฮ.. กต.ตร.สภ. ..ข.. แจกแบบสอบถาม สภ. ..อ.. กต.ตร.สภ. ..ค.. แจกแบบสอบถาม สภ. ..ฬ.. กต.ตร.สภ. ..ง.. แจกแบบสอบถาม สภ. ..ห.. หมายเหตุ : ให้ประธาน กต.ตร.บก/ภ.จว. ดำเนินการวางแผน และบริหารจัดการ การแจกจ่าย การเก็บและการประมวลผลแบบสอบถามทุกสถานีตำรวจในพื้นที่ รับผิดชอบของ บก./ภ.จว.ให้แล้วเสร็จภายในกำหนด และรวบรวมคะแนนในภาพรวมเสนอต่อ บช. / ภ. ดำเนินการต่อไป หน้า ๓๑

49 จำนวนแบบสอบถามในการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน ทั้ง ๕ ด้าน
ตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาช ระยะที่ 3 ประจำปี 2555 ดังต่อไปนี้ ด้าน กลุ่มโรงพัก ด้านที่ ๑ (บริการ) ด้านที่ ๒ (ยุติธรรม) ด้านที่ ๓ (ความปลอดภัย) ด้านที่ ๔ (จราจร) ด้านที่ ๕ (บริหาร) ด้านที่ 6 (ศชต.) ๕.๑ (ตำรวจ) ๕.๒ (กต.ตร.) กลุ่ม ๑ (ผกก.ปริมาณงานมาก) ๕๐ ราย (แบบที่ 1/40 ราย แบบที่ 2/10 ราย) ๕๐ ราย ทุกคน กลุ่ม ๒ (ผกก.ปริมาณงานน้อย) ๔๐ ราย (แบบที่ 1/30 รายแบบ2/10 ราย) ๔๐ ราย กลุ่ม ๑ (สวญ.) ๓๐ ราย (แบบที่ 1/2รายแบบที่ 2/10 ราย) ๓๐ ราย กลุ่ม ๑ (สว.) ไม่ต่ำกว่า ๑๕ ราย (แบบที่ 1/15 ราย แบบที่ 2/5 ราย) ไม่ต่ำกว่า ๑๕ ราย หน้า ๕๕

50 วิธีการแจกจ่ายแบบสอบถาม
แนวทางการแจกแบบสอบถาม ด้าน วิธีการแจกจ่ายแบบสอบถาม ด้านที่ ๑ แจกแบบสอบถามให้แก่ผู้มารับบริการ ณ ศูนย์บริการประชาชน (One stop service) บนสถานีตำรวจ แบบที่ 1 (รอเก็บ) และแบบที่ 2 (สอบถามทางโทรศัพท์) ด้านที่ ๒ แจกแบบสอบถามให้แก่ผู้เสียหาย ดังนี้ ผู้เสียหายที่มาแจ้งความร้องทุกข์กับพนักงานสอบสวน บนสถานีตำรวจ2 ผู้เสียหายที่เคยมาแจ้งความ กับ พงส. ในคดีอาญา กลุ่ม ๑ กลุ่ม ๒ กลุ่ม ๓ และกลุ่มที่ ๔ โดยให้ กต.ตร. ประสานกับ พงส. ขอที่อยู่/ เบอร์โทรศัพท์ของผู้เสียหายเพื่อแจกแบบสอบถามทางไปรษณีย์ หรือสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ของสถานีตำรวจ หมายเหตุ : สัดส่วนการแจกแบบสอบถามทั้ง 2 ข้อ ให้ บช./ภ. (จเรตำรวจของหน่วยงาน) เป็นผู้กำหนด โดยให้ครบจำนวนตามตารางข้างต้นของต่ละกลุ่มสถานีตำรวจ ด้านที่ ๓ แจกแบบสอบถามให้แก่ประชาชนที่พักอาศัยตามพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจทุกตำบล เฉลี่ยให้ครอบคลุมทุกตำบลและเกือบทุกหมู่บ้าน (รอเก็บ) หน้า ๕๕

