ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรณีศึกษา ลุ่มน้ำปะเหลียน
นายชล บุนนาค อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
Outline ภาพรวมทรัพยากรธรรมชาติของลุ่มน้ำปะ เหลียน
ความเป็นมาเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในเขตชุมชนบ้านแหลม จนถึงปัจจุบัน การวิเคราะห์โครงสร้างเชิงอำนาจในการ จัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ: กรณีศึกษาในเขต ชุมชนบ้านแหลม และลุ่มน้ำปะเหลียน
3
อ.เมือง อ.นาโยง อ.ย่านตาขาว อ.กันตัง อ.ปะเหลียน กิ่งอ.หาดสำราญ
4
ปู ปลา และหอยชนิดต่างๆ
ไม้ชายเลนชนิดต่างๆ ระบบนิเวศน์เชิงซ้อน Complex Ecology ป่าต้นน้ำ ลุ่มน้ำจืด ปู ปลา และหอยชนิดต่างๆ แหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ ลุ่มน้ำกร่อย ชายฝั่งทะเล เกาะแก่ง แหล่งน้ำจืด v
5
ระบบนิเวศน์เชิงซ้อน Complex Ecology
ลุ่มน้ำกร่อย แหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำจืด
6
ลักษณะเด่นของชุมชนบ้านแหลม
ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ละคนมีอาชีพหลากหลาย ประมง เป็นอาชีพพื้นฐานเพียงพอสำหรับยังชีพ ทั้ง ในด้านความมั่นคงทางอาหาร และรายได้พื้นฐาน ทรัพยากรสำคัญของบ้านแหลม คือ หอยนางรม, หอยปะ, ปูดำ, ป่าชายเลน (ป่าโกงกาง,ต้นจาก)
7
หอยนางรม
8
หอยปะ (หอยตลับ)
9
ปูดำ
10
ปูม้า
11
ความเป็นมาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตบ้านแหลม
สัมปทานป่า ชาวบ้านตื่นตัวเรื่องอนุรักษ์ บุกรุกป่าชายเลนทำนากุ้ง 2538 สมาคมหยาดฝน ตั้งกลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม
12
สมาคมหยาดฝน องค์กรพัฒนาเอกชนในจังหวัดตรัง
ตั้งเมื่อปี 2527 ทำงานเรื่องแก้ปัญหาความ ยากจนในพื้นที่ อ.สิเกา จ.ตรัง พบว่าการทำให้ชุมชนเรียนรู้และสามารถ จัดการทรัพยากรของตนได้ทำให้ชุมชนที่ ยากจนมีความมั่นคงทางอาหารและยืนได้ด้วย ตนเอง
13
สมาคมหยาดฝน วัตถุประสงค์
สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ชุมชนเกี่ยวกับ ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากร ด้วยตนเองได้ อำนวยความสะดวกให้เกิดเครือข่ายระหว่างชุมชน เพื่อร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรในเขตลุ่มน่ำปะเหลียน
14
สมาคมหยาดฝน ทำงานทั้งระดับพื้นที่ และระดับนโยบาย
ช่วยชาวบ้านเชื่อมเครือข่ายกับ สถาบันการศึกษาเพื่อยกระดับความรู้ของ ชาวบ้าน เชื่อมเครือข่ายกับองค์กรที่ทำงานอนุรักษ์พื้นที่ ชุ่มน้ำระหว่างประเทศ / ช่วยเหลือผลักดันงาน ระดับประเทศ เป็นที่นับน่าถือตาในระดับจังหวัดตรัง
15
กลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม
เป็นกลุ่มอนุรักษ์กลุ่มแรกของบ้านแหลม สมาคมหยาดฝนลงมาช่วยเสริมการเรียนรู้ให้ แกนนำ กลุ่มร่วมกันวางกติกาการอนุรักษ์หอยนางรม บริเวณพื้นที่หน้าหมู่บ้าน โดยสมาคมฯให้การ สนับสนุน
16
แผนที่เดินดินชุมชนบ้านแหลม
บ้านคน ร้านค้า โรงเรียน มัสยิด ป่าโกงกาง ควน/เกาะ นากุ้ง
17
กลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม
บ้านแหลมกลายเป็นสมาชิกเครือข่ายอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ำปะเหลียน กลุ่มได้มีการทำงานร่วมกับโรงเรียนบ้านแหลม ใน การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ครอบคลุมเรื่องหอย นางรม น้ำ และป่าชายเลน หลังจากกลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม จึงนำมาซึ่งกลุ่ม ต่างๆในชุมชน เช่น กลุ่มป่าชายเลนชุมชน
18
ความเป็นมาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตบ้านแหลม
