ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPayut Leeyao ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น (EC 210) ภาค 2 ปีการศึกษา 2552 Sec. 8200
อ.ศันสนีย์ ลิ้มพงษ์ (อ.ติ๊ก) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ EC210 2/2552
2
เวลาบรรยาย และเวลา office
เวลาเรียน Section จันทร์ เวลา น. เวลา office วันจันทร์ เวลา น. เข้าพบได้ที่ ห้อง 665 อาคารวาย (เศรษฐศาสตร์) การติดต่อ msn : website : EC210 2/2552
3
ติดต่อผ่านเว็บบอร์ด www.ajarntik.com
EC210 2/2552
4
กติกาในการเรียนวิชานี้
เข้าเรียนให้ตรงเวลา กรุณาอย่าออกจากห้องก่อนเวลา ปิดเครื่องมือ หรือปิดเสียงเครื่องมือสื่อสารทุกชนิด ขอให้อย่าคุยกันในห้องเรียน อ่านข่าว บทความ ppt และเนื้อหาก่อน เข้าเรียน EC210 2/2552
5
หนังสืออ่านประกอบ ตำราภาษาไทย
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น สำนักพิมพ์ มธ. ตำราภาษาอังกฤษ Mankiw, N Gregory, Principles of Economics, 3rd ed.2004. Lipsey, Richard G., Paul N. Courant, Douglas D. Purvis, and Ragen, Christopher TS, Economics, 13th edition 2007. เอกสารประกอบคำบรรยาย EC210 2/2552
6
เอกสารประกอบการเรียน
Powerpoint Presentation กลุ่มอ.ศันสนีย์ หนังสืออ่านนอกเวลา (เลือกบทความให้อ่าน) เศรษฐศาสตร์มีคำตอบ โดย นวพร เรืองสกุล (2549) เศรษฐกิจต้องรู้ โดย ศุภวุฒิ สายเชื้อ (2551) เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ โดย นักเศรษฐศาสตร์ชาวญี่ปุ่น (แปลโดย ไชยยันต์ สาวนะชัย) (2549) เว็บไซด์รวมบทความดีดี รายงานเศรษฐกิจและการเงิน โดยธนาคารแห่งประเทศไทย แบบฝึกหัด และข้อสอบเก่าจากเทอมก่อนๆ และอื่นๆ EC210 2/2552
7
www.dekisugi.net (นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์)
EC210 2/2552
8
กำหนดวันเวลาที่สำคัญ
เปิดภาคการศึกษา ตุลาคม 2552 ปิดภาคสองช่วงแรก เพื่อจัดกีฬามหาวิทยาลัย 22 – 30 มกราคม 2553 ปิดสัปดาห์สอบกลางภาค 17 – 24 ธันวาคม 2552 ช่วง drop w – 11 มกราคม 2553 วันสุดท้ายของภาคการศึกษา กุมภาพันธ์ 2553 วันสอบกลางภาค พฤหัสบดี 17 ธันวาคม 2552 ( น.) วันสอบไล่ปลายภาค อาทิตย์ 7 มีนาคม ( น.) EC210 2/2552
9
การวัดผล แบ่งออกได้ดังนี้
การวัดผล แบ่งออกได้ดังนี้ สอบกลางภาคการศึกษา (คะแนน 40% ของคะแนนรวม) เนื้อหาสอบ บทที่ 1-4 สอบไล่เมื่อสิ้นภาคการศึกษา (คะแนน 60% ของคะแนนรวม) เนื้อหาสอบ บทที่ 5-9 EC210 2/2552
10
คำถามสำคัญ เศรษฐศาสตร์ คืออะไร?? เรียนเกี่ยวกับอะไร??
ทำไมเราต้องเข้าใจเศรษฐศาสตร์ ด้วย นักศึกษาคิดว่าทำไมคณะของนักศึกษาจึงต้องการให้พวกเราเข้าใจวิชานี้ ?? EC210 2/2552
11
ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์
สิ่งที่ไม่ใช่วิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ไม่ใช่วิชาว่าด้วยการบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ไม่ใช่วิชาเกี่ยวกับการเงินส่วนบุคคล การเล่นหุ้น หรือการลงทุน(โดยตรง) ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วย กลไกการทำงานของระบบเศรษฐกิจ ทั้งในระดับ จุลภาค คือระดับย่อย และในระดับมหภาค คือในระดับใหญ่ ทั้งระบบเศรษฐกิจ อันนี้คือคร่าวๆเลย EC210 2/2552
12
หัวข้อที่จะศึกษา แนวคิดเบื้องต้นของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค
อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน และการประยุกต์ใช้ การผลิตและต้นทุนการผลิต ตลาดและความล้มเหลวของตลาด EC210 2/2552
13
หัวข้อที่จะศึกษา (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์มหภาค ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์มหภาค และการกำหนดรายได้ประชาชาติ บทบาทของภาครัฐและนโยบายการคลัง บทบาทของการเงิน และนโยบายการเงิน บทบาทของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในระบบเศรษฐกิจ EC210 2/2552
14
หัวข้อและวันบรรยาย (อาจมีการเปลี่ยนแปลง)
จ. 2 พ.ย. 2552 เกริ่นนำ บทที่ 1: แนวคิดเบื้องต้นของวิชาเศรษฐศาสตร์ จ. 9 พ.ย. 2552 จ. 16 พ.ย. 2552 บทที่ 2: อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) และการกำหนดราคา (Price Determination) จ. 23 พ.ย. 2552 บทที่ 3: ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน และการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องอุปสงค์และอุปทาน จ. 30 พ.ย. 2552 จ. 14 ธ.ค.2552 บทที่ 4: การผลิตและต้นทุนการผลิต พฤ. 17 ธ.ค. 2552 สอบกลางภาค เวลา 9.00 – น. วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันหยุดราชการ EC210 2/2552
15
หัวข้อและวันบรรยาย (อาจมีการเปลี่ยนแปลง)
จ ธ.ค. 2552 บทที่ 5: ตลาดและความล้มเหลวของตลาด จ ม.ค. 2553 บทที่ 6: ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์มหภาคและการกำหนดรายได้ประชาชาติ จ ม.ค. 2553 จ ม.ค. 2553 บทที่ 7: บทบาทของภาครัฐบาล และนโยบายการคลัง จ ก.พ บทที่ 8: บทบาทของการเงินและนโยบายการเงิน จ ก.พ. 2553 บทที่ 9: บทบาทของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในระบบเศรษฐกิจ จ ก.พ. 2553 จ ก.พ. 2553 ทบทวนและอื่นๆ อาทิตย์ 7 มี.ค. 2553 สอบปลายภาค น. วันที่ 25 มกราคม เป็นวันหยุดมหาวิทยาลัย EC210 2/2552
16
บทที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นของวิชาเศรษฐศาสตร์ EC210 2/2552
17
Outline 1.1 เศรษฐศาสตร์คืออะไร ขอบเขตและเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์
1.2 ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับวิชาอื่น 1.3 แนวความคิดพื้นฐาน (Basic Concept) ทางเศรษฐศาสตร์ - ข้อสมมติที่เกี่ยวข้อง - ความจำกัด (Scarcity) - การเลือก (Choice) - ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) - เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve) EC210 2/2552
18
Outline 1.4 ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
1.5 ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ 1.6 วิธีคิดของนักเศรษฐศาสตร์ - วิธีการศึกษาแบบ Inductive และ Deductive - Positive และ Normative Economics - บัญญัติ 10 ประการของวิชาเศรษฐศาสตร์ EC210 2/2552
19
เศรษฐศาสตร์คืออะไร “เศรษฐศาสตร์คือ....
.....วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช้ หรือจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสนองความต้องการที่ไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์” EC210 2/2552
20
สิ่งที่ต้องตีความจากความหมายของเศรษฐศาสตร์ (Discussion)
1. จุดมุ่งหมายของการเลือก หรือการจัดสรร... อะไรคือประโยชน์สูงสุด 2. ทรัพยากรที่มีจำกัด ??? Why?? 3. ทางเลือก (choice) (ในหนังสือ อ.วันรักษ์ จะแบ่งแยกย่อย รายละเอียดมากกว่านี้ ลองไปอ่านดูนะค่ะ) EC210 2/2552
21
ทรัพยากรจำกัด (Scarcity)
หน่วยเศรษฐกิจย่อยๆมีทรัพยากรอะไรที่จำกัด ผู้บริโภค ..... มีรายได้เป็นทรัพยากรที่จำกัด ผู้ผลิต ....มีเงินทุน หรือ ปัจจัยการผลิตเป็นทรัพยากรที่จำกัด แต่ทุกคน มีเวลา เป็นทรัพยากรที่จำกัด EC210 2/2552
22
ทรัพยากรจำกัด (Scarcity)
ในระดับประเทศและสังคม (Nation and Society): ทรัพยากรการผลิต (productive resources): 1. ที่ดิน ทุน 2. แรงงาน ผู้ประกอบการ ค่าเช่า, ค่าจ้าง, ดอกเบี้ย, กำไร EC210 2/2552
23
ทุกๆวัน เราต่างเผชิญกับทางเลือกในรูปแบบที่หลากหลาย
เลือกในการใช้เวลา เวลาพักผ่อน, เวลาทำงาน, เวลาไปเที่ยว, เวลามานั่งเรียน เลือกในการใช้เงินที่มีอยู่ หนังสือเรียน, ดูหนัง, นาฬิกา, โทรศัพท์มือถือรุ่นล่าสุด รัฐบาลเลือกใช้งบประมาณของประเทศ โรงเรียน, รถไฟฟ้า, ระบบขนส่งสู่ภูมิภาค ฯลฯ EC210 2/2552
24
การเลือก (Choice) การเลือกตัดสินใจอะไรบ้าง
พฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เน้นศึกษาเพื่อเข้าใจว่า ทำไมผู้บริโภคจึงเลือกสินค้าบางอย่าง ในขณะเดียวกันก็ไม่เลือกสินค้าอีกหลายๆ อย่าง พฤติกรรมผู้ผลิต ที่เน้นศึกษาถึงการตัดสินใจว่าจะผลิตอะไร ใช้ปัจจัยอะไร อย่างไร แล้วจะขายใคร ปริมาณเท่าใด ราคาเท่าไหร่ EC210 2/2552
25
ทุกคนจึงเกิดมาเพื่อเลือก.......
เลือกในสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับตัวเอง เมื่อเราต้องเลือกบางสิ่ง ก็จะมีบางสิ่งที่เราไม่ได้เลือก เรียกต้นทุนที่เกิดจากทางเลือกที่เราไม่ได้เลือกว่า ต้นทุนค่าเสียโอกาส (opportunity cost) EC210 2/2552
26
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (opportunity cost)
“คุณค่าหรือมูลค่า (value) ของทางเลือก (choice) ที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกทั้งหลายทางเลือกที่ต้องสละไป (the best alternative forgone) เมื่อมีการตัดสินใจใช้ทรัพยากร.” คำถาม... .....เราจะประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสของทางเลือกที่เราได้เลือกแล้วได้อย่างไร EC210 2/2552
27
ตัวอย่างต้นทุนค่าเสียโอกาส
ตัวอย่าง 1 นักศึกษาป.โทท่านหนึ่ง เมื่อเรียนจบมีอาชีพให้เลือก 3 อาชีพ เป็นอาจารย์ เงินเดือน 12,000 บาท เป็นพนักงาน เงินเดือน 25,000 บาท เป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ เงินเดือน 50,000 บาท คำถาม หากเป็นคุณจะเลือกทางเลือกใด ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการเลือกทางเลือกนั้นๆ คือ.... EC210 2/2552
28
ตัวอย่างต้นทุนค่าเสียโอกาส
ตัวอย่าง 2 โต๊ะกลุ่มตัดสินใจที่จะทำของขายเอาเงินมารับน้อง (ด้วยเงินทุนเท่ากัน) ทำสมุด ได้เงิน 19,000 บาท ทำ Wristband ได้เงิน 30,000 บาท ทำเสื้อ ได้เงิน 26,000 บาท ตัวอย่าง 3 การเลือกใช้เวลาของพวกคุณในสี่ปีจากนี้ไป ตัวอย่าง 4 บริษัท (ระบบเศรษฐกิจ) เลือกที่จะผลิตสินค้าบริการ EC210 2/2552
29
เส้นเป็นไปได้ในการผลิต (production possibility curve: PPC)
คือ เส้นที่แสดงถึงการเลือกในการผลิตสินค้า จำนวนต่างๆในระบบเศรษฐกิจ ที่ผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ ข้อสมมติในการวิเคราะห์ 1. สินค้าที่เลือกผลิตมี 2 ชนิดคือ ข้าว กับรถยนต์ 2. ประเทศมีทรัพยากรการผลิตจำกัด และทรัพยากรถูกใช้อย่างเต็มที่ 3. ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และเทคโนโลยีคงที่ในขณะนั้น 4. ปัจจัยการผลิตที่ใช้ผลิตสินค้าแต่ละชนิดทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ EC210 2/2552
30
ตัวอย่าง การผลิตข้าวและรถยนต์
แผน ข้าว (X) (ปป.) รถยนต์(Y) (ปป.) A B C D E F ลอง plot เส้นกราฟแสดงความสัมพันธ์ดังกล่าว EC210 2/2552
31
Production Possibility Curve (PPC)
รถยนต์ A 15 Z D 9 E 5 These slides introduce the diagrams and then have animation to show how points on the PPF relate to different resource use and allocation. Moving from point A to point B involves sacrificing some capital goods to gain more consumer goods and thus demonstrates the opportunity cost involved. Students doing history can be reminded about the resource allocation decisions taken by Stalin during the 1930s and the subsequent decisions by successive Soviet premiers since the war about what resources are important for a nation like the USSR! (you might of course have to explain a little bit about what the USSR was!) Y F ข้าว 3 4 5 EC210 2/2552
32
ประเด็นคำถามเกี่ยวกับเส้น PPC
การใช้ทรัพยากรอย่างเต็มที่ (Full employment) แสดงถึงประสิทธิภาพ (Attainable & Efficiency) 2. การผลิตจะเกิดขึ้นที่อื่นได้หรือไม่ ? จุด Y อยู่ใต้เส้น PPC ทรัพยากรบางส่วนไม่ได้ถูกนำมาใช้ การผลิตไม่มีประสิทธิภาพ (Attainable but Inefficient) จุด Z อยู่เหนือเส้น PPC มีทรัพยากรไม่พอที่จะผลิต (Unattainable EC210 2/2552
33
ประเด็นคำถามเกี่ยวกับเส้น PPC
PPC สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่าง Scarcity - Choice – Opportunity Cost อย่างไร? 4. ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการเลือกทางเลือก F แทนทางเลือก E (ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการผลิตข้าวเพิ่มจาก 4 หน่วยเป็น 5 หน่วย) 5. จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าทรัพยากรในการผลิตเพิ่มขึ้น เหรอเทคโนโลยีการผลิตดีขึ้น EC210 2/2552
34
.Y Production Possibility Curve (PPC) รถยนต์ ข้าว Z E
Yo The next slide allows the lecturer to demonstrate what happens when resources are not used efficiently and production takes place within the PPF. It then allows the expansion of the PPF and can be used to illustrate the issue of economic growth and where opportunity cost does not exist if the economy moves from point A to point C (in a simple context of course – there is always some form of sacrifice of using resources!). ข้าว Xo X1 EC210 2/2552
35
การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ
เมื่อระบบเศรษฐกิจขยายตัว (จากเหตุผลต่างๆ เช่น มีปัจจัยการผลิตมากขึ้น / เทคโนโลยีการผลิตดีขึ้น) จะทำให้ความเป็นไปได้ในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น EC210 2/2552
36
“The more you learn, the more you earn.”