51 แนวทางการแจกแบบสอบถาม
ด้าน วิธีการแจกแบบสอบถาม ด้านที่ ๔ แจกแบบสอบถามให้แก่ประชาชนผู้ใช้รถใช้ถนนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจ (รอเก็บ) ด้านที่ ๕ ๕.๑ ตำรวจ) ๕.๒ กต.ตร.) แจกแบบสอบถามให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจ (ผู้ใต้บังคับบัญชา) ในสถานีตำรวจเฉลี่ยให้ครบทุกสายงานหรือหน้าที่ตามลักษณะงาน (รอเก็บ)แจกแบบสอบถามให้แก่ กต.ตร. สถานีตำรวจและ กต.ตร. จังหวัด ให้ครบทุกคน ด้านที่ ๖ แจกแบบสอบถามให้แก่ประชาชนที่พักอาศัยตามพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจทุกตำบล เฉลี่ยให้ครอบคลุมทุกตำบลและเกือบทุกหมู่บ้านในพื้นที่ ศชต. (รอเก็บ) หน้า ๕๕

52 แบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน ด้านการบริการทั่วไป ( แบบที่๑ )
ส่วนที่๑ ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของสถานีตำรวจ ( Front Office ) โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องของระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของท่าน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ด้านสถานที่ / สิ่งอำนวยความสะดวก ๑. มีป้ายแสดงที่ตั้งและเส้นทางมายังสถานีตำรวจ ๒. มีที่จอดรถสำหรับผู้มารับบริการไว้อย่างเหมาะสม และเพียงพอ ๓. อาคารและสถานที่มีความสะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อย ๔. มีการจัดพื้นที่ให้บริการอย่างเป็นสัดส่วน ๕. มีห้องน้ำสำหรับผู้รับบริการอย่างเหมาะสมและ เพียงพอ ๖. มีตู้รับฟังความคิดเห็นของประชาชนติดตั้งไว้อย่าง ชัดเจน ด้านกระบวนการ / ขั้นตอนการให้บริการ ๗. แยกประเภทของการให้บริการไว้อย่างชัดเจน ๘. การให้บริการแต่ละประเภทมีคำแนะนำและขั้นตอน ที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย สะดวกแก่ผู้รับบริการ ๙. มีการให้บริการตามลำดับก่อนหลัง ๑๐. มีการให้บริการที่รวดเร็ว หน้า ๕๖

53 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ด้านเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ให้บริการ ๑๑.เจ้าหน้าที่ตำรวจแต่งเครื่องแบบเรียบร้อยขณะปฏิบัติหน้าที่ ๑๒.เจ้าหน้าที่ตำรวจมีท่าทีที่สุภาพ เป็นมิตรและพูดจาไพเราะ ๑๓.เจ้าหน้าที่ตำรวจกระตือรือร้น เอาใจใส่ในการให้บริการ ๑๔.เจ้าหน้าที่ตำรวจมีความรู้ความสามารถเพียงพอในการให้บริการ ๑๕.เจ้าหน้าที่ตำรวจตอบคำถามและชี้แจงข้อสงสัยได้อย่างชัดเจน ๑๖.เจ้าหน้าที่ตำรวจปฏิบัติหน้าที่ อย่างเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ ๑๗.เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่เรียกร้องทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดที่นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมตามระเบียบของทางราชการ หน้า ๕๗

54 หน้า ๕๘ แบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชนด้านการบริการทั่วไป
(สอบถามทางโทรศัพท์) ( แบบที่ ๒ ) ส่วนที่๑ ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของสถานีตำรวจ ( Front Office ) (๕ คะแนน) โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องของระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของท่าน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๑. ท่านพอใจในสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกบนสถานีตำรวจมากน้อยเพียงใด ๒. ท่านพอใจในกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการของสถานีตำรวจมากน้อยเพียงใด ๓. ท่านพอใจเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ให้บริการมากน้อยเพียงใด หมายเหตุ การให้น้ำหนักคะแนนแต่ละด้านให้น้ำหนักคะแนนด้านละ ๕ คะแนน รวม ๑๕ คะแนน และนำผลรวมมาหาค่าเฉลี่ยคะแนนเต็ม ๕ คะแนน คำอธิบาย สาเหตุที่จัดทำแบบสอบถามทางโทรศัพท์ไว้เป็นการเฉพาะก็เนื่องจากว่าแบบสอบถามแบบที่ ๑ นั้นผู้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองหากนำมาใช้ทางโทรศัพท์จะปฏิบัติได้ยากและใช้เวลาค่อนข้างมาก จึงให้ชุดตรวจประเมินเป็นผู้โทรศัพท์ถึงผู้ที่เคยมาใช้บริการที่สถานีตำรวจในภาพรวมของแต่ละด้านและให้น้ำหนักไว้ที่ ๕ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน ส่วนแบบสอบถามแบบที่ ๑ นั้น ๒๐ คะแนน หน้า ๕๘