รธน. 2540 RAMSAR 2538 2540 โครงการป่าเฉลิมพระเกียรติฯ 2541 จะตั้งป่าชายเลนชุมชน แต่ติดป่าจากส่วนบุคคล 2544 2545 ป่าชายเลนชุมชนบ้านแหลม
19
ความแตกต่างระหว่างป่าชุมชนและป่าเฉลิมพระเกียรติฯ
เน้นแต่งสาง ปลูกเสริม รักษาและฟื้นฟูระบบ นิเวศน์ในป่าชายเลน มีไม้หลายชนิด เช่น โกงกาง จาก ตะบูน ฯลฯ ชาวบ้านใช้ประโยชน์ จากป่าได้ ป่าเฉลมพระเกียรติฯ เน้นตัด เผาทิ้งแล้ว ปลูกใหม่ ปลูกไม้ชนิดเดียวแบบ เป็นแถวเป็นแนว หน้า แน่น ไม่ให้ชาวบ้านใช้ ประโยชน์/ชาวบ้านใช้ ประโยชน์ไม่ได้
20
ความเป็นมาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตบ้านแหลม
ในหมู่บ้านขัดแย้งกัน งานอนุรักษ์ซบเซา วิกฤตหอยปะ 2546 แกนนำกลุ่มอนุรักษ์ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มอนุรักษ์หันไปทำงานกับโรงเรียน 2549 2550 โรงเรียนบ้านแหลมได้รางวัลลูกโลกสีเขียว เทศกาลหอยนางรม บ้านแหลมครั้งที่ 1
21
กรอบในการพิจารณา สถาบันระหว่างประเทศ ประเทศ สถาบันภายในประเทศ
รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs ท้องถิ่น
22
มีผู้เล่นทั้งหมด 5 ฝ่าย ในระดับท้องถิ่น
รัฐ ภาคเอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น NGOs ข้อ 1 เป็นผู้มอบกรรมสิทธิ์ ข้อ 2-4 เป็นผู้เล่นที่แย่งชิงกรรมสิทธิ์ในการ จัดการทรัพยากร ข้อ 5 เป็นผู้ตรวจสอบและช่วยเหลือ
23
สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ
กฎกติกาต่างๆ เช่น สนธิสัญญา ข้อตกลง เป็นต้น โลกาภิวัฒน์และตลาด สถาบันภายในประเทศ รัฐธรรมนูญ พรบ. กฎกติกาว่าด้วยกรรมสิทธิ์ ในการจัดการทรัพยากร , แผนพัฒนาฯ, นโยบาย กลไกตลาดภายในประเทศ
24
รัฐ ส่วนกลาง ภูมิภาค มีเป้าหมาย เพื่อประโยชน์ของสังคม (ในทาง ทฤษฎี) เป็นผู้บังคับใช้และปฏิบัติตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ แผนการพัฒนา นโยบาย สามารถจัดการทรัพยากรเองได้ตามกฎหมายกำหนด มีอำนาจในการมอบหรือให้ความชอบธรรมใน กรรมสิทธิ์ในการจัดสรรทรัพยากร ตามกฎหมาย และอำนาจหน้าที่
25
ภาคเอกชน เป้าหมาย : Maximize Profit ทรัพยากร: เงินทุน (อำนาจเชิงเศรษฐกิจ) มีบทบาทในการแย่งชิงกรรมสิทธิ์ในการจัดสรร ทรัพยากรมาตั้งแต่ในยุคสัมปทาน โลกาภิวัฒน์มีผลในการเสริมทรัพยากรเชิงอำนาจ
26
ชุมชน เป้าหมาย: เพื่อการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืนและพอเพียง ทรัพยากร: ความรู้, ทุนทางสังคม บทบาทของชุมชนในลักษณะนี้ยังไม่ชัดเจน จนกระทั่งปลายทศวรรษ 2530 สนธิสัญญาระหว่างประเทศบางอย่าง และ NGOs มีส่วนเสริมทรัพยากรเชิงอำนาจของชุมชน
27
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมาย: เพื่อประโยชน์สุขของชุมชน (ทฤษฎี) ทรัพยากร: ทุนทางสังคม, เงินทุน, อำนาจตาม กฎหมาย บทบาทของอปท.ยังไม่เกิดขึ้นจนกระทั่งปี 2540 รัฐธรรมนูญ และพรบ.ที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ส่วนท้องถิ่นจะเป็นตัวเสริมทรัพยากรเชิงอำนาจ
28
องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)
ไม่ได้เป็นผู้เล่นในการแย่งชิงกรรมสิทธิ์ มักมีบทบาทเป็นผู้ตรวจสอบและ/หรือ ทำงาน ร่วมกับ ภาครัฐ, อปท. และภาคเอกชน มีบทบาทเป็นผู้ช่วยส่งเสริมชุมชนในด้านต่างๆ เช่น กระบวนการเรียนรู้, สร้างทุนทางสังคม (เครือข่าย), ยกระดับองค์ความรู้ เป็นต้น
29
กรณีศึกษา: สัมปทานป่า
สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs
30
กรณีศึกษา: สัมปทานป่า
กรณีนี้เกิดขึ้นมาแต่อดีตจนปี 2545 ก่อนปี 2540 อปท.ยังไม่เกิดขึ้นและไม่มีการ รับรองสิทธิชุมชน การเคลื่อนไหวของชุมชนยังไม่ชัดเจนนักจน ทศวรรษที่ 2530 กฎหมายเปิดทางให้เอกชนเข้ามาแย่งชิง สัมปทาน ใครมีเงินทุน (อำนาจทางเศรษฐกิจ)มากกว่า (ทั้งแบบโปร่งใสและไม่โปร่งใส) เป็นผู้ได้ กรรมสิทธิในการจัดการทรัพยากรจากรัฐ