1.2 ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับวิชาอื่น เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์กับวิทยาศาสตร์ ฯลฯ การเรียนรู้ที่ดี คือ การใช้วิชาความรู้แบบบูรณาการ (integration) “The more you learn, the more you earn.” EC210 2/2552
37
1.4 ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) - ป่าทั้งป่า การศึกษาเศรษฐกิจของทั้งระบบ Example: การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ, เงินเฟ้อ, รายได้ของรัฐบาล, การว่างงานของประเทศ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) - ต้นไม้แต่ละต้น เป็นการศึกษาเศรษฐกิจของหน่วยย่อย Example: การตัดสินใจของผู้บริโภค, การจ้างงานในอุตสาหกรรมรถยนต์, ราคาข้าว, นโยบายราคาของบริษัท EC210 2/2552
38
ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์
Examples of microeconomic and macroeconomic concerns Production Prices Income Employment Microeconomics เศรษฐศาสตร์จุลภาค Production/Output in Individual Industries and Businesses How much steel How many offices How many cars Price of Individual Goods and Services Price of medical care Price of gasoline Food prices Apartment rents Distribution of Income and Wealth Wages in the auto industry Minimum wages Executive salaries Poverty Employment by Individual Businesses & Industries Jobs in the steel industry Number of employees in a firm Macroeconomics เศรษฐศาสตร์มหภาค National Production/Output Total Industrial Output Gross Domestic Product Growth of Output Aggregate Price Level Consumer prices Producer Prices Rate of Inflation National Income Total wages and salaries Total corporate profits Employment and Unemployment in the Economy Total number of jobs Unemployment rate EC210 2/2552
39
1.5 ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจในการจัดสรรทรัพยากร 1) ผลิตอะไร (What?) 2) ผลิตอย่างไร (How?) 3) ผลิตเพื่อใคร (For Whom?) EC210 2/2552
40
EC210 2/2552
41
ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ (Types of Economic System)
สังคมนิยม (Socialism or Command Economy ) แบบผสม (Mixed Economy) ทุนนิยม (Capitalism or Market Economy) EC210 2/2552
42
เกณฑ์ในการจำแนกชุดของกฎกติกา หรือ ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
1. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นของใคร? 2. การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเป็นของใคร? 3. การจัดสรรทรัพยากรและผลผลิตผ่านเครื่องมือใด? EC210 2/2552
43
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism)
ลักษณะที่สำคัญ: การมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยากร (ownership of resources) เสรีภาพในธุรกิจ (freedom of enterprise) ระบบราคา (price system) โดยที่กำไรเป็นเครื่องจูงใจ (profit motive) EC210 2/2552
44
ระบบทุนนิยม กับปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
1) ผลิตอะไร (What?) ผลิตสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคต้องการและมีความสามารถในการซื้อ 2) ผลิตอย่างไร (How?) ผลิตสินค้าและบริการโดยพยายามทำให้ต้นทุนในการผลิตต่ำสุด กำไรสูงสุด โดยการเลือกใช้ปัจจัยการผลิตและวิธีการผลิตต่างๆกัน Labor intensive VS Capital intensive 3) ผลิตเพื่อใคร (For Whom?) ผู้ที่มีอำนาจในการซื้อ (purchasing power) “มือใครยาว สาวได้สาวเอา” Example (ใกล้เคียง) : U.S.A., Canada, Japan EC210 2/2552
45
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism or Command Economy)
ลักษณะที่สำคัญ กรรมสิทธิ์ในทรัพยากรตกเป็นของส่วนกลางหรือส่วนรวม การตัดสินใจทางธุรกิจต่างๆ ถูกกำหนดโดยรัฐหรือส่วนกลาง กลไกราคาไม่มีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากร โดยแรงจูงใจคือเพื่อส่วนรวม เพื่อสังคมที่ดี EC210 2/2552
46
ระบบสังคมนิยม กับปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1) ผลิตอะไร (What?)
โดยทั่วไปรัฐบาลหรือส่วนกลางจะเป็นคนตัดสินว่าจะผลิตสินค้าและบริการอะไร 2) ผลิตอย่างไร (How?) ขึ้นอยู่กับรัฐบาลหรือส่วนกลาง 3) ผลิตเพื่อใคร (For Whom?) การจัดสรรสินค้าและบริการขึ้นอยู่กับรัฐบาลหรือส่วนกลาง Example (ใกล้เคียง): North Korea, Cuba EC210 2/2552
47
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
ระบบเศรษฐกิจส่วนใหญ่ในปัจจุบันเป็นแบบผสม Questions? ทำไมรัฐหรือส่วนกลางถึงเข้าแทรกแซง ทั้งๆ ที่ การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพนั้นสามารถทำได้โดยใช้กลไกราคา EC210 2/2552
48
กองกำลังป้องกันประเทศ
1) ผลิตอะไร (What?) กองกำลังป้องกันประเทศ เป็นไปได้ยากที่ตลาดสำหรับสินค้าเหล่านี้จะเกิดขึ้นโดยภาคเอกชน 2) ผลิตอย่างไร (How?) การใช้แรงงานเด็ก ปัญหามลภาวะและสิ่งแวดล้อม 3) ผลิตเพื่อใคร (For Whom?) คนจนและคนพิการ? EC210 2/2552
49
1.6 วิธีคิดของนักเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ของนักเศรษฐศาสตร์ สมมติฐาน (Hypothesis) – คำอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เป็นเหตุเป็นผล แต่เป็นคำอธิบายที่ยังมิได้มีการทดสอบความถูกต้องจนเป็นที่ยอมรับ ทฤษฎี (Theory) - คำอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เป็นเหตุเป็นผล เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปอย่างเป็นทางการ สมมติฐาน ทฤษฎี EC210 2/2552
50
Positive VS Normative Economics
Positive Economics (เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์) คือ เศรษฐศาสตร์ที่อธิบายปรากฎการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและรวบรวมได้ ตัวอย่าง จำนวนนศ. คณะวารสารศาสตร์ฯ มีมากที่สุดในห้องนี้ ถ้าราคาสินค้าลดลง ปริมาณความต้องการซื้อจะเพิ่มขึ้น ผู้บริโภค จะได้ผลกระทบจากการขึ้นภาษี EC210 2/2552
51
Positive VS Normative Economics
Normative Economics (เศรษฐศาสตร์นโยบาย) คือ เศรษฐศาสตร์ที่ใช้ความคิดเห็นส่วนตัว (Value Judgement) ประกอบการอธิบายปรากฎการณ์หรือเสนอแนะแนวทางต่างๆ ตัวอย่าง คนไทยควรบริโภคอาหารไทยเป็นหลัก ภาษีที่รัฐบาลขึ้นนั้นสูงเกินไป รัฐบาลควรปล่อยให้ราคาน้ำมันลอยตัวตามตลาดโลก EC210 2/2552
52
ตัวอย่างข่าว Positive or Normative
1. ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการชะลอตัวของการส่งออก โดยจะเห็นได้จากอัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกที่ลดลงถึงร้อยละ 15ในไตรมาสที่ 1 2. เนื่องจากการส่งออกยังมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลานานประเทศไทยจึงควรแก้ปัญหาโดยพึ่งการบริโภคในประเทศแทนการส่งออกพร้อมกับกีดกันสินค้านำเข้าที่เข้ามาแข่งขันกับสินค้าในประเทศ EC210 2/2552
53
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 1: แต่ละคนเผชิญภาวะ “ได้อย่าง-เสียอย่าง” (Tradeoffs) เสมอ “ There is no such thing as a free lunch” EC210 2/2552
54
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 2: ต้นทุนของสิ่งหนึ่งคือสิ่งที่คุณยอมเสียไปเพื่อให้ได้ของสิ่งนั้นมา “Opportunity Cost” EC210 2/2552
55
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 3: คนที่มีเหตุมีผลคิดแบบ “เพิ่มทีละหน่วย” (Margin) “Marginal Cost & Marginal Benefit” EC210 2/2552
56
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 4: คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ People make decisions by comparing cost and benefit…. …. When costs or benefits change, decision will change. EC210 2/2552
57
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 5: การค้าทำให้ทุกฝ่ายดีขึ้น Law of comparative Advantage – เราจะได้ผลประโยชน์สูงขึ้น ถ้าเราผลิตสินค้าที่เรามีต้นทุนต่ำที่สุดแล้วนำไปแลกเปลี่ยน EC210 2/2552
58
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 6: "ตลาด" เป็นเครื่องมือที่ดีในการจัดการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ “Invisible hand” leads market to “desirable outcomes” EC210 2/2552
59
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 7: รัฐบาลสามารถปรับปรุงความล้มเหลวของตลาดได้ Lack of competition Lack of information Externalities Public goods EC210 2/2552
60
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 8: มาตรฐานการครองชีพของประเทศขึ้นอยู่กับความสามารถในการผลิตสินค้าและบริการ More GDP, More Productivity lead to a better living standard. EC210 2/2552
61
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 9: ราคาสินค้าจะสูงขึ้นเมื่อรัฐบาลพิมพ์เงินมากเกินไป ราคาสินค้าสูงขึ้น ... ดี ?? ไม่ดี ?? ทำไม ต้องพิมพ์เงิน ??? EC210 2/2552
62
บัญญัติสิบประการของวิชาเศรษฐศาสตร์
บทบัญญัติที่ 10: ในระยะสั้น สังคมเผชิญภาวะ “ได้อย่าง-เสียอย่าง” ระหว่างเงินเฟ้อและอัตราการว่างงาน High Inflation <----> Low Unemployment Low Inflation <----> High Unemployment EC210 2/2552
63
มาทบทวนกันด้วยโจทย์แบบฝึนฝนดีกว่า
ปัญหาการมีอยู่อย่างจำกัด (scarcity) สามารถทำให้หมดไปได้ด้วยการค้นพบทรัพยากรใหม่ๆ... ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด? ______________________________________________________________________________________________ ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือ________________ เกิดขึ้นเมื่อ__________ ข้อเสนอแนะทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้น กำลังจะเกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้ว เรียกว่า_______ส่วนข้อเสนอแนะทางเศรษฐศาสตร์ที่มีความคิดเห็นส่วนตัวมาเกี่ยวข้อง เรียกว่า_______ EC210 2/2552
64
หนังสือดี: อัจฉริยะ เรียนสนุก
หนังสือดี: อัจฉริยะ เรียนสนุก EC210 2/2552
65
บทที่ 2 อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) และ การกำหนดราคา (Price Determination)
EC210 2/2552
66
Topics ความหมายของอุปสงค์ ตารางอุปสงค์ เส้นอุปสงค์ กฎของอุปสงค์
2.1 อุปสงค์ (Demand) ความหมายของอุปสงค์ ตารางอุปสงค์ เส้นอุปสงค์ กฎของอุปสงค์ ตัวกำหนดอุปสงค์ อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอซื้อ (Change in Quantity Demanded) และการเคลื่อนเส้นอุปสงค์ (Shift in Demand Curve) EC210 2/2552
67
ความหมายของอุปทาน ตารางอุปทาน เส้นอุปทาน กฎของอุปทาน ตัวกำหนดอุปทาน
2.2 อุปทาน (Supply) ความหมายของอุปทาน ตารางอุปทาน เส้นอุปทาน กฎของอุปทาน ตัวกำหนดอุปทาน อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานตลาด การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอขาย (Change in Quantity Supplied) และการเคลื่อนเส้นอุปทาน (Shift in Supply Curve) 2.3 การกำหนดราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาด ความหมายของดุลยภาพ การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพและกรณีศึกษาจากการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพในรูปแบบต่างๆ EC210 2/2552
68
Introduction ตลาด (Market)
ที่ๆ ผู้ซื้อ(ผู้บริโภค)และผู้ขาย(ผู้ผลิต)มาพบกันเพื่อทำการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ในทางเศรษฐศาสตร์ตลาดไม่ได้หมายถึงสถานที่เฉพาะเจาะจง ซุปเปอร์มารเก็ต, โรงอาหาร, ตลาดหลักทรัพย์, ตลาดการค้าขายเงินตราระหว่างประเทศ, e-commerce website EC210 2/2552
69
องค์ประกอบของตลาด ตลาด มีองค์ประกอบคือ 1)ผู้ซื้อ สะท้อนถึง Demand
2)ผู้ขาย สะท้อนถึงSupply ที่มี ความต้องการแลกเปลี่ยนสินค้า EC210 2/2552
70
Input Markets and Output Markets: The Circular Flow
Goods and services flow clockwise. Firms provide goods and services; households supply labor services. Payments (usually money) flow in the opposite direction (counterclockwise) as the flow of labor services, goods, and services. EC210 2/2552
71
ตารางจัดติว วิชา EC210 ภาคเรียนที่ 2/2552
ครั้งที่ วันที่ กลุ่ม เวลา ห้อง เนื้อหา 1 อ.17-พ.ย.-52 อ. ศันสนีย์ วจ. 206 บทที่ 1-2 2 อ.1-ธ.ค.-52 บทที่ 3 3 อ.15-ธ.ค.-52 บทที่ 4 + ทบทวน 4 อ.12-ม.ค.-52 บทที่ 5-6 5 อ.2-ก.พ.-52 บทที่ 7-8 6 อ.16-ก.พ.-52 บทที่ 9 7 อ.23-ก.พ.-52 ทบทวน ห้องติว ความจุ 140 ที่นั่ง (มีนักศึกษาลงทะเบียน 240 คน) ไม่มีการจองที่นั่งให้เพื่อน ไปก่อนได้ที่นั่งก่อน หากนักศึกษาคุยกันในห้อง พี่ติวเตอร์มีสิทธิ์ที่จะยุติการติวได้ทันที ชีทใช้ประกอบการติว สามารถซื้อได้ ที่ร้านถ่ายเอกสาร ใต้อาคารเดือนบุนนาค (ตึกที่จัดติว) EC210 2/2552
72
2.1 อุปสงค์ (Demand) EC210 2/2552
73
อุปสงค์ (DEMAND) want VS demand ความหมาย
จำนวนของสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคต้องการซื้อและมีความสามารถในการซื้อเพื่อบริโภค (able and willing to consume) ด้วยรายได้ที่ผู้บริโภคมีอยู่ ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าชนิดนั้น ในระยะเวลาที่กำหนด เราพูดถึง ปริมาณเสนอซื้อ ที่ต้องมี ความเต็มใจที่จะซื้อ (willingness to pay) ความสามารถในการซื้อ (ability to pay) want VS demand EC210 2/2552
74
ตัวอย่างการสร้างเส้น demand
Example: demand ในการชมภาพยนตร์ของนักศึกษา A (มีค่าขนม = 4000/เดือน) ราคาต่อเรื่อง (P) จำนวนครั้งในการชมต่อเดือน (Q) 200 160 120 80 40 1 2 3 4 5 EC210 2/2552
75
ราคาต่อเรื่อง (P) จำนวนครั้ง (Q) EC210 2/2552
76
Law of demand (กฎของอุปสงค์)
“ถ้าปัจจัยอื่นๆ คงที่ เมื่อราคาสินค้าลดลงปริมาณความต้องการเสนอซื้อ จะเพิ่มขึ้น” P Q ; P Q ลักษณะความสัมพันธ์แบบนี้ตรงกับที่นักศึกษาคาดคิดไว้ก่อนรึเปล่า? ทำไมเราถึงสามารถซื้อน้อยลง เมื่อราคาเพิ่มสูงขึ้น? EC210 2/2552
77
Question: ทำไมปริมาณเสนอซื้อถึงแปรผกผันกับราคา?