55 แนวทางการแจกแบบสอบถามด้านการให้บริการทั่วไป
การแจกแบบสอบถามและจำนวนชุดของแบบสอบถามแต่ละแบบ แบบที่ ๑ ให้ กต.ตร. สถานีตำรวจเป็นผู้แจกโดยสลับสถานีและให้มีการประชุมชี้แจงก่อน แบบที่ ๒ ให้ชุดตรวจประเมินเป็นผู้ดำเนินการโทรศัพท์สอบถามความพึงพอใจในภาพรวมตามแบบสอบถาม จำนวนชุดแบบสอบถามแต่ละแบบ สถานีตำรวจระดับ ผกก.กลุ่มที่ ๑ (ปริมาณงานมาก) แบบที่ ๑ จำนวน ๔๐ ชุด แบบที่ ๒ จำนวน ๑๐ ชุด รวม ๕๐ ชุด สถานีตำรวจระดับ ผกก.กลุ่มที่ ๒ (ปริมาณงานน้อย) แบบที่ ๑ จำนวน ๓๐ ชุด แบบที่ ๒ จำนวน ๑๐ ชุด รวม ๔๐ ชุด สถานีตำรวจระดับ สวญ. แบบที่ ๑ จำนวน ๒๐ ชุด แบบที่ ๒ จำนวน ๑๐ ชุด รวม ๓๐ ชุด สถานีตำรวจระดับ สว. แบบที่ ๑ จำนวน ๑๕ ชุด แบบที่ ๒ จำนวน ๕ ชุด รวม ๒๐ ชุด หน้า ๕๙

56 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
แบบสำรวจความพึงพอใจของผู้เสียหาย ด้านการอำนวยความยุติธรรม ส่วนที่๑ ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจของผู้เสียหายที่มีต่อพนักงานสอบสวนในการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องของระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของท่าน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ด้านสถานที่ / สิ่งอำนวยความสะดวก ๑. พนักงานสอบสวนมีความสุภาพและให้เกียรติท่าน ตามสมควร ๒. พนักงานสอบสวนนัดหมายล่วงหน้าในระยะเวลาที่ เหมาะสม ๓. พนักงานสอบสวนตรงต่อเวลานัดหมายทางคดี ๔. พนักงานสอบสวนให้ชี้แจงขั้นตอนหรือตอบข้อ สงสัยทางคดีอย่างชัดเจน ปราศจากข้อสงสัย พนักงานสอบสวนแจ้งผลคืบหน้าทางคดีให้ท่าน ทราบทุกระยะ ๖. ท่านสามารถตรวจสอบคำให้การและเอกสารของ ท่านได้ ๗. พนักงานสอบสวนปกปิดความลับทางคดีของท่าน อย่างเหมาะสม ๘. พนักงานสอบสวนให้ความคุ้มครองความปลอดภัย ของพยานและผู้เสียหายอย่างเหมาะสม ๙. กรณีมีข้อขัดข้อง หรือข้อสงสัย ท่านสามารถพบ ผู้บังคับบัญชาของพนักงานสอบสวนได้ ๑๐. การสอบสวนเสร็จสิ้นตามกำหนดเวลา หน้า ๖๐

