ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์
2
สารชีวโมเลกุล คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
3
โปรตีน เป็นสารประกอบที่พบมากใน.....................
ประกอบด้วยธาตุหลักๆ 4 ชนิดคือ C H O N หน่วยย่อยๆของโปรตีนเรียกว่า กรดอะมิโน (amino acid) สารละลายที่ใช้ทดสอบโปรตีนคือ สารละลายไบยูเร็ต NaOH + CuSO4
4
คุณสมบัติของโปรตีน โปรตีนเมื่อละลายน้ำจะได้คอลลอยด์
หน่วยย่อยๆของโปรตีน(กรดอะมิโน) จะเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์
5
การสูญสียสภาพของโปรตีน
การดัดผม เป็นการสูญเสียสภาพโดยสารเคมี การหนีบผม เป็นการสูญเสียสภาพโดยความร้อน
6
การสูญสียสภาพของโปรตีน
สารกัมมันตภาพรังสี
7
การสูญสียสภาพของโปรตีน
สารละลายกรด-เบส กรด+เบส เกลือ+น้ำ เรียกว่า ปฏิกิริยาการสะเทิน
8
การสูญสียสภาพของโปรตีน
รังสีอัลตราไวโอเล็ต
9
เอนไซม์ 1. จับกันแบบ lock&key
10
เอนไซม์ 2. ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งอย่างเดียว
11
เอนไซม์ 3. ทำงานได้ที่อุณหภูมิที่เหมาะสม
12
ไขมัน ไขมันจากพืช เช่น น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม ถั่วเหลือง
แบ่งออกเป็น ไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู ไขมันวัว ชีส
13
ไขมัน เอสเทอร์ (ester) ประกอบด้วยธาตุหลัก 3 ชนิดคือ C H O
14
ไขมัน สมการการเกิดไขมัน
15
ไขมัน ประเภทของกรดไขมัน
16
คุณสมบัติของไขมัน ไม่ละลายน้ำ ทำปฏิกิริยากับธาตุหมู่ 7 ได้
ทำปฏิกิริยากับธาตุ H ได้เนยเทียม
17
ไขมัน 4. เกิดกลิ่นเหม็นหืน
18
ไขมัน 5. ทำปฏิกิริยากับเบสได้สบู่
19
emulsion
20
emulsion ไข่แดง ทำหน้าที่เป็นตัวประสาร(emulsifier)
คือ ทำให้สารที่แยกชั้นกันอยู่ สามารถรวมตัวกันอยู่ในรูปของ อิมัลชั่น
21
คาร์โบไฮเดรต เป็นสารประกอบที่พบมากใน.....
ประกอบด้วยธาตุหลัก 3 ชนิดคือ C H O คาร์โบไฮเดรตสามารถจำแนกตามจำนวนโมเลกุลของน้ำตาลที่ เชื่อมโยงกันได้เป็น 3 กลุ่มคือ มอนอแซ็กคาไรด์ ไดแซ็กคาไรด์ และพอลิแซ็กคาไรด์
22
คาร์โบไฮเดรต มอนอแซ็กคาไรด์ หรือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว มีลักษณะเป็นโมเลกุลซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน 3-8 อะตอมสามารถละลายน้ำได้ดีและมีรสหวาน เป็นน้ำตาลที่มีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุด ไม่สามารถถูกย่อยให้เล็กลงกว่านี้ได้ ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ได้ทันที ตัวอย่างเช่น กาแลกโทส ฟรักโทส และกลูโคส
23
การทดสอบ การทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ใช้สารละลายเบเนดิกต์ (CuSO4)
วิธีทดสอบ ทำได้โดยนำสารละลายที่ต้องการทดสอบมาเติมสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มประมาณ 3 นาที หากเป็นน้ำตาลโมเลกกุลเดียว จะทำปฏิกิริยากับสารละลาย เบเนดิกต์ให้ตะกอนสีแดงอิฐ
24
คาร์โบไฮเดรต ไดแซ็กคาไรด์ หรือน้ำตาลโมเลกุลคู่ เป็นน้ำตาลที่เกิดจากน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว สองโมเลกุลมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี แต่ร่างกายไม่สามารถดูดซึมได้ทันที ต้องย่อยให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวก่อน เช่น น้ำตาลซูโครส(กลูโคส+ฟรุกโทส) น้ำตาลมอลโทส(กลูโคส+กลูโคส) น้ำตาลแลกโทส (กาแลกโทส+กลูโคส)
25
คาร์โบไฮเดรต น้ำตาลซูโครส เป็นน้ำตาลที่นิยมใช้ในการผลิตไวน์ โดยเมื่อนำน้ำผลไม้และน้ำตาลซูโครสมาหมักด้วยยีสต์ จะทำให้เกิดการย่อยสลายเป็นน้ำตาลกลูโคสและฟรักโทส ก่อนผ่านกระบวนการหมัก กลายเป็นเอธิลแอลกอฮอลล์
26
คาร์โบไฮเดรต พอลิแซ็กคาไรด์ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายโมเลกุล ไม่มีรสหวาน ละลายน้ำยากหรือไม่ละลายน้ำเลย แบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่ แป้ง ไกลโคเจน และเซลลูโลส
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.