1. ผลทางรายได้ (Income effect): รายได้ที่แท้จริงมีอยู่เท่าเดิม แต่ราคาสูงขึ้น 2. ผลทางการทดแทน (Substitution effect): ราคาสินค้าสูงขึ้นในขณะที่ราคาสินค้าชนิดอื่นอยู่คงที่ ผู้ซื้อจึงรู้สึกว่าสินค้านี้แพงขึ้นและซื้อสินค้านี้น้อยลง “Relative Price” ตัวอย่าง... น้ำมันราคาแพงขึ้น เกิดผลต่อรายได้ที่แท้จริง และราคาเปรียบเทียบกับ LPG อย่างไร EC210 2/2552
78
อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual demand) และอุปสงค์ตลาด (Market demand)
ราคาของ Coke (บาท/ กระป๋อง) ปริมาณต้องการซื้อของ “นาย ก.” qนาย ก. ปริมาณต้องการซื้อของ “นางสาว ข.” qนางสาว ข. ปริมาณต้องการซื้อของตลาด qนาย ก.+ qนางสาว ข.=Qตลาด 1 10 12 22 2 9 19 3 8 16 4 7 6 13 5 EC210 2/2552
79
From Household Demand to Market Demand
Assuming there are only two households in the market, market demand is derived as follows: EC210 2/2552
80
จำนวนชั่วโมงการใช้ใน 1 เดือน
Exercise Market demand เท่ากับ.... ....ผลรวมของ individual demand ในแต่ละระดับราคาสินค้า ค่าโทร/นาที จำนวนชั่วโมงการใช้ใน 1 เดือน Mkt demand ก ข ค 5 4 3 2 1 2.5 6 9 8 11 16 10 12 15 20 30 EC210 2/2552
81
ปัจจัยกำหนด demand SIMPLE FUNCTION : QDx = f(Px) ... ราคา เป็นปัจจัยกำหนดปริมาณความต้องการซื้อสินค้า แต่จริงแล้ว ... ยังมีปัจจัยอื่นๆที่เป็นตัวกำหนดอีกมากมาย ได้แก่ รายได้ (Income) : สินค้าปกติ (+) สินค้าด้อย (-) ราคาสินค้าอื่นๆ (Py) : สินค้าใช้ประกอบกัน (-) สินค้าใช้ทดแทนกัน (+) รสนิยม (Taste) : (+) (-) จำนวนประชากร : (+) อื่นๆ : (+) (-) EC210 2/2552
82
สินค้าทดแทน สินค้าใช้ประกอบกัน คืออะไร
สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน คือ เช่น โทรศัพท์บ้าน กับ โทรศัพท์มือถือ / กล้องฟิล์ม กับ กล้องดิจิตอล อาหารอินเตอร์โซน กับ อาหารตลาดนัด สินค้าที่ใช้ประกอบกัน คือ เช่น กล้องฟิล์ม กับ ฟิล์มถ่ายรูป / แชมพู กับ ครีมนวดผม / มาม่า กับ พรานทะเลควิก EC210 2/2552
83
ลองวิเคราะห์ ประเด็นต่อไปนี้
เพราะเหตุใด ยอดขาย black berry ถึงพุ่งกระฉูด การจัดกลุ่มคนรักตุ๊กตาบลายซ์ มีผลต่ออุปสงค์ของตุ๊กตาหรือไม่ สิงคโปร์จะเปิด คาสิโน มีผลอย่างไรต่ออุปสงค์การท่องเที่ยวในสิงคโปร์ และในมาเลเซีย กระแสเครื่องสำอางในห้องโต๊ะเครื่องแป้ง (pantip.com) มีผลกับการซื้อสินค้าของสาวๆ อย่างไร ข่าวความไม่ลงรอยของ ไทย เขมร มีผลต่อร้านค้าบริเวณชายแดนไทยอย่างไร การเปิดเขตการค้าเสรี อาเซียน มีผลต่ออุปสงค์สินค้าส่งออกไทยอย่างไร EC210 2/2552
84
Change in quantity & change in curve
---- called “move along” การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (change in curve) ---- called “shift” EC210 2/2552
85
From C to B is called… From C to A is called… From A to C is called… P
Q D D* B A C EC210 2/2552
86
โดยสรุป To summarize: Change in price of a good or service leads to
Change in quantity demanded (Movement along the curve). Change in income, preferences, or prices of other goods or services leads to Change in demand (Shift of curve). EC210 2/2552
87
ตัวอย่างการ shift เส้น demand
Example: demand ในการชมภาพยนตร์ของนักศึกษา A (มีค่าขนม = 4000/เดือน กับค่าขนม = 8000 /เดือน) ราคาต่อเรื่อง (P) จำนวนครั้งในการชมต่อเดือน (Q) ค่าขนม 4000 บาท จำนวนครั้งในการชมต่อเดือน (Q) ค่าขนม 8000 บาท 200 160 120 80 40 1 2 3 4 5 8 9 EC210 2/2552
88
ผลต่อเส้นอุปสงค์ เมื่อปัจจัยรายได้เปลี่ยนแปลง
Higher income decreases the demand for an inferior good Demand Shift ซ้าย Higher income increases the demand for a normal good Demand Shift ขวา EC210 2/2552
89
ผลต่อเส้นอุปสงค์ เมื่อปัจจัยราคาสินค้าอื่น (ที่เกี่ยวข้อง)เปลี่ยนแปลง
Demand for complement good ( เช่น กระดาษห่อแฮมเบอร์เกอร์) shifts left Demand for substitute good (เช่น ไก่ KFC) shifts right Price of hamburger Mac rises Quantity of hamburger demanded per month falls EC210 2/2552
90
( Pน้ำอัดลม Qน้ำอัดลม Qน้ำผลไม้ )
ตัวอย่างการอธิบาย ราคาน้ำอัดลม เพิ่มขึ้น จะส่งผลต่อ demandน้ำผลไม้ อย่างไร? จงวาดรูปประกอบ ตอบ เนื่องจากน้ำอัดลมและน้ำผลไม้เป็นสินค้าทดแทนกัน ดังนั้นเมื่อ ราคาน้ำอัดลมเพิ่มขึ้น จะทำให้ ปริมาณการบริโภคน้ำอัดลมลดลง และหันไปบริโภคน้ำผลไม้มากขึ้น ( Pน้ำอัดลม Qน้ำอัดลม Qน้ำผลไม้ ) และการที่ ราคาน้ำอัดลมเพิ่มขึ้น จะส่งผลทำให้ เส้น demand shift ไปทางขวาดังรูป จาก D เป็น D* EC210 2/2552
91
ตัวอย่างการวิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์
ราคาสุราเพิ่มขึ้น demand สุรา ? นศ.ได้ค่าขนมเพิ่มขึ้น demand ดูหนัง? ราคาโค้กลดลง demand เป๊บซี่? รัฐฯ รณรงค์ห้ามโชว์บุหรี่ที่ร้านค้า demand บุหรี่ ? ราคาเนื้อหมูเพิ่มขึ้น demand ไก่? ราคาดินสอลดลง demand ปากกา? ราคาน้ำมันเพิ่มขึ้น demand รถยนต์? รายได้เพิ่มขึ้น demand การใช้รถเมล์? EC210 2/2552
92
2.2 อุปทาน (Supply) EC210 2/2552
93
อุปทาน (SUPPLY) ความหมาย
จำนวนของสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตมีความเต็มใจที่จะผลิตและสามารถนำออกขาย ณ. ระดับราคาต่างๆ ภายในระยะเวลาที่กำหนด LAW OF SUPPLY “ถ้าปัจจัยอื่นๆ คงที่ เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้น .... .... ปริมาณความต้องการขายจะเพิ่มขึ้น” EC210 2/2552
94
เพราะเหตุใดความสัมพันธ์จึงเป็นเช่นนั้น ?...
...เพราะ กำไร () เป็นตัวชี้นำ P Q P Q วาด Supply Curve? Individual & mkt supply curve? EC210 2/2552
95
อุปทานส่วนบุคคล (Individual supply)
ราคาของ Coke (บาท/ กระป๋อง ) ปริมาณต้องการขาย (Quantity supplied - กระป๋อง) 1 2 3 4 5 6 EC210 2/2552
96
EC210 2/2552
97
อุปทานส่วนบุคคล (Individual supply) และอุปทานของตลาด (Market supply)
ราคาของ Coke (บาท/ กระป๋อง) ปริมาณต้องการขายของ “บริษัท A” qA ปริมาณต้องการขายของ “บริษัท B” qB ปริมาณเสนอขายของตลาด qA + qB =Qตลาด 1 2 4 5 3 6 8 11 10 14 12 17 EC210 2/2552
98
From Individual Supply to Market Supply
As with market demand, market supply is the horizontal summation of individual firms’ supply curves. EC210 2/2552
99
ปัจจัยกำหนด supply ราคาสินค้า (P) และการคาดคะเนราคาในอนาคต
ราคาปัจจัยการผลิต (Input Price) ราคาของสินค้าอื่นที่ผู้ผลิตสามารถผลิตได้ เทคโนโลยีการผลิต (technology) จำนวนผู้ขาย สภาพแวดล้อม อื่นๆ EC210 2/2552
100
ลองวิเคราะห์ ประเด็นต่อไปนี้
ทำไม เมื่อมีการคาดการณ์ว่า ราคาทองคำจะขึ้น ทองคำจึงขาดตลาด เกิดอะไรขึ้น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อจีนตัดสินใจเข้ามาผลิตในตลาดโลก ...... EC210 2/2552
101
การเปลี่ยนแปลงเส้น supply
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (change in quantity) ---- called “move along” การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน (change in curve) ---- called “shift” EC210 2/2552
102
From C to B is called… From C to A is called… From A to C is called… P
Q S S* B A C EC210 2/2552
103
โดยสรุป To summarize: Change in price of a good or service leads to
Change in quantity supplied (Movement along the curve). Change in costs, input prices, technology, or prices of related goods and services leads to Change in supply (Shift of curve). EC210 2/2552
104
ข้อใดต่อไปนี้มีผลทำให้อุปทานของสินค้าและบริการลดลง ก
ข้อใดต่อไปนี้มีผลทำให้อุปทานของสินค้าและบริการลดลง ก. ราคาวัตถุดิบสูงขึ้น ข. รายได้ของผู้ซื้อสินค้าลดลง ค. รสนิยมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป ง. ค่าแรงงานถูกลง จ. ถูกทุกข้อ ตอบ ก. EC210 2/2552
105
2.3 การกำหนดราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาด
2.3 การกำหนดราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาด EC210 2/2552
106
ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium)
ดุลยภาพตลาด คือจุดที่ปริมาณเสนอซื้อ เท่ากับ ปริมาณเสนอขาย (D=S) ณ ดุลภาพจะเกิด ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) ปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity) Q:เกิดอะไรขึ้น ถ้า ราคาเปลี่ยนไปจากดุลยภาพ? EC210 2/2552
107
Case I : P > Pe (i.e. P=P1) Supply > Demand “Excess supply”
ของล้นตลาด คนขายต้องลดราคา Case II : P < Pe (i.e. P=P2) Demand > Supply “Excess demand” ของขาดตลาด คนแย่งกันซื้อ Q: เป็นไปได้หรือไม่ที่จะเกิด excess supply ทุกๆ ราคา? EC210 2/2552
108
Excess supply Price S Excess supply P1 E PE D QD QE QS Quantity
EC210 2/2552
109
Excess demand Price S E PE P2 Excess demand D QS QE QD Quantity
EC210 2/2552
110
ในภาวะที่ราคาซึ่งขายจริงอยู่ในตลาดอยู่. ระดับราคาดุลยภาพจะทำให้เกิด
ในภาวะที่ราคาซึ่งขายจริงอยู่ในตลาดอยู่ ระดับราคาดุลยภาพจะทำให้เกิด ในตลาด ยังผลให้ราคาสินค้าปรับตัว......และปริมาณการผลิต ก. สูงกว่า, อุปทานส่วนเกิน, เพิ่มขึ้น และ ลดลง ข. ต่ำกว่า , อุปทานส่วนเกิน, เพิ่มขึ้น และเพิ่มสูงขึ้น ค. สูงกว่า , อุปทานส่วนเกิน, ลดลง และ ลดต่ำลง ง. ต่ำกว่า , อุปสงค์ส่วนเกิน, ลดลง และเพิ่มสูงขึ้น ตอบ ค. EC210 2/2552
111
การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ
มี 3 ลักษณะ คือ Demand Shift อย่างเดียว Supply Shift อย่างเดียว Shift ทั้ง Demand & Supply โดยการวิเคราะห์จะใช้ วิธี Comparative Statics [เทียบการเปลี่ยนแปลงระหว่าง ดุลยภาพเก่า&ใหม่] “นศ.จะต้องดูดุลภาพเก่า&ใหม่ และผลต่อ P&Q ให้ได้” EC210 2/2552
112
Demand Shift อย่างเดียว
P Q D D* S Q1 P1 Q2 P2 E1 E2 EC210 2/2552
113
Supply Shift อย่างเดียว
Q D S S* Q1 P1 Q2 P2 E2 E1 EC210 2/2552
114
Shift ทั้ง Demand & Supply (i)
Q Q1 Q2 EC210 2/2552
115
Shift ทั้ง Demand & Supply (ii)
Q Q1 EC210 2/2552
116
Shift ทั้ง Demand & Supply (iii)
Q Q2 Q1 EC210 2/2552
117
Conclusion Demand คงที่ Demand Shift ขวา Demand Shift ซ้าย
Supply คงที่ P เพิ่มขึ้น Q เพิ่มขึ้น P ลดลง Q ลดลง Supply Shift ขวา P ไม่แน่นอน Q ไม่แน่นอน Supply Shift ซ้าย EC210 2/2552
118
นักศึกษาจะต้องหัดเขียน เพื่อให้เกิดความชำนาญ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ ดูว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกระทบ Demand/Supply ดูทิศทางการเกิด Shift เส้น (ซ้าย/ขวา) ใช้ D-S อธิบายผล นักศึกษาจะต้องหัดเขียน เพื่อให้เกิดความชำนาญ EC210 2/2552
119
ปีนี้ผลผลิตใบชาในประเทศลดลง เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศแห้งแล้ง เหตุการณ์นี้จะมีผลต่อราคาและปริมาณใบชาในประเทศอย่างไร ก. ราคาและปริมาณ ลดลง ข. ราคาและปริมาณ เพิ่มขึ้น ค. ราคาเพิ่มขึ้น ปริมาณลดลง ง. ราคาเท่าเดิม ปริมาณลดลง ตอบ ค. EC210 2/2552
120
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูกหรือผิด พร้อมทั้งให้เหตุผลอธิบาย
การเพิ่มราคาของปลาแซลมอน จะทำให้เส้นอุปสงค์ของปลาแซลมอนเคลื่อนที่ลดลงไปทางซ้าย (shift to the left) การที่เทคโนโลยีในการผลิตคอมพิวเตอร์พัฒนาขึ้น จะทำให้เส้นอุปทานของคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นไปทางขวา (shift to the right) หากราคาอยู่ที่ระดับต่ำกว่าราคาดุลยภาพ จะทำให้เกิดอุปทานส่วนเกิน (surplus) ส่งผลให้ราคาต้องปรับตัวลดลง EC210 2/2552
121
โจทย์ “ในภาวะที่ราคาน้ำมันถีบตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จงวิเคราะห์ผลกระทบดังกล่าว ต่อตลาดพลังงานทดแทน เช่น LPG ขั้นตอนการวิเคราะห์ ดูว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกระทบ Demand/Supply ....ตอบ.... ดูทิศทางการเกิด Shift เส้น (ซ้าย/ขวา) ....ตอบ.... ใช้ D-S อธิบายผล ... อธิบาย.... สิ่งที่ต้องระวัง.. เนื่องจากเราวิเคราะห์สองสินค้า เวลาเขียน อธิบายให้ชัดเจนด้วย EC210 2/2552
122
เดิม ดุลยภาพตลาดอยู่ที่ จุด E1 (ราคาดุลยภาพ = P1 ปริมาณดุลยภาพ = Q1)
เมือ่ราคาน้ำมันถึบตัวสูงขึ้น จะทำให้ความต้องการใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น (เนื่องจากเป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน) ดังนั้น เส้น demandในตลาดพลังงานทดแทนจะ shift ไปทางขวา ซึ่งสามารถวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงได้ดังรูปต่อไปนี้ เดิม ดุลยภาพตลาดอยู่ที่ จุด E1 (ราคาดุลยภาพ = P1 ปริมาณดุลยภาพ = Q1) หลังจากที่ราคาน้ำมันถึบตัวสูงขึ้น เส้น demand shift จาก D เป็น D* ทำให้ ณ ราคา P1 เกิด excess demand (ของขาดตลาด) เป็นแรงผลักดันให้ราคาเพิ่มขึ้น ดุลยภาพใหม่จะอยู่ที่ จุด E2 (ราคาดุลยภาพ = P2 ปริมาณดุลยภาพ =Q2) ผลของเหตุการณ์ทำให้ตลาดพลังงานทดแทน มีปริมาณดุลยภาพเพิ่มขึ้น Q1Q2 ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้น P1P2 P Q D D* S Q1 P1 Q2 P2 E1 E2 EC210 2/2552
123
จงวิเคราะห์เหตุการณ์ต่อไปนี้
ตลาดมีผู้ขายหน้าใหม่เข้ามาเป็นจำนวนมาก สถานการณ์วิกฤตเศรษฐกิจโลกทำให้กำลังซื้อของผู้บริโภคถดถอย ภาวะโลกร้อน ทำให้ ผลผลิตไม่ได้ตามที่คาดการณ์ไว้ EC210 2/2552
124
ทบทวนการเรียนต่อ (ประโยคต่อไปนี้ ถูกหรือผิด)
ถ้าราคาต่ำกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดของล้นตลาด จำนวนลูกค้า (ผู้บริโภค)ที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลทำให้ระดับราคาสินค้าในตลาดสูงขึ้น เศรษฐกิจตกต่ำ จะทำให้ Demand ของสินค้าอุปโภคบริโภค shift ซ้าย EC210 2/2552
125
การตัดสินใจของผู้ขาย
Demand ปัจจัยกำหนด (P, I , Py ..) ค่าความยืดหยุ่น ดุลยภาพ กลไกตลาด การตัดสินใจของผู้ขาย นโยบาย ของรัฐ Supply ปัจจัยกำหนด (P, IP ,tech ..) ค่าความยืดหยุ่น EC210 2/2552
126
บทที่ 3 ความยืดหยุ่น (Elasticity) และการประยุกต์ demand-supply
EC210 2/2552
127
Topics 3.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาและการประยุกต์ใช้
ความหมายของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา การคำนวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาภายในอุปสงค์หนึ่งเส้น การเปรียบเทียบและลักษณะของเส้นอุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นต่างๆ กัน ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคากับการเปลี่ยนแปลงรายรับรวม EC210 2/2552
128
Topics (continued) 3.2 ความยืดหยุ่นชนิดอื่นๆ และการประยุกต์ใช้ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ ความยืดหยุ่นอุปสงค์ไขว้ 3.3 ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ความหมายของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา การเปรียบเทียบและลักษณะของเส้นอุปทานที่มีค่าความยืดหยุ่นต่าง ๆ กัน ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา EC210 2/2552
129
Topics (continued) 3.4 การประยุกต์ใช้อุปสงค์และอุปทานอธิบายในการวิเคราะห์การแทรกแซงของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจบางประการ การกำหนดราคาขั้นสูง (Maximum Price) การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Minimum Price) การเก็บภาษี Sales Tax กับผู้ขาย EC210 2/2552
130
ค่าความยืดหยุ่น (Elasticity)
Question: เราต้องเรียนค่าความยืดหยุ่นทำไม? answer: ช่วยวิเคราะห์เพิ่มเติมในเรื่อง “ขนาด” (Magnitude) การเปลี่ยนแปลง ยืดหยุ่นเป็น “ค่าที่ใช้วัดความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม ต่อการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรต้น” เช่น QDx = f(Px, I, Py, ....) QSx = f(Px, IP... ) EC210 2/2552
131
ยกตัวอย่าง การศึกษา ความยืดหยุ่นต่อราคาของอุปสงค์ จะบอกให้เราทราบว่า
“เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป (เช่น ผู้ประกอบการตัดสินใจจะขึ้นราคาสินค้า 10% จาก นมกล่องละ 10 บาท เป็น 11 บาท) จะทำให้ ผู้ซื้อตัดสินใจ ซื้อสินค้าลดลง มากน้อยแค่ไหน (เช่น จากเดิม เคยซื้อ สัปดาห์ละ 5 กล่อง จะลดลง เหลือ กี่กล่อง หรือ ลดลง กี่เปอร์เซ็นต์) EC210 2/2552
132
หลักการคำนวณค่าความยืดหยุ่น
ค่าความยืดหยุ่น วัด % ตัวแปรตาม %y % ตัวแปรต้น %x ดังนั้น ค่า ความยืดหยุ่นจึงไม่มีหน่วย Ex =-1.5 =3 = = ... หมายเหตุ % ตัวแปร เช่น ค่าขนมของนักศึกษาเพิ่มขึ้น 10% (เพิ่มจาก 3000 เป็น ?? บาท) GDP มีอัตราการขยายตัว 4% (เดิม GDP = 4 แสนล้าน GDP ใหม่ =??) EC210 2/2552
133
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง %Y = Y2 – Y1
วิธีคิด ใช้หลักเทียบบรรยัดไตรยางค์ เช่น ค่าขนมของนักศึกษาเพิ่มขึ้น 10% (เพิ่มจาก 3000 เป็น ?? บาท) GDP มีอัตราการขยายตัว 4% (เดิม GDP = 4 แสนล้าน GDP ใหม่ =??) 10% ของ 3000 เท่ากับ 300 ดังนั้น ค่าขนมจะเพิ่มเป็น 3300 บาท 4% ของ ล้าน เท่ากับ ล้าน ดังนั้น GDP จะเพิ่มเป็น ล้านบาท หรือ 4.16 แสนล้านบาท EC210 2/2552
134
Question: โดยตัวของค่าความยืดหยุ่นบอกอะไร?