57 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ด้านการปฏิบัติงานอย่างยุติธรรม ๑๑. ระบบงานสอบสวนมีการตรวจสอบ ถ่วงดุลอย่างเหมาะสม ๑๒.พนักงานสอบสวนปฏิบัติหน้าที่อย่างอิสระ ปราศจากอิทธิพลใดๆ เข้ามาแทรกแซง ๑๓. พนักงานสอบสวนปฏิบัติหน้าที่อย่าง เสมอภาคกับทุกคน โดยไม่เลือกปฏิบัติทาง ชนชั้น ฐานะ เพศ และวัย ๑๔.พนักงานสอบสวนปฏิบัติตนเป็นกลาง ปราศจากอคติ หรือเอนเอียงเข้าฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใด ๑๕. พนักงานสอบสวนยึดถือระเบียบและ กฎหมายอย่างเคร่งครัด ๑๖. พนักงานสอบสวนไม่เรียกร้องทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่นอกเหนือจากที่ระเบียบ และกฎหมายกำหนดไว้ ๑๗. ผลการสอบสวนเป็นไปตาม พยานหลักฐานและข้อกฎหมาย หน้า ๖๑

58 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ด้านประสิทธิภาพ ๑๘. มีการตรวจสถานที่เกิดเหตุอย่าง รวดเร็ว ๑๙. มีการเก็บวัตถุพยานจากสถานที่เกิด มาใช้ในทางคดี ๒๐. มีการนำพยาน/หลักฐานที่สำคัญมา ใช้อ้างอิงในทางคดีเหมาะสม ๒๑. มีการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใน การตรวจพิสูจน์หลักฐานอย่างเหมาะสม ๒๒. มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ สอบสวน อาทิ คอมพิวเตอร์ กล้อถ่ายภาพ เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ ๒๓. มีการนำตัวผู้กระทำความผิดมา ดำเนินคดีอย่างรวดเร็ว หน้า ๖๑

59 หน้า ๖๒ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ แบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน
ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ส่วนที่๑ ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจของประชาชนต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องของระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของท่าน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๑ ตำรวจออกพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ๒. ตำรวจให้ข่าวสารและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันอาชญกรรมแก่ ประชาชนในพื้นที่อย่างเหมาะสม ๓ ตำรวจออกตรวจตราพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ๔.ตำรวจตั้งด่านตรวจอย่างสม่ำเสมอ ๕ ตำรวจตรวจจับกุมผู้กระทำผิดยาเสพติดในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ๖ ตำรวจตรวจค้นแหล่งมั่วสุมวัยรุ่นในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ๗ ตำรวจมีมาตรการการควบคุมแหล่งอบายมุข (สถานเริงรมย์ บ่อน ซ่อง เกมส์ ฯลฯ) ในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม หน้า ๖๒

60 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๘ ท่านมีความปลอดภัยจากอาชญากรรม ขณะอยู่ในบ้าน ในเวลา กลางวัน ๙ ท่านมีความปลอดภัยจากอาชญากรรม ขณะอยู่ในบ้าน ในเวลา กลางคืน ๑๐ ท่านมีปลอดภัยจากอาชญากรรม ขณะอยู่นอกบ้าน ในเวลา กลางวัน ๑๑ ท่านมีความปลอดภัยจากอาชญากรรม ขณะอยู่นอกบ้าน ในเวลากลางคืน ๑๒ มีจำนวนตำรวจที่เหมาะสมต่อปริมาณภารกิจในการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ ๑๓ ตำรวจมีความรู้ความสามรถที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่ใน การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ ๑๔ ตำรวจมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการป้องกันและ ปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่

61 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๑๕ ตำรวจมีความทุ่มเทในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเพียงพอในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ ๑๖ ตำรวจปฏิบัติงานอย่างเสมอภาคในทุกพื้นที่ทุกชุมชน ในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ในพื้นที่ ๑๗ ตำรวจใช้อำนาจหน้าที่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ ๑๘ ตำรวจได้รับความร่วมมือจากประชาชนในการเบาะแส/ ข่าวสารอาชญากรรในพื้นที่ ๑๙ ตำรวจสามารถติดตามจับกุมคนร้ายในคดีสำคัญได้อย่างรวดเร็ว ๒๐ เมื่อมีการแจ้งเหตุ ตำรวจมาถึงที่เกิดเหตุด้วยความรวดเร็ว

