งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทยช่วง หลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน (2550)

2 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
หลังสงครามโลกที่ 2 : ปัญหาเงินเฟ้อ ขาดแคลนสินค้าและเงินตราต่างประเทศ พ.ศ (ค.ศ. 1947) เริ่มใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน (อลป.) หลายอัตรา (multiple exchange rate system) อัตราราชการ และตลาดเสรี

3 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
พ.ศ (ค.ศ. 1947) เริ่มใช้ระบบ อลป. หลายอัตรา (multiple ER) กำหนดผู้ส่งออกข้าว ยาง ดีบุก ไม้สัก ให้ขาย เงินตรา ตปท. ในอัตราราชการ (12.50 ฿/$ ซึ่งต่ำกว่าอัตราตลาด)

4 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
พ.ศ (ค.ศ. 1947) เริ่มใช้ระบบ อลป. หลายอัตรา (multiple ER) ใช้อัตราราชการเฉพาะสินค้านำเข้าจำเป็น ผล : ลดเงินเฟ้อ บรรเทาปัญหาขาดเงินตรา ตปท. รายได้ของรัฐจากภาษีส่งออก

5 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
พ.ศ (ค.ศ. 1949) เป็นสมาชิก IMF แต่ยังไม่กำหนดค่าเสมอภาค (par value) ของบาท

6 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
พ.ศ (ค.ศ. 1955) เริ่มนโยบายการค้าเสรี ยกเลิกระบบ อลป. หลายอัตรา (multiple exchange rate) จัดตั้ง “ทุนรักษาระดับ อลป. เงินตรา” (Exchange Equalization Fund หรือ EEF) เพื่อแทรกแซงตลาดให้มีเสถียรภาพ (1$ = ฿20)

7 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระบบ อลป. แบ่งได้ 6 ระยะ (ยุค) ระยะ 1 (พ.ศ – 2506 หรือ ค.ศ ) ก่อนกำหนดค่าเสมอภาค ธปท. โดย EEF แทรกแซงเพื่อเสถียรภาพ อลป. เคลื่อนไหวน้อย อ่อนสุดที่ 21฿/$

8 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 2 (พ.ศ – 2521 หรือ ค.ศ ) กำหนดค่าเสมอภาคตามพันธะกับ IMF ผูกกับ $ (และทองคำ) ที่ ฿/$ + 1% ค่าเงินค่อนข้างคงที่ (เทียบ $) ตลอดระยะ ( ) ลดค่าตาม $ 2516 (1973) ปรับค่าเสมอภาคใหม่ (20 ฿/$) และ ขยาย band เป็น %

9 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 3 (พ.ศ – 2524 หรือ ค.ศ ) กำหนด อลป. ประจำวันร่วมกัน(daily fixing) 1978 ยกเลิกการกำหนดค่าเสมอภาค (โลกใช้ อลป. ลอยตัว) และให้เทียบค่า ฿ กับตะกร้าเงิน (basket)

10 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 3 (พ.ศ – 2524 หรือ ค.ศ ) กำหนด อลป. ประจำวันร่วมกัน(daily fixing) ใช้วิธีการ daily fixing โดย ธปท. และ ธ. พาณิชย์ ร่วมกันกำหนด อลป. ทุกวัน ทุกเช้า มาร่วมซื้อขายจนได้ “สมดุล” ค่า ฿ เปลี่ยนมากขึ้นบ้าง (อ่อนสุดที่ 21 ฿/$)

11 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 4 (พ.ศ – 2527 หรือ ค.ศ ) ธปท. กำหนด อลป. เองรายวัน ฿ เริ่มอ่อนตัวเทียบกับ $ เพราะ $ แข็งขึ้นและ ไทยมีปัญหาขาดดุล มีการการเก็งกำไร ฿ มากขึ้น ธปท. ต้องขาย $ มากและต่อเนื่อง ==> ทุนสำรองลดฮวบ