ทิศทางการเปลี่ยนแปลง (direction) .....ดูจากเครื่องหมาย บวก (+) ลบ (-) ขนาดการเปลี่ยนแปลง (magnitude) .....ดูจากค่าตัวเลข (ไม่ดูเครื่องหมาย) “ดูว่าเมื่อ x เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ y เปลี่ยนแปลงไปกี่ %” EC210 2/2552
135
ขนาดการเปลี่ยนแปลง (magnitude)
ความยืดหยุ่นมีค่ามากหรือน้อย EC210 2/2552
136
¤ ประเภท ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
อิทธิพลการเปลี่ยนแปลงของราคาที่มีผลต่ออุปสงค์ ความยืดหยุ่นต่อราคา (price elasticity) อิทธิพลการเปลี่ยนแปลงของรายได้ที่มีผลต่ออุปสงค์ ความยืดหยุ่นต่อรายได้ (income elasticity) อิทธิพลการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่มีผลต่ออุปสงค์ ความยืดหยุ่นไขว้ (cross price elasticity) EC210 2/2552
137
3.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา และการประยุกต์ใช้
P Q A B C EC210 2/2552
138
ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา (d)
ความหมาย และความสำคัญ เป็นตัวดัชนีชี้วัดที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้นๆ จะส่งผลทำให้ปริมาณเสนอซื้อสินค้าเปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเพียงใด สูตรการคำนวณ d = %Q %P บอกให้ทราบว่า หากราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณอุปสงค์เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร EC210 2/2552
139
การวัดความยืดหยุ่น (วิธีการคำนวณ)
การวัดความยืดหยุ่นแบบช่วง (arc elasticity) Ed = (Q1-Q2) (P1-P2) = (Q1-Q2) x (P1+P2) (Q1+Q2) (P1+P2) (Q1+Q2) (P1-P2) การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (point elasticity) Ed = Q/Q P/P = Q x P = ส่วนกลับ slope x P P Q Q P Q D 6 4 80 120 ลองช่วยคำนวณ ค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง เล่นๆ ดูสิ EC210 2/2552
140
เฉลย (Q1+Q2) (P1+P2) 2 2 = (Q1-Q2) x (P1+P2) (Q1+Q2) (P1-P2)
D 6 4 80 120 Ed = (Q1-Q2) (P1-P2) (Q1+Q2) (P1+P2) = (Q1-Q2) x (P1+P2) (Q1+Q2) (P1-P2) = x = 40 x = -1 x(-2) ค่าความยืดหยุ่นที่คำนวณได้ บอกให้เราทราบอะไรบ้าง.... ช่วยตีความกันหน่อย EC210 2/2552
141
Exercise:จงคำนวณค่าความยืดหยุ่นในช่วง AB และช่วง CD พร้อมตีความค่าที่ได้จากการคำนวณ
Price ค่าความยืดหยุ่นช่วง AB เท่ากับ -3 ค่าความยืดหยุ่นช่วง CD เท่ากับ -0.33 A 10 B 8 C 4 D 2 5 10 20 25 Quantity EC210 2/2552
142
ข้อสังเกต (กรณีเส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง) ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคาภายในเส้นอุปสงค์หนึ่งเส้นจะมีค่าเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ตามจุดต่างๆ บนเส้น ยิ่งใกล้จุดที่ปริมาณเท่ากับศูนย์ (Q→0) ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคาจะยืดหยุ่นจะมากขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งใกล้จุดที่ราคาเท่ากับศูนย์ (P→0) ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคาจะยืดหยุ่นน้อยลงเรื่อยๆ WHY !!! EC210 2/2552
143
** ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาภายในอุปสงค์หนึ่งเส้น
Q Price 4 8 2 Ep = -1 Ep = 0 EP = - Elastic Inelastic EC210 2/2552 76
144
การเปรียบเทียบและลักษณะของเส้นอุปสงค์ที่มีค่าความยืดหยุ่นต่างๆ กัน
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (point elasticity) Ed = Q/Q P/P = Q x P = ส่วนกลับ slope x P P Q Q เส้นอุปสงค์จะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามชนิดสินค้า (หรือระยะเวลา) ถึงแม้ว่าค่าความชัน (slope) กับค่าความยืดหยุ่น (elasticity) จะไม่ใช่สิ่งเดียวกัน แต่ค่าความชันก็ยังพอจะช่วยสามารถบอกอะไรบางอย่างเกี่ยวกับความยืดหยุ่น “ยิ่งชันมาก elasticity ยิ่งน้อย” ***การบอกค่าความยืดหยุ่นโดยดูจากลักษณะของเส้นอุปสงค์เป็นแต่การเปรียบเทียบเส้นอุปสงค์ชนิดต่างๆ ในภาพรวมเท่านั้น ไม่ใช่การเปรียบเทียบโดยละเอียด EC210 2/2552
145
|Ed|=0 (perfectly inelastic demand): ถึงแม้ว่าระดับราคาจะเพิ่มสูงขึ้น ปริมาณเสนอซื้อก็ยังคงที่
Price D ยกตัวอย่าง เช่น ยา สำหรับผู้ป่วย เช่น เบาหวาน เอดส์ ยาเสพติด สำหรับคนติดยา ฯลฯ P2 P1 Q1 Quantity EC210 2/2552
146
|Ed|<1 (inelastic demand):
Price Quantity D Q1 P1 P2 Q2 EC210 2/2552
147
|Ed|=1 (unitary elastic demand):
Price Quantity D Q1 P1 P2 Q2 EC210 2/2552
148
|Ed|>1 (elastic demand):
Price D Q1 P1 P2 Q2 Quantity EC210 2/2552
149
|Ed|= ∞ (perfectly elastic demand): ถ้าระดับราคาจะเพิ่มสูงขึ้นกว่า (P1) ปริมาณเสนอซื้อก็จะเป็น 0
Price ยกตัวอย่าง เช่น อุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญ ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (บทที่ 5) D P1 Quantity EC210 2/2552
150
Comparing Elasticity of Demand
Elasticity at point A Quantity Price D* จะมีความยืดหยุ่น ต่ำกว่า D เพราะ ราคาเปลี่ยนเท่ากัน แต่ ปริมาณเปลี่ยนน้อยกว่า หรือ ความชันมากกว่า ยิดหยุ่นน้อยกว่า A P1 P2 C B D D* Q1 Q2 Q3 EC210 2/2552 78
151
** ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1 ความคงทนถาวรของสินค้า สินค้าคงทนถาวร เป็นสินค้าที่มีความยืดหยุ่นสูง e.g., รถยนต์, บ้าน vs. กระดาษชำระ ** สินค้าคงทนถาวร คือ สินค้าที่มีอายุการใช้งานยาวนาน ลองนึกดูสิว่า .... หากราคาบ้าน เพิ่มขึ้น 10% demand จะลดลงมากไหม เมื่อเทียบกับ กระดาษชำระ ราคาเพิ่มขึ้น 10% EC210 2/2552
152
** ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
2 มีสินค้าทดแทน สินค้าที่มีสินค้าอื่นใช้ทดแทนได้ง่าย เป็นสินค้าที่มีความยืดหยุ่นสูง (high elasticity) e.g., เนื้อไก่ vs. ไฟฟ้า เนื้อไก่ กับไฟฟ้า อะไรหาสินค้าทดแทนได้ง่ายกว่ากัน ทำไม สินค้าที่หาสินค้าอื่น“ทดแทนได้ง่าย” จึงอ่อนไหวต่อราคามาก EC210 2/2552
153
** ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
3. ขอบเขตของตลาดที่เราวิเคราะห์ ขอบเขตตลาดยิ่งแคบ จะทำให้มีความยืดหยุ่นสูง e.g., กุ้งแช่แข็งพรานทะเล vs. กุ้งแช่แข็ง (ทุกยี่ห้อ) ถ้าราคากุ้งแช่แข็งพรานทะเล เพิ่มขึ้น 20% จะเกิดอะไรขึ้นกับ demand ของกุ้งแช่งแข็งพรานทะเล (ยอดขายพรานทะเลจะลดลงกี่เปอร์เซ็นต์) เทียบกับ ถ้าราคากุ้งแช่แข็งทุกยี่ห้อ เพิ่มขึ้น 20% จะเกิดอะไรขึ้นกับ demand ของกุ้งแช่งแข็ง (ยอดขายกุ้งแช่แข็งทั้งหมดจะลดลงกี่เปอร์เซ็นต์) EC210 2/2552
154
** ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
4 ความจำเป็นสำหรับผู้บริโภค สินค้าจำเป็น – ความยืดหยุ่นต่ำ สินค้าฟุ่มเฟือย - ความยืดหยุ่นสูง e.g., สินค้าอุปโภคบริโภค vs. การท่องเที่ยว 5 ราคาของสินค้า สินค้าที่มีสัดส่วนต่องบประมาณรายจ่ายของผู้ซื้อสูง เป็นสินค้าที่มีความยืดหยุ่นสูง e.g., เสื้อผ้าแบรนด์ดังลดราคา คนรวย vs. คนทั่วไป 6 ระยะเวลา อุปสงค์ในระยะยาวจะมีความยืดหยุ่นมากกว่าอุปสงค์ในระยะสั้น เนื่องจากว่าผู้ซื้อมีการปรับตัว EC210 2/2552
155
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคากับการเปลี่ยนแปลงรายรับรวม
รายรับรวม = ราคา x ปริมาณ Total Revenue = Price x Quantity ? Question ผู้ขายควรใช้กลยุทธ์ราคาอย่างไร เพื่อเป็นการเพิ่มรายรับ EC210 2/2552
156
Total Revenue หมายเหตุ รายรับรวมของผู้ผลิต ก็คือ รายจ่ายรวมของผู้บริโภคนั่นเอง Price Quantity P1 Q1 Demand Total Revenue = P1 x Q1 (พื้นที่สี่เหลี่ยมสีเขียวใต้เส้นอุปสงค์) EC210 2/2552
157
การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่นกับรายรับรวม แบ่งได้เป็น 2 กรณี
การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่นกับรายรับรวม แบ่งได้เป็น 2 กรณี A. |d| >1 B. |d| < 1 Question จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าเพิ่มราคา หรือลดราคา Question ผู้ขายควรใช้กลยุทธ์ราคาอย่างไร ในแต่ละกรณีเพื่อเป็นการเพิ่มรายรับ EC210 2/2552
158
A. |d| >1 (% ΔQ > % ΔP)
M i.e. สินค้าฟุ่มเฟือย 6 N 5 Q 8 16 EC210 2/2552
159
B. |d| < 1 (% ΔQ < % ΔP)
10 M i.e. สินค้าราคาต่ำ N 5 Demand Q 8 9 EC210 2/2552
160
ยืดหยุ่นมาก (Elastic) ยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) ยืดหยุ่นคงที่
ค่าความยืดหยุ่น ของอุปสงค์ต่อาคา ราคา ราคา ยืดหยุ่นมาก (Elastic) % ΔQ > % ΔP รายรับรวม (Q P ) รายรับรวม (Q P ) ยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) % ΔQ < % ΔP (Q P ) (Q P ) ยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic) % ΔQ = % ΔP รายรับรวม เท่าเดิม EC210 2/2552
161
ทบทวนการเรียนต่อ (ประโยคต่อไปนี้ ถูกหรือผิด)
ถ้าราคาต่ำกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดของล้นตลาด จำนวนลูกค้า (ผู้บริโภค)ที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลทำให้ระดับราคาสินค้าในตลาดสูงขึ้น เศรษฐกิจตกต่ำ จะทำให้ Demand ของสินค้าอุปโภคบริโภค shift ซ้าย หากค่าความยืดหยุ่นต่อราคาของสินค้าเท่ากับ -3 หมายความว่า ถ้าผู้ขายตัดสินใจขึ้นราคาสินค้า 10 บาท จะทำให้ยอดปริมาณความต้องการซื้อลดลง 30 ชิ้น ผู้ขายรายนี้ ควรตัดสินใจลดราคาสินค้า เพราะจะทำให้รายรับรวมมากขึ้น EC210 2/2552
162
3.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ชนิดอื่นๆ
EC210 2/2552
163
** ความยืดหยุ่นต่อรายได้ (i)
ความหมาย: เป็นตัวดัชนีชี้วัดผลการเปลี่ยนแปลงในปริมาณเสนอซื้อ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงรายได้ของผู้บริโภค สูตร i = %Q Q/Q %I I/I ค่า i บอกว่า.... เครื่องหมายบวก (+) ลบ (-) ค่าตัวเลข ขนาดการเปลี่ยนแปลง EC210 2/2552
164
ประเภทของสินค้า กับค่าความยืดหยุ่นต่อรายได้
Income Elasticity of Demand มีเครื่องหมายทั้งบวกและลบ สินค้าปกติ (Normal Goods) รายได้เพิ่ม ซื้อสินค้านั้นเพิ่ม สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) รายได้เพิ่ม ซื้อสินค้านั้นลดลง EC210 2/2552
165
สินค้าฟุ่มเฟือยกับสินค้าจำเป็น
กรณีที่สินค้าที่มี i > 0 (i เป็น +) ถ้า i > 1 สินค้าฟุ่มเฟือย (Luxurious Goods) ถ้า 0 < i < 1 สินค้าจำเป็น (Necessary Goods) EC210 2/2552
166
EC210 2/2552
167
ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา ความยืดหยุ่นต่อรายได้
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์การเดินทางในสถานการณ์และวัตถุประสงค์ของการเดินทางต่างๆ (ตัวอย่างงานศึกษาค่าความยืดหยุ่น) ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา ในชั่วโมงเร่งด่วน ความยืดหยุ่นต่อรายได้ การเดินทางที่จำเป็น (essential trips) เช่นเดินทางไปเรียน -0.16 0.70 การเดินทางเพิ่มเติม (ไม่จำเป็น) (optional trips) เช่นเดินทางไปช๊อปปิ้ง -0.43 1.53 sansanee limpong (ajarntik) ec382, 1/2552