62 รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ แบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน
ด้านการควบคุมและจัดการจราจร ส่วนที่๑ ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจของประชาชนต่อความปลอดภัยจากอุบัติเหตุจราจรทางบก โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องของระดับความพึงพอใจตามความเห็นของท่าน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๑ ในช่วงเทศกาลสำคัญ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ ฯลฯ ตำรวจมีการรณรงค์ แผนป้องกันอุบัติเหตุทางถนนอย่างเหมาะสม ๒ ในช่วงเทศกาลสำคัญ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ ฯลฯ ตำรวจมีการระดม กำลังเพื่ออำนวยความสะดวกการจราจรอย่างเหมาะสม ๓ ตำรวจเข้มงวดกวดขันการสวมหมวกนิรภัย ๔ ตำรวจเข้มงวดกวดขันการขับขี่รถขณะเมาสุรา ๕ ตำรวจเข้มงวดกวดขันการขับรถเร็วเกินกว่ากฎหมายกำหนด ๖ ตำรวจเข้มงวดกวดขันการฝ่าผืนสัญญาไฟจราจร ๗ ตำรวจมีระบบการจัดการจราจรอย่างมีประสิทธิภาพ

63 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๘ ตำรวจมีบริการให้ความช่วยเหลือเหตุฉุกเฉินทางถนน ๙ ตำรวจมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการตรวจตราจับกุมผู้กระทำผิด กฎหมายจราจร อาทิ ตรวจจับผู้ฝ่าฝืนสัญญาณไฟ ความเร็ว ความเมา เป็นต้น ๑๐ ตำรวจมีบริการชำระค่าปรับจราจรที่สะดวก รวดเร็ว ๑๑ ตำรวจจราจรมีความรู้ความสามารถเหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ๑๒ ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่ด้วยความทุ่มเทเต็มกำลังความสามารถ

64 ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์
ต่อ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( ๕ ) มาก ( ๔ ) ปานกลาง ( ๓ ) น้อย ( ๒ ) น้อยที่สุด ( ๑ ) ไม่แน่ใจ/ไม่มีประสบการณ์ ๑๓ ตำรวจจราจรบังคับใช้กฎหมายด้วยความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ ๑๔ ตำรวจจราจรใช้ดุลยพินิจในการบังคับใช้กฎหมายหมายกับผู้ฝ่าฝืนอย่างเหมาะสม ๑๕ ตำรวจจราจรมีกริยาวาจาที่สุภาพและให้เกียรติตามสมควร ๑๖ ตำรวจจราจรไม่เรียกร้องทรัพย์สินหรือประโยชน์โดยมิชอบจากการปฏิบัติหน้าที่ ๑๗ ตำรวจมีการให้ข่าวสารความรู้ด้านการจราจรแก่ประชาชนอย่าง เหมาะสม

65 การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา
แบบสอบถามความคิดเห็นของข้าราชการตำรวจ เพื่อประเมินผลด้านการบริหารทั่วไปภายในสถานีตำรวจ ส่วนที่ ๑. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ ๒ แบบสอบถามความพึงพอใจ คำแนะนำ โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงกับความคิดเห็นของท่าน การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๑. ให้โอกาสการพัฒนาตนเอง โดย การศึกษาเสาะแสวงหาความรู้ หรือ ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิบัติงานอยู่เสมอ เช่นศึกษา ต่อ ระดับปริญญาตรี ศึกษาเพิ่มเติม หลักสูตร คอมพิวเตอร์ ภาษาต่างประเทศ ฯลฯ ๒. มีการสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ใน สังกัดได้รับโอกาสในการพัฒนา ตนเอง และเข้าถึงแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม

66 การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา
ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๓.ได้รับการส่งเสริมให้ได้รับ ความรู้จากสายงานอื่นเพิ่มเติมจาก งานที่ปฏิบัติอยู่ประจำ ๔.ได้มีการนำความรู้ที่ได้รับจาก การถ่ายทอดแลกเปลี่ยนมาใช้ให้ เป็นประโยชน์ในการพัฒนางานใน หน้าที่ (จากข้อ ๓) ๕.เคยมีโอกาสได้แสดงความ คิดเห็นในทางที่ดีต่อการบริหาร องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสถานี ตำรวจ ๖.ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในงาน ที่ปฏิบัติจากหัวหน้างาน

