งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Probabilistic Asymmetric Cryptosystem

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Probabilistic Asymmetric Cryptosystem"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Probabilistic Asymmetric Cryptosystem
ระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ.ดร. ภัทรวิทย์ พลพินิจ รศ.ดร. วนิดา แก่นอากาศ

2 รายละเอียดการนำเสนอ ที่มาของโครงการ เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
แผนการดำเนินงาน ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ส่วนประกอบของระบบ ปัญหาและอุปสรรค บทสรุป

3 ที่มาของโครงการ สร้างพารามิเตอร์ขนาดใหญ่ซึ่งผู้ที่ต้องการโจมตีข้อมูลสามารถทำได้ยากด้านความปลอดภัยในการเข้ารหัสและและถอดรหัส คือ ผู้บุกรุกยากต่อการวิเคราะห์รหัส ใช้หลักการการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรในปัจจุบันซึ่งได้แก่ RSA ในการพัฒนาระบบ ซึ่งการใช้อัลกอริทึม RSA นั้นเป็นอัลกอริทึมที่มีความปลอดภัยและได้รับการยอมรับจากผู้เชี่ยวชาญ

4 เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
เป้าหมายของโครงการ ออกแบบอัลกอริทึมพัฒนาโปรแกรม และ ทดสอบประสิทธิผลเชิงเวลาของการแก้รหัสและถอดรหัสลับ ในระบบที่ออกแบบเปรียบเทียบการเข้ารหัสลับแบบ อสมมาตร RSA ขอบเขตของโครงการ พัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาไพทอนและสร้างระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็นที่มีความปลอดภัยสูงนำไปใช้งานได้จริง

5 แผนการดำเนินงาน

6 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง blum blum shub LFSR มิลเลอร์ – ราบิน RSA

7 ส่วนประกอบของระบบ ส่วนการเข้ารหัส ส่วนการถอดรหัส
การสุ่มค่า (Pseudorandom bit generation) การเข้ารหัสลับด้วยสตรีม ไซเฟอร์ ( Stream Cipher) การเข้ารหัสลับแบบ RSA public-key encryption ส่วนการถอดรหัส การถอดรหัสลับแบบ RSA public-key encryption การถอดรหัสลับแบบสตรีม ไซเฟอร์

8 ออกแบบระบบ (Conceptual Design)

9 ส่วนการเข้ารหัสรูปส่วนนี้
ข้อความที่ ยังไม่ได้เข้ารหัส (Plaintext) แปลงให้อยู่ในรูป เลขฐานสอง หมายเหตุ : c แทน Initialization vector m แทนความยาวของข้อมูล(plaintext) ต้องการส่งไปยังปลายทาง K แทน Key vector

10 การสุ่มค่า (Pseudorandom bit generation)
สร้างลำดับตัวเลขสุ่มด้วยวิธี บลัม บลัม ชับ (Blum-Blum-Shub) โดยสร้างเลข จำนวนเฉพาะแล้วนำมาทำตามอัลกอริทึม มีข้อดีคือมีความปลอดภัยสูง

11 การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON
Pseudorandom bit generation การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON sage: !python Python (r264:75706, Apr , 01:17:45) [GCC 4.4.1] on linux2 Type "help", "copyright", "credits" or "license" for more information. >>> import sys >>> from sage.all import* >>> from sage.crypto.stream import blum_blum_shub >>> >>> B1=blum_blum_shub(length=7, seed=3, p=11, q=19);B1 # K แทน Key vector # c แทน Initialization vector

12 การเข้ารหัสลับด้วยสตรีม ไซเฟอร์ (Stream Cipher)
สตรีม ไซเฟอร์ เป็นขั้นตอนวิธีการเข้ารหัสที่สำคัญ โดยเข้ารหัสในรูปแบบตัวอักษรหรือเลขไบนารี่ของข้อความที่จะเข้ารหัส เมื่อเข้ารหัสในแต่ละครั้งจะได้ข้อความที่ถูกเข้ารหัสที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับค่ากุญแจและค่าเวกเตอร์เริ่มต้นที่ได้จากการสุ่มในแต่ละครั้ง

13 การเข้ารหัสลับด้วยสตรีม ไซเฟอร์ (Stream Cipher) (ต่อ)
อัลกอริทึมที่ 2 การเข้ารหัสแบบสตรีม ไซเฟอร์ INPUT : กุญแจเวกเตอร์ ค่าสัมประสิทธิ์ ความยาวของข้อมูล และข้อความที่จะเข้ารหัส (Plaintext) OUTPUT : ข้อความที่เข้ารหัสแล้ว (Ciphertext) 1. ผลิต Key stream จาก กุญแจเวกเตอร์ และ ค่าสัมประสิทธิ์ ในสมการ 2. นำ Key stream ที่ได้ มาบวกกับข้อความที่จะเข้ารหัสแปลงเป็น เลขฐานสอง ภายใต้การ mod 2 จะได้ข้อความที่ถูกเข้ารหัส

14 การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON
Generate key stream การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON >>> from sage.misc.keystream import* [0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 0]

15 การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON
การเข้ารหัสแบบสตรีม ไซเฟอร์(LFSR) การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON >>> from sage.misc.lfsr import* #ciphertext1 [0, 0, 0, 0, 0, 1, 1, 0, 1, 1, 0, 1, 1, 0, 1, 0, 0, 1, 1, 1, 1, 1, 0, 0, 0, 0, 0, 1, 0, 0, 0, 1] 32

16 DECRYPTION STREAM CIPHER
การใช้อัลกอริทึมโดยโปรแกรม SAGE-PYTHON >>> from sage.misc.decrypcipher1 import* decryp binary message (LOVE) is = [0, 1, 0, 0, 1, 1, 0, 0, 0, 1, 0, 0, 1, 1, 1, 1, 0, 1, 0, 1, 0, 1, 1, 0, 0, 1, 0, 0, 0, 1, 0, 1] # แปลงกลับไปเป็น ASCII จะได้ เท่ากับ “LOVE” 32

17 สิ่งที่จะพัฒนาต่อ ทดสอบประสิทธิผลเชิงเวลาของการแก้รหัสและถอดรหัสลับ ในระบบที่ออกแบบเปรียบเทียบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตร RSA

18 ปัญหาและอุปสรรค ความซับซ้อนในเชิงคำนวณสูง

19 บทสรุป ระบบการเข้ารหัสแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็นแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนการเข้ารหัสและส่วนการถอดรหัส ส่วนการเข้ารหัสประกอบไปด้วยการสุ่มค่า (Pseudorandom bit generation)การเข้ารหัสลับด้วยสตรีม ไซเฟอร์ ( Stream Cipher)และการเข้ารหัสลับแบบ RSA public-key encryption


ดาวน์โหลด ppt Probabilistic Asymmetric Cryptosystem

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google