168
** ค่าความยืดหยุ่นไขว้ (xy)
ความหมาย: เป็นตัวดัชนีชี้วัดผลการเปลี่ยนแปลงในปริมาณเสนอซื้อ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง สูตร xy = %Qx Qx/Qx %Py Py/Py เครื่องหมาย xy บอกอะไร ? บวก (+) ลบ (-) EC210 2/2552
169
ความสัมพันธ์ของสินค้า กับค่าความยืดหยุ่นไขว้
Cross Elasticity of Demand มี เครื่องหมายทั้งบวกและลบ กรณีสินค้าทดแทนกัน (เช่น แว่นตา กับ คอนแทกเลนส์) x และ y เป็นสินค้าทดแทนกัน(Substitute) Py เพิ่ม ซื้อสินค้า x แทน y (QDx เพิ่ม) กรณีสินค้าใช้คู่กัน (เช่น หมึกพิมพ์ กับ กระดาษพิมพ์) x และ y เป็นสินค้าใช้คู่กัน (Complementary) Py เพิ่ม ซื้อ y และ x ลดลง (QDx ลด) EC210 2/2552
170
คำถาม Cross Elasticity ของ AIS กับ DTAC เป็นบวกหรือลบ? Cross Elasticity ของ ธุรกิจท่องเที่ยว กับ ธุรกิจของที่ระลึก เป็นบวกหรือลบ? Exy = 0 แสดงว่า? EC210 2/2552
171
เครื่องหมายและการตีความค่าความยืดหยุ่น
ประเภทค่าความยืดหยุ่น เครื่องหมาย + เครื่องหมาย - ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา ๏ ค่าความยืดหยุ่นต่อรายได้ สินค้าปกติ 0 < สินค้าจำเป็น < 1 สินค้าฟุ่มเฟือย > 1 สินค้าด้อย ค่าความยืดหยุ่นไขว้ สินค้าใช้ทดแทนกัน สินค้าใช้ประกอบกัน ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา = -2 หมายความว่า หากราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้อุปสงค์(ความต้องการซื้อ) ลดลง 2% EC210 2/2552
172
3.3 ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
EC210 2/2552
173
ค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (s)
ความหมาย และความสำคัญ เป็นตัวดัชนีชี้วัดที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้นๆ จะส่งผลทำให้ปริมาณเสนอขายสินค้าเปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเพียงใด สูตรการคำนวณ (เหมือนวิธีการคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา) s = %Q %P เครื่องหมาย = ? ขนาด = ? EC210 2/2552
174
Comparing Elasticity of Supply
Quantity Price S B P2 C P1 A Elasticity at point A S* จะมีความยืดหยุ่น ต่ำกว่า S เพราะ ราคาเปลี่ยนเท่ากัน แต่ ปริมาณเปลี่ยนน้อยกว่า หรือ ความชันมากกว่า ยิดหยุ่นน้อยกว่า EC210 2/2552 78
175
Perfectly Elastic & Perfectly Inelastic Supply
Quantity Price Quantity Price Q* S EP = 0 EP = S P* EC210 2/2552 77
176
ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
“ขึ้นกับ ความยากง่าย และรวดเร็วที่ผู้ขายจะ เปลี่ยนแปลงปริมาณขาย” ความสามารถในการเพิ่มหรือลดกำลังการผลิต ถ้าจำนวนการการผลิตสามารถเพิ่มหรือลดได้ง่าย อุปทานของสินค้านั้นก็จะมีความยืดหยุ่นสูง e.g., หนังสือ, CD เพลง vs. บ้านพร้อมที่ดินแถวสีลม ระยะเวลา อุปทานในระยะยาวจะมีความยืดหยุ่นมากกว่าอุปทานในระยะสั้น เนื่องจากว่าผู้ผลิตมีการปรับตัว EC210 2/2552
177
3.4 การประยุกต์ใช้อุปสงค์อุปทาน อธิบายในการวิเคราะห์การแทรกแซง ของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจบางประการ
EC210 2/2552
178
รูปแบบการแทรกแซงของภาครัฐในทางเศรษฐกิจ
การกำหนดราคาขั้นสูง (Maximum Price or Price Ceiling) การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Minimum Price or Price Floor) การเก็บภาษี EC210 2/2552
179
ทำไมต้องมีการควบคุมราคา ?
เชื่อว่า..... ราคาดุลยภาพตลาด เป็นราคาที่ไม่ยุติธรรมสำหรับผู้ซื้อ หรือ บางกรณี สำหรับผู้ขาย - ราคาขั้นสูง ? A legal maximum on the price at which a good can be sold. - ราคาขั้นต่ำ ? A legal minimum on the price at which a good can be sold. ตัวอย่างการกำหนด และการควบคุมราคาสินค้า การควบคุมราคาสินค้าอุปโภค บริโภค(น้ำตาล,ข้าว,เนื้อหมู...) การรับประกันราคา / การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ ... EC210 2/2552
180
การควบคุมราคาขั้นสูง (Price Ceiling หรือ Maximum Price)
181
เป็นมาตรการเพื่อช่วยผู้ซื้อ เช่น ในช่วงสินค้าขาดแคลน
วัตถุประสงค์: ราคาดุลยภาพ (ราคาตลาด) สูงเกินไป รัฐบาลจึงเข้าควบคุมไม่ให้ขายในราคาสูงกว่าที่กำหนด เป็นมาตรการเพื่อช่วยผู้ซื้อ เช่น ในช่วงสินค้าขาดแคลน วิธีการ: กำหนดราคาขาย (Pc) ให้ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ (Pe) ถ้าขายเกินราคา Pc ถือว่าผิดกฎหมาย EC210 2/2552
182
การควบคุมราคาขั้นสูง (Ceiling Price)
S D Equilibrium price Pe Qe Pc Price ceiling Q1 Q2 Excess demand Quantity Quantity supplied Quantity demanded EC210 2/2552 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
183
ผลกระทบจากการกำหนดราคาขั้นสูง:
การกำหนดราคาขั้นสูงจะมีผลหรือมีประสิทธิภาพหรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถในการควบคุมตรวจสอบของรัฐบาล ผลกระทบจากการกำหนดราคาขั้นสูง: อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess demand or Shortage) ตลาดมืด (Black market) ต้นทุนในการหาซื้อสินค้า การผลิตสินค้าชนิดนั้นๆ อาจจะลดลงในอนาคต เช่น ลอตเตอรี่รัฐบาลราคาหน้าตั๋วใบละ 80 บาท ขายจริง ?? EC210 2/2552
184
การควบคุมราคาขั้นต่ำ
(Price Floor หรือ Minimum Price) EC210 2/2552
185
เป็นมาตรการช่วยผู้ขาย เช่น ประกันราคาข้าว, การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ
วัตถุประสงค์: ราคาดุลยภาพ (ราคาตลาด) ต่ำเกินไป รัฐบาลจึงเข้าแทรกแซงให้ราคาขายไม่ต่ำกว่าราคาขั้นต่ำที่กำหนด เป็นมาตรการช่วยผู้ขาย เช่น ประกันราคาข้าว, การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ วิธีการ: กำหนด ราคาขายขั้นต่ำ (Pf) ให้สูงกว่าราคาดุลยภาพ (Pe) ใช้มาตรการเสริมต่าง ๆ เพื่อรักษาระดับราคาให้อยู่ที่ Pf EC210 2/2552
186
การควบคุมราคาขั้นต่ำ (Floor Price)
Supply Demand Excess supply Pf Price floor Q1 Q2 Pe Equilibrium price Quantity Quantity demanded Quantity supplied EC210 2/2552 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
187
ผลกระทบจากการกำหนดราคาขั้นต่ำ: ที่ Pf เกิด Excess Supply
ถ้ารัฐบาลไม่มีมาตรการแทรกแซง ราคาจะกลับสู่ราคาดุลยภาพ มาตรการเสริม: 1) รัฐบาลรับซื้อผลผลิตส่วนเกิน (Excess supply) 2) ให้ผู้ผลิตขายให้หมดตามราคาตลาดแล้วมารับเงินอุดหนุนชดเชยส่วนต่างของราคาขายขั้นต่ำ กับราคาดุลยภาพตลาด เช่น การรับประกันลำไยอบแห้ง ปี เกิดอะไรขึ้น ?? EC210 2/2552
188
การเก็บภาษี EC210 2/2552
189
สรรพสามิตเตรียมปรับขึ้นภาษีบุหรี่เต็มเพดาน
กรมสรรพสามิต เตรียมปรับขึ้นอัตราภาษีบุหรี่ทุกชนิดทั้งไทยและต่างประเทศชนเพดานสูงสุด เพื่อช่วยรณรงค์ให้ประชาชนลด ,ละ ,เลิกสูบบุหรี่ ซึ่งส่งผลให้ราคาบุหรี่กรองทิพย์ขึ้นทันทีอีกซองละ10บาท โดยปัจจุบันพระราชบัญญัติยาสูบ กำหนดให้กรมสรรพสามิต จัดเก็บภาษียาสูบได้ ในอัตราสูงสุดไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาหน้าโรงงาน แต่ขณะนี้จัดเก็บอยู่ในอัตราร้อยละ 75 ยังเหลืออีกร้อยละ 5 ก็จะเต็มเพดานตามที่กฏหมายกำหนด กรมคงไม่ขอลดเป้าการจัดเก็บรายได้ลง แต่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บมากขึ้น เพื่อให้สามารถจัดเก็บภาษีได้ตามเป้า จำนวน แสนล้านบาท... EC210 2/2552
190
การเก็บภาษี แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
1.ภาษีตามสภาพ (ภาษีต่อหน่วย) (Specific Tax) …. เก็บเป็นมูลค่าคงที่ต่อหนึ่งหน่วยสินค้า 2.ภาษีตามราคา (Ad Valorem Tax) ….. เก็บเป็น %ของราคาสินค้า ASSUMPTION ศึกษาเฉพาะ ภาษีต่อหน่วย ที่เก็บกับผู้ขาย EC210 2/2552
191
ประเด็นการวิเคราะห์ผลของภาษี
ผลของการเก็บภาษีต่อเส้น supply การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ (ผลต่อ P&Q) ภาระภาษีของผู้ซื้อ / ของผู้ขาย รายได้ภาษีของรัฐ EC210 2/2552
192
ภาษีต่อหน่วย (Specific tax or Unit tax)
Price S2 S1 PT Tax Tax P1 Q1 Quantity EC210 2/2552
193
ภาระภาษีของผู้ซื้อ / ของผู้ขาย / รายได้ภาครัฐ
ภาระภาษีของผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) : ค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นจากการมีภาษี [เทียบ P ที่จ่ายก่อนมีภาษี VS P ที่จ่ายหลังมีภาษี] = (ราคาที่จ่ายหลังมีภาษี - ราคาที่จ่ายก่อนมีภาษี)ปริมาณซื้อขาย ภาระภาษีของผู้ผลิต (ผู้ขาย) : รายได้ที่ลดลงจากการมีภาษี [เทียบ P ที่ได้ก่อนมีภาษี VS P ที่ได้หลังมีภาษี] =(ราคาที่ได้ก่อนมีภาษี-ราคาที่ได้หลังมีภาษี)ปริมาณซื้อขาย รายได้ภาษีของรัฐ : ภาษีรวมที่เก็บได้ = ภาระภาษีผู้บริโภค + ภาระภาษีผู้ผลิต = (ภาษีต่อหน่วย)ปริมาณซื้อขาย EC210 2/2552
194
การเก็บภาษีต่อหน่วยจากผู้ขาย
Price Demand, D1 A tax on sellers shifts the supply curve upward by the amount of the tax Price buyers pay S2 E1 S1 P1 Q1 Tax B Price without tax P0 Q0 E0 P2 A Price sellers receive Quantity EC210 2/2552
195
ประเด็นที่ต้องวิเคราะห์
ภาระภาษีของผู้ซื้อ (ต่อหน่วย) = มูลค่า = ภาระภาษีของผู้ขาย (ต่อหน่วย) = รายได้ของรัฐ (ต่อหน่วย) = EC210 2/2552
196
ผลของการเก็บภาษีกับค่าความยืดหยุ่น
(ดูปัจจัยกำหนดภาระภาษี.....ใครรับภาระมากน้อย) พิจารณา d ที่ต่างกัน พิจารณา s ที่ต่างกัน “ผู้ที่มีค่าความยืดหยุ่นต่างราคา ยิ่งสูง จะผลักภาระไปให้ฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่า” EC210 2/2552
197
Case I Elastic Supply, Inelastic Demand
Price S* Demand P1 E* S ภาระภาษี ผู้ซื้อ Tax P E P2 Quantity Q* Q ผู้ขาย สามารถผลักภาระไปได้มากกว่า เพราะอะไร ?? EC210 2/2552
198
Case II Inelastic Supply, Elastic Demand
Price S* Demand Price buyers pay S Price without tax ภาระภาษี ผู้ขาย Tax Price sellers receive Quantity ผู้ซื้อ สามารถผลักภาระไปได้มากกว่า เพราะอะไร ?? EC210 2/2552
199
การผลักภาระภาษีของผู้ซื้อ / ของผู้ขาย
Case I Elastic Supply, Inelastic Demand ผู้ซื้อ รับภาระภาษีมากกว่า สินค้าที่ demand มีค่าความยืดหยุ่นต่ำ เช่น สินค้าจำเป็น ข้อสังเกต เวลาสินค้าเหล่านี้ ถูกเรียกเก็บภาษี ราคาสินค้าจะปรับเปลี่ยนอย่างไร Case II Inelastic Supply, Elastic Demand ผู้ขาย รับภาระภาษีมากกว่า สินค้าที่ demand มีค่าความยืดหยุ่นสูง เช่น สินค้าราคาสูง ข้อสังเกต เวลาสินค้าเหล่านี้ ถูกเรียกเก็บภาษี ราคาสินค้าจะปรับเปลี่ยนไหม EC210 2/2552
200
Question กรณีใดที่ ผู้ขาย สามารถผลัก ภาระภาษีให้ ผู้ซื้อ ได้ ทั้งหมด?