31
กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม
สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs
32
กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม
กรณีนี้เกิดขึ้นในช่วงปี ช่วงปี 2537: ประมงอำเภอจะให้สัมปทานจับ หอยนางรมบริเวณบ้านแหลมแก่เอกชน ชุมชนเกิดตื่นตัวอยากอนุรักษ์หอยนางรมไว้ NGOs (สมาคมหยาดฝน) เข้ามาสร้าง กระบวนการเรียนรู้ทรัพยากรของตน, เชื่อม เครือข่าย และร่วมสร้างและส่งเสริมทักษะใน การจัดการทรัพยากรแก่ชุมชน
33
กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม
เมื่อชุมชนแสดงศักยภาพดังกล่าว กรมประมง จึงให้ชุมชนบ้านแหลมดำเนินการอนุรักษ์หอย นางรมต่อไป ปี 2540 รัฐธรรมนูญ มีบทบัญญัติที่รับรอง สิทธิชุมชน
34
กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม
ปี 2550 บ้านแหลมจัดกิจกรรม เทศกาลหอย นางรมบ้านแหลมครั้งที่ 1 เชิญผู้ว่าฯมาเปิด งาน ผู้ใหญ่บ้านและเครือข่ายชุมชนนำเสนอ เรื่องราวทรัพยากรในลุ่มน้ำเอง ผู้ว่าฯตอบรับดี ต้องการศึกษาเพิ่มเติม และ สนับสนุนกิจกรรมของชาวบ้านต่อไป อบต.ไม่เข้าร่วมเพราะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับ ผู้ใหญ่บ้านที่สนับสนุนงานอนุรักษ์
35
สรุป-กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม
ความรู้ในทรัพยากรและธรรมชาติ และทุนทาง สังคม (เครือข่าย) เป็นทรัพยากรเชิงอำนาจใน การต่อรองให้ได้รับสิทธิ์ในการจัดการ ทรัพยากร การตอบรับของประมงอำเภอ และผู้ว่าฯ เป็น การให้ความชอบธรรมแก่สิทธิ์ของชุมชน ตราบใดที่ยังไม่มีกฎหมายรับรองสิทธิของ ชุมชน การดำรงความรู้ ทุนทางสังคม และการ ให้ความชอบธรรมในสิทธิ์ทางอ้อมจากรัฐ ผ่าน รุ่นต่อรุ่นนั้นจำเป็น
36
กรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย
สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs
37
กรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย
กรณีดังกล่าวเริ่มมีความตื่นตัวเมื่อต้นปี ที่ผ่านมา บ้านทุ่งค่ายเป็นเขตต้นน้ำ นิคมอุตสาหกรรมเป็นโครงการร่วมระหว่าง ภาคเอกชนกับอบจ.ตรัง มีจุดมุ่งหมายเรื่อง การจ้างงาน และการลงทุนในจังหวัดเป็น หลัก โลกาภิวัตน์ การวัดความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจเป็นหลักและการค้า/การลงทุนเสรี เป็นตัวเร่งที่สำคัญ
38
กรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย
ฝั่งชุมชนและ NGOs ไม่เห็นด้วย และ เรียกร้องให้มีการทำประชาพิจารณ์อย่าง จริงจัง เห็นว่าจะไม่สามารถควบคุมมลพิษได้ และ ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ทั้งลุ่มน้ำ ชุมชนและ NGOs ใช้พลังความรู้ในเชิง สิ่งแวดล้อมและสิทธิตามกฎหมายของตน ทุนทางสังคม และอำนาจจากเงื่อนไขใน สนธิสัญญา RAMSAR มาเป็นทรัพยากรเชิง อำนาจในการต่อรอง
39
สรุปกรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย
เหตุการณ์นี้ยังดำเนินอยู่ ทั้งฝั่งภาคเอกชนและอบจ. และฝั่งชุมชนและ NGOs ต่างใช้ประโยชน์จากโครงสร้างสถาบันทั้ง ภายในและภายนอกประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป การแย่งชิงดังกล่าว ส่วนหนึ่งเกิดจากความไม่ ชัดเจนในกติกาว่าด้วยสิทธิในการจัดการ ทรัพยากร
40
สรุปกรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย
การมีกฎหมายว่าด้วยสิทธิชุมชนในการจัดการ ทรัพยากร + กระบวนการเรียนรู้ => ความ ยั่งยืนในการจัดการทรัพยากรของชุมชน => ความพอเพียงและยั่งยืนในการดำรงชีพของ ชุมชน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.