12 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 4 (พ.ศ – 2527 หรือ ค.ศ ) ธปท. กำหนด อลป. เองรายวัน ธปท. ลดค่า ฿ ในปี 2524 (1981) จาก 21 เป็น 23 ฿/$ ยกเลิก daily fixing และหันมากำหนด อลป. เอง และใช้มาตรการ swap เพื่อประกันความเสี่ยงให้ ผู้กู้ต่างประเทศ เศรษฐกิจไทยย่ำแย่จากวิกฤติน้ำมันครั้งที่ 2 และเศรษฐกิจโลกถดถอย

13 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 5 (พ.ศ – 2540 หรือ ค.ศ ) ระบบตะกร้าเงิน 2527 (1984) ผูกค่า ฿ กับกลุ่มเงินของคู่ค้า แทน $ เพียงสกุลเดียว เพื่อให้ยืดหยุ่นและเป็นอิสระจาก $ มากขึ้น

14 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 5 (พ.ศ – 2540 หรือ ค.ศ ) ระบบตะกร้าเงิน ลดค่า ฿ เป็น 27 ฿/$ ส่งออกเพิ่ม ==> เศรษฐกิจฟื้นตัว ในทางปฏิบัติ แม้ค่า ฿ ยืดหยุ่นมากขึ้น แต่ก็ยังผูกกับ $ มาก

15 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 5 (พ.ศ – 2540 หรือ ค.ศ ) ระบบตะกร้าเงิน เปิดเสรีการเงิน: เลิกควบคุมดอกเบี้ย และการไหลของทุน รปท. ตั้งแต่ 2533 (1990) เศรษฐกิจไทยขยายตัวสูง บัญชีเดินสะพัดขาดดุลสูง เงินไหลเข้ามาก เก็งกำไรอสังหาริมทรัพย์

16 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 5 (พ.ศ – 2540 หรือ ค.ศ ) ระบบตะกร้าเงิน 2539 (1996) การส่งออกชะงักงัน ==> ปัญหาความเชื่อมั่น ==> เก็งกำไรค่า ฿ ==> ฟองสบู่แตก

17 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 6 (พ.ศ หรือ ค.ศ ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ 2 ก.ค (1997) จำยอมต้องลอยตัวค่า ฿ หลังจากพยายามพยุงค่า โดยขาย $ ล่วงหน้า ฿ ลดค่าฮวบฮาบ อ่อนสุดที่ 56 ฿/$

18 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 6 (พ.ศ หรือ ค.ศ ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ เข้าสู่วิกฤติ ==> เงินเฟ้อ ==> หนี้ท่วมหัว ล้มละลาย ==> ระบบการเงินล้มเหลว (หนี้เสีย) ==> เศรษฐกิจหดตัวใน (1997–8) ==> การว่างงาน

19 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 6 (พ.ศ หรือ ค.ศ ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ เข้าโครงการ IMF จากมาตรการเข้มงวด สู่มาตรการกระตุ้น อัตราดอกเบี้ยและเงินเฟ้อลดลง บัญชีเดินสะพัดเกินดุล เงินเริ่มไหลเข้า

20 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 6 (พ.ศ หรือ ค.ศ ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ ธปท. ประกาศแทรกแซงค่าเงินเฉพาะเพื่อ ลดความผันผวนระยะสั้น ไม่ฝืนแนวโน้มตลาด ( ) ค่าเงินกลับสู่เสถียรภาพ ที่ ฿/$

21 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 6 (พ.ศ หรือ ค.ศ ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ ( ) เงินบาทอ่อนตัวลงอีกเหลือ ฿/$ ( ) ค่าเงินบาทคงตัวที่ ฿/$

22 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
ระยะ 6 (พ.ศ หรือ ค.ศ ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ ( ) เงินบาทเริ่มแข็งค่ามากถึง 33 – 38 ฿/$ ปลายปี 2549 ธปท. ใช้มาตรการควบคุม เงินไหลเข้าระยะสั้น โดยให้ฝากสำรอง 30% 2550 ยกเลิก “ทุนรักษาระดับ อลป. เงินตรา” (Exchange Equalization Fund หรือ EEF)


ดาวน์โหลด ppt การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google