กรณีใดที่ ผู้ซื้อ สามารถผลักภาษีให้ ผู้ขาย ได้ทั้งหมด ? Perfectly inelastic demand // Perfectly elastic supply Perfectly elastic demand // Perfectly inelastic supply EC210 2/2552
201
อุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ - ภาระภาษีจะตกอยู่กับผู้ซื้อทั้งหมด
Price Quantity S1 D E1 PE QE1 PB S2 E2 Perfectly inelastic demand PS = Tax EC210 2/2552
202
Perfectly elastic demand
อุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับ Infinite - ภาระภาษีจะตกอยู่กับผู้ขายทั้งหมด Price Quantity S1 E1 PE QE1 PS QE2 S2 E2 D Perfectly elastic demand PB = Tax EC210 2/2552
203
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูกหรือผิด พร้อมทั้งให้เหตุผลอธิบาย
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา คือ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคา หารด้วย เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ หากผู้ขายพบว่า ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาของสินค้าที่เขาขายมีค่าเท่ากับ -2, /Ed/ = 2, เขาควรจะขึ้นราคาสินค้า เพราะทำให้รายรับรวม (total revenue) เพิ่มสูงขึ้น ถ้า น.ส.ปลายฝนซื้อบะหมี่สำเร็จรูปเพิ่มขึ้น เมื่อรายได้ลดลง แสดงว่า “บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเป็น สินค้าด้อย สำหรับน.ส. ปลายฝน ถ้าค่าความยืดหยุ่นไขว้ของอุปสงค์ (cross-price elasticity of demand) มีค่าเท่ากับ -2.2 แสดงว่า สินค้าทั้งสองชนิดนั้นเป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกันในการบริโภค (complement good) EC210 2/2552
204
พูดคุยก่อนเรียน ประเด็นคำถามจากกระทู้
ราคาน้ำมันที่ลดลง VS สภาพเศรษฐกิจ วิเคราะห์ สาเหตุ และผลกระทบ สองทาง ราคาน้ำมันที่ลดลงมีสาเหตุมาจากอะไร ราคาน้ำมันที่ลดลง จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกอย่างไรบ้าง บทความใหม่ กรณีศึกษา “ขายราคาถูกใช่ว่าจะดีเสมอไป” EC210 2/2552
205
บทที่ 4 การผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 4 การผลิตและต้นทุนการผลิต EC210 2/2552
206
Topics 4.1 การผลิต ความหมายของการผลิต หน่วยผลิตและอุตสาหกรรม
เป้าหมายของหน่วยผลิต การผลิตระยะสั้นกับกฎแห่งการลดน้อยถอยลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns) การผลิตระยะยาว EC210 2/2552
207
ความหมายและความแตกต่างระหว่างต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี
4.2 ต้นทุนการผลิต ความหมายและความแตกต่างระหว่างต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) และต้นทุนแฝง (Implicit Cost) ต้นทุนระยะสั้น ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) และต้นทุนแปรผัน (Variable Cost) ต้นทุนรวมเฉลี่ย (Total Average Cost) และต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost) ต้นทุนระยะยาว การประหยัดจากขนาด (Economies of scale) และการไม่ประหยัดจากขนาด (Diseconomies of scale) 4.3 กำไร: กำไรทางบัญชี และกำไรทางเศรษฐศาสตร์ EC210 2/2552
208
ความหมายของการผลิต หน่วยผลิตและอุตสาหกรรม และ เป้าหมายของหน่วยผลิต
EC210 2/2552
209
หน่วยผลิต(Firms) :ความหมาย ประเภท
ผู้ที่ทำหน้าที่ในการตัดสินใจนำปัจจัยการผลิต มาผลิตเป็นสินค้าและบริการ เพื่อขาย คำที่มักถูกนำมาใช้ Producer (ผู้ผลิต), Seller (ผู้ขาย), Supplier (ผู้เสนอขาย) ประเภทของหน่วยผลิต 1.หน่วยผลิตส่วนบุคคล 2.ห้างหุ้นส่วน 3.บริษัท “cover every company from smallest to highest” EC210 2/2552
210
www.dbd.go.th กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กท.พาณิชย์
EC210 2/2552
211
หน่วยผลิต(Firms):จุดมุ่งหมาย
เป้าหมายของหน่วยผลิต *๏ Profit Maximization ๏ Sales Maximization ๏ Staff Maximization ๏ Growth Maximization etc. กำไร = รายรับรวม – ต้นทุนรวม Profit = Total revenue – Total costs EC210 2/2552
212
ต้นทุน และกำไร ทางบัญชี vs ทางเศรษฐศาสตร์
EC210 2/2552
213
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = Opportunity cost= ??
แนวคิดของต้นทุน ต้นทุนชัดแจ้ง ( Explicit cost) คือสิ่งที่หน่วยผลิตจ่ายให้ผู้อื่น เพื่อเป็นค่าตอบแทนแก่ผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า ค่าวัตถุดิบ ต้นทุนแอบแฝง (Implicit cost) คือ ค่าเสียโอกาสของการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ ที่ไม่ได้มีการจ่ายเป็นตัวเงิน เช่น ค่าจ้างของเจ้าของกิจการ ค่าที่ดินของตนเองที่เอามาตั้งร้าน ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ คำนึงถึงต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = Opportunity cost= ?? EC210 2/2552
214
กำไรและต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
กำไร = รายรับ-ต้นทุน …กำไรทางบัญชี = รายรับ-ต้นทุนที่เป็นตัวเงิน(Explicit Cost) …กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = รายรับ-ต้นทุนค่าเสียโอกาส = รายรับ-Explicit Cost-Implicit Cost Q กำไรทางเศรษฐศาสตร์ ควร สูงหรือต่ำกว่า กำไรทางบัญชี ? EC210 2/2552
215
Economic versus Accountants
How an Economist How an Accountant Views a Firm Views a Firm Revenue Economic profit Accounting profit Revenue Implicit costs Total opportunity costs Explicit costs Explicit costs EC210 2/2552 Copyright © South-Western
216
ตัวอย่าง... เปิดร้านอินเตอร์เน็ตเล็กๆแถวบ้าน (คอมพิวเตอร์ 10 เครื่อง)
ตัวอย่าง... เปิดร้านอินเตอร์เน็ตเล็กๆแถวบ้าน (คอมพิวเตอร์ 10 เครื่อง) เงินลงทุน (พ่อแม่ออกให้) ,000 บาท (ค่าลิขสิทธิ์โปรแกรมต่างๆ ค่าคอมพิวเตอร์ ค่าตกแต่งร้าน) ค่าเช่าร้าน เอาที่ชั้นล่างของบ้านปรับเป็นร้าน ค่าแรงงาน อยู่ดูแลร้านเอง ค่าน้ำประปา และไฟฟ้า ,000 บาท ค่า Internet (high speed internet) ,000 บาท ค่าซ่อมบำรุง และค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ,000 บาท ต้องได้รายได้ต่อเดือนเท่าใด ถึงจะมีกำไร??? EC210 2/2552
217
วิเคราะห์การตัดสินใจโดยใช้แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
ค่าใช้จ่ายตัวใดเป็น implicit cost, explicit cost ถ้าร้านมีรายได้ เท่ากับ บาทต่อเดือน ร้านนี้มีกำไรหรือไม่? รายได้ขั้นต่ำที่ควรจะได้จากการเปิดร้านควรเป็นเท่าใด? ถ้าหาก.... ดอกเบี้ย เท่ากับร้อยละ 1 ต่อเดือน หน้าร้านสามารถให้คนอื่นเช่าได้ในอัตรา 8000 บาทต่อเดือน ตัวเราเองมีต้นทุนค่าเสียโอกาสของตัวเอง เท่ากับ บาท EC210 2/2552
218
ตัวอย่าง... เปิดร้านอินเตอร์เน็ตเล็กๆแถวบ้าน (คอมพิวเตอร์ 10 เครื่อง)
ตัวอย่าง... เปิดร้านอินเตอร์เน็ตเล็กๆแถวบ้าน (คอมพิวเตอร์ 10 เครื่อง) ดอกเบี้ยจากเงินลงทุน ,000 บาท ค่าเช่าร้าน ,000 บาท ค่าแรงงาน ,000 บาท ค่าน้ำประปา และไฟฟ้า ,000 บาท ค่า Internet (high speed internet) ,000 บาท ค่าซ่อมบำรุง และค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ,000 บาท ต้องได้รายได้ต่อเดือน ,000 บาท (คิดเล่นๆ... มีคอมพิวเตอร์สิบเครื่อง ต้องได้รายได้ต่อเครื่องต่อวันเท่าใด) EC210 2/2552
219
กำไรและต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
If economic profits > 0 called “excess profit” If economic profits = 0 called “normal profit” “Normal profit”(กำไรปกติ) … คือ รายได้ต่ำสุดที่จะทำให้ผู้ผลิตคุ้มที่จะดำเนินการต่อไป What happen when economic profit < 0 But Accounting profit > 0 ??? Q EC210 2/2552
220
แนวคิดต้นทุนทางสังคม (Social Cost)
ตัวอย่างกรณี โรงงานผลิตสินค้าปล่อยน้ำเสียสู่แม่น้ำ ต้นทุนส่วนตัว (Private Cost) ต้นทุนที่หน่วยผลิตเป็นผู้รับภาระโดยตรง ได้แก่ ต้นทุนการผลิตต่างๆ (ค่าจ้าง, ค่าวัตถุดิบ) ต้นทุนทางสังคม (Social Cost) = ต้นทุนเอกชน + ต้นทุนจากผลกระทบภายนอก ต้นทุนจากผลกระทบภายนอก ได้แก่ น้ำเสียจากโรงงาน เป็นต้นทุนที่นักเศรษฐศาสตรคำนึงถึง แต่เอกชนไม่นำมาคิด EC210 2/2552
221
ทฤษฎีการผลิต - การผลิตระยะสั้น vs การผลิตระยะยาว
Law of Diminishing Returns Return to scale EC210 2/2552
222
Total Product = f(a1,a2,……)
ทฤษฎีการผลิต การผลิต : การนำเอาปัจจัยต่างๆมาแปลงเป็นสินค้า ฟังก์ชันการผลิต(Production Function) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตที่ได้กับปัจจัยการผลิตภายใต้ technology ระดับหนึ่ง INPUTS OUTPUT Total Product = f(a1,a2,……) Q =f(labor ,capital ,raw material ,energy…) EC210 2/2552
223
ลักษณะของปัจจัยการผลิต
ปัจจัยการผลิตแปรผัน (variable factors): ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนจำนวนได้ตลอดเวลา ปัจจัยการผลิตคงที่ (fixed factors) : ปัจจัยที่มีปริมาณคงที่ “ไม่แปรผัน” ตามปริมาณผลผลิต ASSUMPTION ปัจจัยการผลิตมีสองตัว คือ Capital: ปัจจัยทุน (K) Labor: ปัจจัยแรงงาน (L) EC210 2/2552
224
การผลิตในระยะสั้น และระยะยาว
การผลิตในระยะสั้น Q =f(L,K) ระยะการผลิตที่หน่วยผลิตมีปัจจัยการผลิตบางอย่างที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ (called “fixed factor”) การผลิตในระยะยาว Q =f(L,K) ระยะการผลิตที่หน่วยผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตได้ทุกชนิด (ทุกชนิดเป็น “variable factor”) EC210 2/2552
225
ทฤษฎีการผลิตในระยะสั้น
พยายามอธิบายความสัมพันธ์ของผลผลิต และปัจจัยการผลิตที่แปรผันโดยปัจจัยการผลิตอื่นๆคงที่ ศัพท์ที่ควรทำความเข้าใจ TOTAL PRODUCT(TP) = Q =f(L,K) ผลผลิตรวม AVERAGE PRODUCT(AP) = ผลผลิตเฉลี่ยต่อหน่วย MARGINAL PRODUCT(MP) = ผลผลิตส่วนเพิ่ม TP L ∆TP ∆L ประเด็นสำคัญ เมื่อเราทราบ TP….How to find AP , MP EC210 2/2552
226
เรารู้เรื่องการผลิตแต่ละแนวคิดเพื่ออะไร??