67 การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา
ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๗. ผู้บังคับบัญชายอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น ๘. มีการเสริมสร้างความสามัคคี ในหน่วยงาน และสนับสนุนการ ทำงานเป็นทีม ๙. ปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงาน อย่างสม่ำเสมอ ๑๐. มีการจัดสวัสดิการให้กับ ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความ เหมาะสม

68 การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา
ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๑๑. มีความเป็นธรรมในการ พิจารณาความดีความชอบ ๑๒. ใส่ใจถึงทุกข์ สุข ความ เป็นอยู่ของ ผู้ใต้บังคับบัญชา ๑๓. ส่งเสริมให้มีจิตสำนึก ด้านการเสียสละ ต่อส่วนรวม ๑๔ เสริมสร้างอุดมการณ์ ความรับผิดชอบ ในหน้าที่ ของตำรวจ

69 การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา
แบบสอบถามความคิดเห็นของ กต.ตร. และหน่วยงานต่างๆ ส่วนที่ ๑. ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ คำแนะนำ โปรดทำเครื่องหมาย  ในช่องตรงกับความคิดเห็นของท่าน การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๑. ความรวดเร็วในการให้บริการแก่ประชาชน เช่น การให้บริการบนสถานีตำรวจ,การรับแจ้งความของพนักงานสอบสวน,การระงับเหตุ, การเดินทางมาถึงสถานที่เกิดเหตุ, การอำนวยการความสะดวกด้านการจราจร ฯลฯ ๒. การให้บริการและช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ๓. การให้บริการโดยไม่ถือเลือกปฏิบัติ

70 การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา
ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๔. การให้บริการด้วยความ เที่ยงธรรม โปร่งใส ๕. ใช้กิริยาวาจาที่สุภาพ ๖. มีความรอบรู้และความพร้อมในการ ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ตำรวจ เช่น การให้คำแนะนำ การแต่งกาย,อาวุธ,อุปกรณ์ สื่อสาร ฯลฯ ๗. ขั้นตอนการให้บริการด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญามีคุณภาพและมี ระยะเวลาในการดำเนินงานเหมาะสม

71 ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้ผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๘. มีการประชาสัมพันธ์ การออกตรวจเยี่ยมเยียนประชาชนหรือเผยแพร่ให้ประชาชนทราบวิธีการป้องกันอาชญากรรม รวมถึงการแจ้งเหตุด่วนเหตุร้ายตลอดจนความรู้ความเข้าใจในเรื่องจราจร และ ปลูกฝังวินัยจราจร เช่น การติดสติ๊กเกอร์ หมายเลขโทรศัพท์,แจกคู่มือประชาชน, การ ออกไปบรรยายให้ความรู้ตามสถาบันการศึกษา หรือในที่ประชุมของชุมชน

72 ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ
น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๙. มีการแสวงหาความร่วมมือจากประชาชน ในชุมชนหรือท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง เช่น จัดเจ้าหน้าที่ตำรวจออกรับฟังปัญหาต่างๆ ในชุมชน มีการทำประชาคมท้องถิ่น หรือ ปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาจราจร ปัญหาอาชญากรรม รวมถึงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ต่อประชาชน

73 ต่อ การบริหารจัดการภายในสถานีตำรวจของผู้บังคับบัญชา ระดับความพึงพอใจ
น้อยที่สุด ๑ คะแนน น้อย ๒ คะแนน ปานกลาง ๓ คะแนน มาก ๔ คะแนน มากที่สุด ๕ คะแนน ๑๐. มีความซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติหน้าที่ ๑๑. สถานที่ทำการ และสภาพแวดล้อมรวมถึงป้ายบอกเส้นทางการมาติดต่อ ที่สถานีตำรวจ ๑๒. ท่านมีความพึงพอใจในการปฏิบัติ หน้าที่


ดาวน์โหลด ppt ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ และการตรวจติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google