ผลผลิตเฉลี่ย พิจารณา ผลผลิตต่อหนึ่งหน่วยปัจจัยการผลิต เพื่อคาดคะเนว่า จะต้องใช้ปัจจัยการผลิต (เช่น แรงงาน) แค่ไหน ในการวางแผนการผลิต เช่น เดิมเคยมีการผลิต 2000 ชิ้น ต่อมามี order พิเศษเข้ามา อีก 500 ชิ้น จะตัดสินใจจ้างแรงงานอีกกี่คน หรือว่า ทำโอทีดี ผลผลิตส่วนเพิ่ม พิจารณาผลผลิตที่หน่วยปัจจัยการผลิตที่เพิ่มเติมเข้ามาสามารถผลิตได้ เพื่อทราบว่าการจ้างแรงงาน (หรือปัจจัยการผลิต) ที่เข้ามาเพิ่ม จะคุ้มค่าต่อการจ้างหรือไม่ เช่น เดิมมีคนงานอยู่แล้ว 10 คน กำลังตัดสินใจว่าจะจ้างคนที่ 11 เพิ่มเข้ามาดีหรือไม่ EC210 2/2552
227
ตัวอย่าง การผลิตในระยะสั้น
K L TP AP MP 5 1 3 2 8 12 4 14 6 ☺Find AP and MP ? ☺ เขียนกราฟได้ยังไง? EC210 2/2552
228
ฟังก์ชันการผลิตในระยะสั้น
L K TP AP MP 1 2 3 4 5 6 3 8 12 14 - 3 4 3.5 2.8 2 5 3 5 5 4 2 - 2 EC210 2/2552
229
ลักษณะของผลผลิตชนิดต่างๆ
ผลผลิตรวม (TP) ช่วงแรกๆของการใช้ปัจจัยแปรผัน TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น แต่ต่อมาจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง และเมื่อเพิ่มขึ้นสูงสุดแล้ว หากเพิ่มปัจจัยฯเข้าไปอีก TP จะลดลง WHY ?? ผลผลิตเฉลี่ย (AP) ช่วงแรกๆ AP จะเพิ่มขึ้น แต่ช่วงหลังๆ AP จะลดลงเรื่อยๆ ผลผลิตส่วนเพิ่ม (MP) ช่วงแรกๆ MP จะเพิ่มขึ้น แต่ช่วงหลังๆ MP จะลดลงเรื่อยๆ EC210 2/2552
230
เส้นผลผลิตชนิดต่างๆ C D ผลผลิต B TP A AP L L0 L1 L2 MP EC210 2/2552
231
กฎแห่งการลดน้อยถอยลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns)
เมื่อเพิ่มปัจจัยแปรผันชนิดหนึ่ง ขึ้นเรื่อยๆ โดยที่ปัจจัยชนิดอื่นยังคงที่ ผลผลิตที่ได้จากปัจจัยแปรผันหน่วยหลังๆ จะค่อยๆ ลดน้อยถอยลงตามลำดับ จนกระทั่งเท่ากับศูนย์ และ ติดลบในที่สุด หรือ กฎแห่งการลดน้อยถอยลงของผลผลิตส่วนเพิ่ม (Law of diminishing marginal product) EC210 2/2552
232
ทฤษฎีการผลิตในระยะยาว
พยายามอธิบายความสัมพันธ์ของผลผลิต และปัจจัยการผลิตทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลง ในการผลิตระยะยาว ปัจจัยทุกตัวจะกลายเป็นปัจจัยแปรผัน (ไม่มีปัจจัยคงที่) สิ่งที่ควรรู้ : ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง “ปัจจัยการผลิต” ต่อ “ผลผลิต” ทฤษฎีสำหรับ คือ “ผลได้ต่อขนาด” (Return To scale) EC210 2/2552
233
ผลได้ต่อขนาด (Return to Scale)
1) ผลได้ต่อขนาดที่เพิ่มขึ้น (Increasing Return to Scale) เมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิต (ทุกตัว) เข้าไป 1 เท่าตัว ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 1 เท่าตัว 2) ผลได้ต่อขนาดคงที่ (Constant Return to Scale) เมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิต (ทุกตัว) เข้าไป 1 เท่าตัว ผลผลิตจะเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว 3) ผลได้ต่อขนาดที่ลดลง (Decreasing Return to Scale) เมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิต (ทุกตัว) เข้าไป 1 เท่าตัว ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า EC210 2/2552
234
ยกตัวอย่าง หากมีปัจจัยการผลิต เพียง 2 ชนิด คือ แรงงาน 10 คน กับ เครื่องจักร 5 เครื่อง สามารถผลิตสินค้าได้ 50 ชิ้น ผู้ผลิตตัดสินใจขยายการผลิต โดยเพิ่มแรงงานเป็น 20 คน เครื่องจักรเป็น 10 เครื่อง สามารถผลิตสินค้าได้ 120 ชิ้น การผลิตดังกล่าว เป็นการผลิตระยะสั้น หรือระยะยาว ?? การขยายการผลิตดังกล่าว ผู้ผลิตเผชิญกับผลได้ต่อขนาดรูปแบบใด EC210 2/2552
235
ต้นทุนการผลิตระยะสั้น
…. ต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผัน .... ต้นทุนรวมเฉลี่ย และต้นทุนส่วนเพิ่ม EC210 2/2552
236
ต้นทุนการผลิตระยะสั้น
การผลิต มี ปัจจัยคงที่ ต้นทุน มี ต้นทุนคงที่ ปัจจัยแปรผัน ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนคงที่ คือ ต้นทุนที่ไม่แปรผันตามปริมาณการผลิต ต้นทุนแปรผัน คือ ต้นทุนที่แปรผันตามปริมาณการผลิต กรณีร้านขายข้าวหน้าเป็ด ต้นทุนแต่ละตัวเป็นต้นทุนประเภทใด ค่าเช่าร้าน ค่าเป็ดย่าง ค่าพ่อครัว ค่าแก๊สหุงต้ม ค่าพนักงานเสริฟ etc. EC210 2/2552
237
กรณีธุรกิจอพาร์ตเม้นต์ (ขนาด 100 ห้อง)
ปริมาณการผลิตในที่นี้ คืออะไร (100 ห้อง / หรือห้องที่มีคนเช่า) ต้นทุนต่อไปนี้ เป็นต้นทุนลักษณะใด SET UP COST >>> ตีมูลค่าเพื่อคิดต้นทุนด้วยค่าเสียโอกาสของเงินที่ลงทุน ค่าที่ดิน 200 ตารางวา /ค่าก่อสร้าง 20 ล้านบาท ค่าระบบการจัดการต่างๆ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์, ระบบกล้องวงจรปิด OPERATING COST ค่าพนักงาน (ยาม, แม่บ้าน, ผู้จัดการ...) ค่าบริหารจัดการ (ทำบัญชี จัดทำรายงานต่างๆ) ค่าน้ำค่าไฟ EC210 2/2552
238
ศัพท์ที่ควรรู้... Total Average Marginal
Total Cost (T C) ต้นทุนรวม ประกอบด้วย Total Variable Cost (TVC) ต้นทุนแปรผันรวม Total Fixed Cost (TFC) ต้นทุนคงที่รวม Average Total Cost (ATC) ต้นทุนรวมเฉลี่ย Average Variable Cost (AVC) ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย Average Fixed Cost (AFC) ต้นทุนคงที่เฉลี่ย Marginal Cost (MC) ต้นทุนส่วนเพิ่ม EC210 2/2552
239
สูตรการคำนวณ EC210 2/2552
240
A Firm’s Short Run Costs
EC210 2/2552
241
เรารู้เรื่องต้นทุนไปเพื่ออะไร (รู้ไว้ใช่ว่า)
ตัดสินใจเลือกธุรกิจ (ธุรกิจแต่ละอย่างมีโครงสร้างต้นทุนแตกต่างกัน) ทราบปริมาณขายเบื้องต้นที่จะต้องขาย (จำนวนขายขั้นต่ำที่ไม่ทำให้ขาดทุน) เรียกว่า แนวคิดของ Break even point (จุดคุ้มทุน) กำหนดราคาขายเพื่อทำให้ได้กำไรสูงสุด (พิจารณาจากต้นทุนส่วนเพิ่ม) EC210 2/2552
242
จุดคุ้มทุน: N* เป็นปริมาณที่จุดผลิตคุ้มทุนพอดี
รายได้ และต้นทุน (บาท) N* ปริมาณการผลิต (หน่วย ) กำไร จุดคุ้มทุน B C รายได้ ต้นทุนรวม ขาดทุน ต้นทุนคงที่ จุดคุ้มทุน (Breakeven Analysis) คือจุดที่รายได้กับรายจ่ายเท่ากัน นั่นคือ กำไรเป็นศูนย์นั่นเอง EC210 2/2552
243
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูกหรือผิด พร้อมอธิบาย
โดยทั่วไป ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ จะสูงกว่าต้นทุนทางบัญชี ถูก ผิด ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) จะลดลงเมื่อปริมาณผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed cost) จะลดลงเมื่อปริมาณผลผลิตเพิ่มมากขึ้น EC210 2/2552
244
- ปีที่ผ่านมาร้านกาแฟตื่น มีผลผลิตกาแฟรวมทั้งร้านเท่ากับ 15 ถุงต่อวัน โดยทางร้านมีเครื่องจักร 2 เครื่อง และจ้างแรงงาน 3 คน - ต่อมาหญิงแม้นซึ่งเป็นผู้จัดการร้านอยากเพิ่มปริมาณการผลิตจึงจ้าง กุญแจซอล มาเป็นแรงงานเพิ่มอีกคน ทำให้ต้องจ่ายค่าจ้างแรงงานทั้งหมด เท่ากับ 80 บาทต่อวัน และจ่ายค่าเช่าเครื่องจักรทั้งหมด 20 บาทต่อวันซึ่งทำให้ทางร้านมีผลผลิตรวมเท่ากับ 17 ถุงต่อวัน ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ในปัจจุบัน ก. TP = 17 ถุง, AP = 5 ถุง ข. TC = 60 บาท, MP = 2 ถุง ค. TVC = 100 บาท , MP = 4.25 ถุง ง. AP = 4.25 ถุงต่อวัน, MP = 2 ถุง ง. EC210 2/2552
245
ต้นทุนระยะยาว EC210 2/2552
246
ต้นทุนระยะยาว (Long-Run Cost)
ในระยะยาวปัจจัยการผลิตทุกอย่างสามารถปรับเปลี่ยนได้ ปัจจัยการผลิตในระยะยาวจึงมีแค่ “ปัจจัยแปรผัน” ปัจจัยแปรผัน: Capital (K) & Labor (L) EC210 2/2552
247
ดังนั้นต้นทุนการผลิตระยะยาวจึงมีแค่ต้นทุนแปรผัน (Total Variable Cost - TVC) เท่านั้น:
TFC = 0 and TC = TVC AFC = 0 and AVC = ATC TC = TFC + TVC EC210 2/2552
248
การตัดสินใจในการผลิตระยะยาวนั้นมีความเสี่ยงสูง การขยายโรงงาน
สภาวะของตลาด ประสิทธิภาพในการผลิต (Economic Efficiency): เลือกใช้กระบวนการผลิตที่สามารถผลิตผลผลิตจำนวนที่ต้องการด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด EC210 2/2552
249
Example: เลือกขนาดของโรงงาน
ATC1 (Plant size 1) ต้นทุนรวมเฉลี่ย (บาท) ATC1 (Plant size 2) Q1 Q2 Q3 Q4 ปริมาณผลผลิต EC210 2/2552
250
ผลได้ต่อขนาด (Return to Scale) กับต้นทุนเฉลี่ย
1) ผลได้ต่อขนาดที่เพิ่มขึ้น (Increasing Return to Scale) ATC ลดลงเมื่อจำนวนของผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิด การประหยัดต่อขนาด (economies of scale) 2) ผลได้ต่อขนาดคงที่ (Constant Return to Scale) ATC ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น 3) ผลได้ต่อขนาดที่ลดลง (Decreasing Return to Scale) ATC เพิ่มสูงขึ้นเมื่อจำนวนของผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิด การไม่ประหยัดจากขนาด (Diseconomies of scale) EC210 2/2552
251
ปริมาณผลผลิต ต้นทุนรวมเฉลี่ย (บาท) LRATC Economies of scale
Constant return to scale Diseconomies of scale ปริมาณผลผลิต EC210 2/2552
252
Question: Why might bigger be better?
Specialization and division of labor แบ่งการผลิตออกเป็นส่วนต่างๆ และมอบหมายหน้าที่ให้คนงานแต่ละคนรับผิดชอบงานในส่วนของตน Adopt mass production techniques ใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรที่มีกำลังการผลิตสูงได้เต็มที่ Quantity discounts ได้ส่วนลดจากการสั่งซื้อวัตถุดิบในปริมาณมาก EC210 2/2552
253
Question: Why might bigger not be better?
Organizational complexity: ขนาดของหน่วยผลิตใหญ่มากเกินไปทำให้ยากต่อการบริหาร เกิดความสับสนในการสื่อสารและสั่งงาน เพิ่มโอกาสในการอู้งานและปัดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สูญเสียความรู้สึกในการทำงานร่วมกัน ต้นทุนในการการควบคุมและตรวจสอบเพิ่มสูงขึ้น EC210 2/2552
254
DISCUSSION ธุรกิจต่อไปนี้ มีลักษณะของการเกิด Economy of Scale หรือไม่
ธุรกิจอพาร์ตเม้นต์ ธุรกิจขนส่งรถบรรทุก ธุรกิจขนส่งทางน้ำระหว่างประเทศ ธุรกิจไฟฟ้า ธุรกิจเครือข่ายให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ..... EC210 2/2552
255
ทบทวนด้วยโจทย์ อ่านแล้วตอบตัวเองก่อนว่า อยู่เนื้อหาบทไหน เรื่องอะไร
โจทย์ถามเกี่ยวกับอะไร EC210 2/2552
256
การที่รัฐบาลกำหนดราคาสินค้าขั้นต่ำจะทำให้เกิดอะไรขึ้น
ก. ผู้บริโภคได้ประโยชน์เพราะราคาสินค้าต่ำกว่าราคาดุลยภาพ ข. ราคาดังกล่าว เป็นราคาดุลยภาพที่อุปสงค์เท่ากับอุปทาน ค. เกิดตลาดมืดในการขายสินค้าแพงกว่าปกติ ง. หากรัฐบาลไม่ทำอะไรเลย ราคาขั้นต่ำจะทำให้เกิดอุปทานส่วนเกิน จ. ผู้ผลิตจะขาย และผลิตสินค้าได้มากขึ้นแน่นอน ตอบ ง EC210 2/2552
257
การควบคุมราคาขั้นต่ำ (Floor Price)
Supply Demand Excess supply Pf Price floor Q1 Q2 Pe Equilibrium price Quantity Quantity demanded Quantity supplied EC210 2/2552 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
258
กำหนดให้สิ่งอื่นๆคงที่ ข้อใดต่อไปนี้ส่งผลให้เส้นเป็นไปได้ในการผลิต (PPC) เคลื่อนที่เข้าหาจุดกำเนิด
ก. ประชากรมีจำนวนลดลง ข. มีการค้นพบบ่อน้ำมันใหม่ ค. คนหันไปออมมากขึ้น ง. มีการคิดค้นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใหม่ขึ้น จ. อัตราการว่างงานสูงขึ้น ตอบ ก EC210 2/2552
259
ข้อใดต่อไปนี้มีส่งผลให้อุปทานของน้ำมันเปลี่ยนตำแหน่ง (Shift in Supply)
ก. เศรษฐกิจเติบโตทำให้คนมีรายได้สูงขึ้น ข. ราคารถยนต์ลดต่ำลง ค. โรงกลั่นน้ำมันใหญ่ๆหลายโรงต้องเสียหายจากพายุที่พัดถล่มอย่างรุนแรง ง. รถยนต์รุ่นใหม่ที่ประหยัดน้ำมันกว่ารุ่นเดิมถูกผลิตออกมาขายในตลาด จ. ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น ตอบ ค EC210 2/2552
260
หนังสือพิมพ์รายงานว่า ราคารถใหม่ลดลง และในขณะเดียวกันปริมาณซื้อขายรถใหม่ก็มีจำนวนลดลงด้วย การเปลี่ยนแปลงนี้น่าจะเกิดจาก ก. รายได้ของผู้ซื้อมากขึ้น ข. ต้นทุนในการผลิตเพิ่มขึ้น ค. คนนิยมรถเก่ามากขึ้น ง. ภาษีรถยนต์ต่ำลง จ. เทคโนโลยีการผลิตรถยนต์ดีขึ้น ตอบ ค EC210 2/2552
261
ถ้าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาของสินค้าชนิดหนึ่งมีค่าเท่ากับ -1 แล้วข้อใดถูก
ก. หากราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 1 บาท ปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง 1 บาท ข. หากราคาของสินค้าเพิ่มขึ้น 100 บาท ปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง 1 บาท ค. หากราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 1 % ปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง 1% ง. หากราคาสินค้าลดลง5% ปริมาณความต้องการซื้อจะเพิ่มขึ้น 5% จ. ถูกทั้งข้อ ค. และ ง. ตอบ จ EC210 2/2552
262
บทที่ 5: ตลาด และความล้มเหลวของระบบตลาด
บทที่ 5: ตลาด และความล้มเหลวของระบบตลาด EC210 2/2552
263
Outline ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ 5.1 ความหมายของตลาด
5.2 โครงสร้างและตัวอย่างของตลาดประเภทต่าง ๆ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดผูกขาด ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด EC210 2/2552
264
Outline ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ผลกระทบภายนอก ผลกระทบภายนอกที่เป็นบวก
5.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure) ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ผลกระทบภายนอก ผลกระทบภายนอกที่เป็นบวก ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ ต้นทุนส่วนตัวและต้นทุนทางสังคม สินค้าและบริการสาธารณะ EC210 2/2552
265
5.1 ความหมายของตลาด ตลาด (Market)
“กิจกรรม” การตกลงซื้อขายสินค้าและบริการรวมทั้งปัจจัยการผลิต (ไม่ได้จำกัดเฉพาะ “สถานที่”) โดยทั่วไป เราอาจแบ่งตลาดเป็นออกเป็นประเภทต่างๆได้ด้วยวิธีแตกต่างกัน เช่น แบ่งตามภูมิศาสตร์: ตลาดท้องถิ่น ตลาดในประเทศ ตลาดโลก แบ่งตามชนิดสิ่งที่ซื้อขาย: ตลาดผลผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต แบ่งตามลักษณะการซื้อขาย: ตลาดกลาง ตลาดขายส่ง ตลาดขายปลีก แบบอื่นๆ : ตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาดเงินตราต่างประเทศ ตลาดซื้อขายล่วงหน้า EC210 2/2552
266
ประเด็นที่เป็นที่สนใจ ในการวิเคราะห์ตลาด
สินค้ามากมายหลายชนิดซื้อขายแลกเปลี่ยนผ่านตลาด ทำไมผู้ขายบางรายจึงขายสินค้าราคาแพงได้ ทำไมผู้ขายบางรายไม่สามารถกำหนดราคาตลาดได้ตามใจต้องการ สินค้าหรือธุรกิจอะไรที่น่าจะมีการโฆษณาทางสื่อมากกว่ากัน? ทำไม? ทำไมราคาของน้ำอัดลมที่โรงภาพยนตร์ถึงแพงกว่าที่โรงอาหาร? ทำไมบางธุรกิจมีกำไรสูงแต่บางธุรกิจมีกำไรต่ำ? EC210 2/2552
267
ตลาดสินค้า เราวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างตลาดแต่ละแบบเพื่อดู “การตัดสินใจของหน่วยผลิต” ว่าจะตัดสินใจผลิตปริมาณเท่าใด และตั้งราคาอย่างไร โครงสร้างตลาดแบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ๏ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition) ๏ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) ๏ ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ๏ ตลาดผูกขาด (Monopoly) ลักษณะโครงสร้างต่างกันหน่วยผลิตก็จะมีลักษณะการตัดสินใจที่ต่างกันด้วย…….แต่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ กำไรสูงสุด EC210 2/2552
268
5.2 โครงสร้างและตัวอย่าง ของตลาดประเภทต่างๆ
5.2 โครงสร้างและตัวอย่าง ของตลาดประเภทต่างๆ EC210 2/2552
269
ปัจจัยที่ใช้ในการจำแนกโครงสร้างตลาด
โครงสร้างของตลาด (Market Structure) จำนวนของผู้ซื้อและผู้ขายในตลาด ความยากง่ายหรืออุปสรรคในการเข้าหรือออกตลาด ลักษณะของสินค้าและบริการ: เหมือน vs. แตกต่าง EC210 2/2552
270
Market structure จำนวนผู้ขาย เงื่อนไขการเข้าออกตลาด ชนิดของสินค้า
Perfect competition จำนวนมากราย แต่ละรายเป็นรายเล็กๆ Free entry Homogeneous Monopolistic competition Easy to entry Same but not homogeneous Oligopoly จำนวนน้อยราย (mkt share แต่ละรายสูง) Have barrier to entry Homogeneous / differentiated Monopoly มีเพียงรายเดียว Can not entry differentiated EC210 2/2552
271
ตัวอย่าง..จงวิเคราะห์โครงสร้างของตลาดเหล่านี้
ตลาดไฟฟ้า ตลาดผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลาดกวดวิชา ตลาดข้าวเปลือก ตลาดน้ำดื่มบรรจุขวด Etc. EC210 2/2552
272
ผลของโครงสร้างตลาดที่แตกต่างกัน
โครงสร้างตลาดที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อการกำหนดราคาสินค้าที่ต่างกัน โครงสร้างตลาดที่แตกต่างกัน จะมีพฤติกรรมการแข่งขันที่ต่างกัน โครงสร้างตลาดที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อกำไรของผู้ผลิตที่แตกต่างกัน โครงสร้างตลาดที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อสวัสดิการสังคมที่แตกต่างกัน แต่ ผู้ผลิตในทุกๆโครงสร้างตลาด ต่างมุ่งหวังที่จะผลิตและตั้งราคาเพื่อกำไรสูงสุด .... แต่จะได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับอำนาจทางการตลาดที่มากน้อยไม่เท่ากัน EC210 2/2552
273
โครงสร้างของตลาด (Market Structure)
ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย(Oligopoly) ตลาดผูกขาด(Monopoly) ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด(Monopolistic) EC210 2/2552
274
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition)
ลักษณะที่สำคัญของตลาดแข่งขันสมบูรณ์: ผู้ขายและผู้ซื้อมีจำนวนมาก สินค้าที่ขายมีลักษณะเหมือนกัน (Homogeneous) มีการเข้าออกตลาดเสรี (No barriers to entry or exit) ผู้ขายและผู้ซื้อทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับตลาดและตัวสินค้าได้สะดวกเท่าเทียมกัน (Complete and perfect information) EC210 2/2552
275
ข้าวถุงในห้าง ??? น้ำตาลในห้าง ???
Example (ใกล้เคียง): ข้าว มันสำปะหลัง เกลือ สินค้าการเกษตร ข้าวถุงในห้าง ??? น้ำตาลในห้าง ??? EC210 2/2552
276
การกำหนดราคาของผู้ขาย:
ผู้ขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ไม่มีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าในตลาด (No market power) ผู้ขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จึงถูกเรียกว่าเป็น “ผู้ยอมรับราคา (Price Taker)” ในเมื่อผู้ขายไม่มีอำนาจกำหนดราคา และเขาจะมีพฤติกรรมเพื่อทำให้ตนเองบรรลุเป้าหมาย คือ กำไรสูงสุด ได้อย่างไร (กำไร = รายรับ – รายจ่าย) วิเคราะห์โดย เปรียบเทียบเส้นรายรับ กับเส้นต้นทุน EC210 2/2552
277
เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญ >> ที่มาของเส้นรายรับ
หรือ เส้นอุปสงค์ในสายตาของผู้ผลิต คือ อุปสงค์ที่มีต่อสินค้าที่ผลิตโดยหน่วยผลิตนั้นๆ เป็นเส้นที่บอกให้ทราบว่า ที่ระดับราคาต่างๆ ผู้บริโภคจะมีความต้องการซื้อสินค้าของหน่วยผลิตนั้นๆในปริมาณเท่าใด ทำไมเราต้องแยกวิเคราะห์อุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญ ? ตอบ เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญจะแสดงถึงรายรับของผู้ผลิต EC210 2/2552
278
P = AR =MR EC210 2/2552
279
สมมติว่า ผู้ขายเผชิญกับราคาตลาดเท่ากับ 3 $ ต่อหน่วย
ราคาต่อหน่วย (P) ปริมาณขาย (Q) รายรับรวม (TR) รายรับเฉลี่ย (AR) รายรับส่วนเพิ่ม (MR) 3 - 1 2 6 9 4 12 … 13 39 EC210 2/2552
280
เส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญ สำหรับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คือเส้น AR
และเป็นเส้นเดียวกับ MR ด้วย เส้นรายรับรวม จะเป็นเส้นตรง ที่ลากออกจากจุดกำเนิด ...ยิ่งขายมาก รายรับยิ่งมาก EC210 2/2552
281
การตัดสินใจเลือกปริมาณการผลิต เพื่อกำไรสูงสุด
STC รายรับ,ต้นทุน(บาท) TR จุดคุ้มทุน ปริมาณที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด Q กำไร(บาท) Q1 Q Q2 Q* Q3 EC210 2/2552
282
ในที่สุด..ผู้ขายในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะได้กำไรหรือไม่
ในระยะสั้นผู้ขายสามารถได้รับ กำไรเกินปกติ (Positive economic profit) ในระยะยาวผู้ขายจะได้รับเพียงแค่ กำไรปกติ (Zero economic profit or Normal rate of return) ผู้ขายที่ผลิตสินค้าโดยมีต้นทุนสูงก็จะประสบภาวะขาดทุนและออกจากตลาดไป กำไรเกินปกติที่ผู้ขายได้รับ จะดึงดูดผู้ขายรายใหม่ๆ ให้เข้ามาในตลาด EC210 2/2552
283
บทสรุป สำหรับตลาดแข่งขันสมบูรณ์:
เส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญจะเป็นเส้นขนานแกนนอนที่ราคาตลาด ผู้ขายสามารถทำกำไรเกินปกติ ได้เพียงในระยะสั้นเท่านั้น ผู้ซื้อได้ประโยชน์สูงสุด ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ EC210 2/2552
284
ตลาดผูกขาด (Monopoly)
ลักษณะที่สำคัญของตลาดผูกขาด: มีผู้ขายเพียงรายเดียว: ผู้ผูกขาด (Monopolist) สินค้ามีลักษณะพิเศษไม่สามารถหาสินค้าอื่นที่ใกล้เคียงมาทดแทนได้ มีการกีดกันการเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายอื่นๆ (Barriers to entry) EC210 2/2552
285
Example (ใกล้เคียง): ไฟฟ้า ประปา เพชร DeBeers
โทรศัพท์มือถือในยุคแรกๆ ในไทย ร้านขายน้ำ และป๊อปคอร์น หน้าโรงภาพยนตร์ ??? EC210 2/2552
286
ที่มาของอำนาจการผูกขาด (Sources of Market Power):
1) การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) สินค้าและบริการบางชนิดมีต้นทุนในการเริ่มกิจการที่สูงมากๆ (High start up cost!!!) ไฟฟ้า, ประปา 2) การได้สิทธิในการครอบครองทรัพยากรแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive control of a resource) เหมืองเพชร 3) การได้รับสิทธิทางกฎหมายจากรัฐบาล (Legal Monopoly) การได้รับสิทธิในการทำการผลิตจากรัฐบาล สิทธิบัตร(Patents), สัมปทาน, Copyrights EC210 2/2552
287
การกำหนดราคาของผู้ขาย:
ผู้ขายเพียงรายเดียวผลิตสินค้าในตลาด ดังนั้นผู้ขายจึงมีอำนาจในการควบคุมปริมาณและราคาของสินค้าในตลาด (Market Power) ผู้ขายสินค้าในตลาดผูกขาด จึงถูกเรียกว่า “ผู้กำหนดราคา (Price Maker)” EC210 2/2552
288
เนื่องจากมีผู้ขายเพียงรายเดียว ดังนั้น
อุปสงค์ของตลาด = อุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญ Price Quantity (Q) D เส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญ ต่างจากตลาดแข่งขันสมบูรณ์อย่างไร ?? EC210 2/2552
289
เส้นอุปสงค์ตลาด กับความสัมพันธ์ของรายรับแบบต่างๆ
ราคาต่อหน่วย (P) ปริมาณความต้องการ (Q) รายรับรวม (TR) รายรับเฉลี่ย (AR) รายรับส่วนเพิ่ม (MR) 6 - 5 1 4 2 8 3 9 -1 -3 EC210 2/2552
290
เพิ่มเติม : ผู้ขายจะตั้งราคาเพื่อให้ได้กำไรสูงสุดไหน
การตั้งราคาเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด (กำไร = รายรับรวม – รายจ่ายรวม) จะตั้งราคาตามเส้นอุปสงค์ที่ดีที่สุด ... แล้วคือตรงไหนหล่ะ คำตอบ : เลือกขาย ณ ปริมาณที่ทำให้ รายรับส่วนเพิ่ม (MR) = ต้นทุนส่วนเพิ่ม (MC) ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ?? (สมมติให้ ต้นทุนส่วนเพิ่มคงที่ เท่ากับ 3 บาทต่อหน่วยตลอด) EC210 2/2552
291
การกำหนดราคาขายตามเส้นอุปสงค์ตลาด ที่ทำให้ MC = MR
(P) (Q) รายรับรวม (TR) รายรับส่วนเพิ่ม (MR) ต้นทุนส่วนเพิ่ม (MC) ต้นทุนรวม (TC) กำไร 6 - 5 1 4 2 8 3 9 -1 -3 EC210 2/2552
292
บทสรุป สำหรับตลาดผูกขาด:
เส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญเป็นเส้นเดียวกับอุปสงค์ตลาด เนื่องจากผู้ผลิตรายอื่นๆ ไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ ผู้ขายสามารถได้รับ กำไรเกินปกติ ทั้งใน “ระยะสั้น” และ “ระยะยาว” ผู้ซื้อเสียประโยชน์ ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดถูกใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ EC210 2/2552
293
ข้อเสียของตลาดผูกขาด:
1) จำกัดทางเลือกของผู้ซื้อ (และทำให้ผู้ซื้อต้องจ่ายในราคาที่แพง) 2) อาจเกิดความพยายามที่จะให้ได้มาซึ่งอำนาจตลาดและการผูกขาด (Rent seeking behavior) การจ่ายเงินวิ่งเต้นเพื่อให้ผู้มีอำนาจให้สัมปทานหรือออกกฎหมายที่มีประโยชน์แก่ผู้ขาย ข้อดีของตลาดผูกขาด: 1) เพิ่มแรงสนับสนุนให้เกิดการค้นคว้าและผลิตนวัตกรรมใหม่ๆ 2) การประหยัดจากขนาด (Economies of Scale) ในกรณีของการผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) EC210 2/2552
294
ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)
ลักษณะที่สำคัญของตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย: มีผู้ขายเพียงไม่กี่ราย บางกรณีอาจมีผู้ขายหลายราย แต่มีผู้ขายรายใหญ่ที่ครองตลาดอยู่เพียงไม่กี่ราย สินค้าที่ขายในตลาด อาจเป็นได้ทั้งสินค้าที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือ สินค้าที่มีลักษณะต่างกัน มีการกีดกันการเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายอื่นๆ (Barriers to entry) EC210 2/2552
295
Example : บริการโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน (AIS, DTAC, True, Hutch)
สายการบินในประเทศ รถยนต์ น้ำมัน บริการโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน (AIS, DTAC, True, Hutch) Search engine i.e. google , yahoo EC210 2/2552
296
การกำหนดราคาของผู้ขาย:
การตัดสินใจกำหนดราคาของผู้ขายเป็นการตัดสินใจที่มีความเกี่ยวเนื่องกับผู้ผลิตรายอื่นๆในตลาด เพราะเป็นการตัดสินใจที่มีผลกระทบซึ่งกันและกัน ผลลัพท์ที่เป็นไปได้จากการกำหนดราคาของผู้ขาย 1) การร่วมมือกันกำหนดราคาของผู้ขาย Act as a joint monopoly Monopoly Outcome!!! กำไรเกินปกติ 2) ต่างคนต่างแข่งขันกัน Compete by lowering price (Price war) Competitive Outcome!!! กำไรปกติ EC210 2/2552
297
Conclusion: ผู้ซื้อเสียประโยชน์เหมือนตลาดผูกขาดในกรณีที่ผู้ขายเหล่านี้สามารถรวมหัวกันตั้งราคาแพงๆ ผู้ซื้ออาจจะเสียประโยชน์น้อยลงในกรณีที่ผู้ขายเหล่านี้ไม่สามารถรวมหัวกันตั้งราคาได้สำเร็จและมีการแข่งขันตัดราคากัน (ถ้าแข่งขันรุนแรงมากๆ เราอาจจะได้ผลลัพท์ที่ใกล้เคียงกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์) ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดถูกใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ EC210 2/2552
298
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)
ลักษณะที่สำคัญของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด: มีผู้ขายจำนวนมาก (Numerous rival firms) สินค้าที่ขายในตลาดมีลักษณะต่างกันบ้างแต่ก็พอที่จะสามารถใช้ทดแทนกันได้ มีการเข้าออกตลาดเสรี (No barriers to entry or exit) EC210 2/2552
299
Example (ใกล้เคียง): ร้านอาหาร เสื้อผ้าแฟชั่น น้ำพริกสินค้า otop
กระดาษถ่ายเอกสาร ??? น้ำดื่มบรรจุขวด ??? EC210 2/2552
300
การกำหนดราคาของผู้ขาย:
ผู้ขายมีอำนาจในการกำหนดราคาอยู่บ้าง (Firms have some market power) จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสามารถในการทำให้สินค้าของตนเองแตกต่างจากผู้อื่น การแข่งขันของผู้ขายจะเป็นไปในหลายรูปแบบนอกเหนือจากราคา รูปร่างหน้าตาของสินค้า, การให้บริการหลังการขาย, การรับประกันคุณภาพ, การโฆษณา, ฯลฯ EC210 2/2552
301
บทสรุป ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด :
ในระยะสั้นผู้ขายสามารถได้รับ กำไรเกินปกติ (Positive economic profit) ในระยะยาวผู้ขายจะได้รับเพียงแค่ กำไรปกติ (Zero economic profit or Normal rate of return)เนื่องจากการไม่มีอุปสรรคกีดกันการเข้าตลาด กำไรเกินปกติจะดึงดูดผู้ขายรายใหม่ๆ ให้เข้ามาในตลาด ผู้ซื้อได้ประโยชน์จากความหลากหลายของสินค้าและบริการ (Product variety) อย่างไรก็ตามผู้ซื้อก็ต้องจ่ายแพงขึ้นเพื่อความหลากหลายเหล่านั้น ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดถูกใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ EC210 2/2552
302
(Perfect Competition) กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ขึ้นอยู่ว่ารวมมือกัน
Market Structure แข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition) กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic) ผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ผูกขาด (Monopoly) จำนวนผู้ขาย มากมาย น้อย รายเดียว ลักษณะของสินค้า เหมือน แตกต่าง เหมือน หรือ แตกต่าง - การเข้าสู่ตลาด เสรี กีดกัน อำนาจในการกำหนดราคา (Market Power) ไม่มีอำนาจ มีอำนาจเล็กน้อย ขึ้นอยู่ว่ารวมมือกัน ขึ้นราคาแพงๆ ได้ สำเร็จหรือไม่ มีอำนาจเต็มที่ กำไรในระยะสั้น เกินปกติ: + กำไรในระยะยาว ปกติ: 0 EC210 2/2552
303
5.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure) EC210 2/2552
304
ความล้มเหลวของตลาด คือ ภาวะที่การทำงานของตลาดโดยธรรมชาติ ไม่สามารถทำให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่เป็นที่ต้องการของสังคม ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Competition) ผลกระทบภายนอก (Externalities) สินค้าสาธารณะ (Public Goods) ความไม่สมมาตรของสารสนเทศ (ข้อมูล) EC210 2/2552
305
รัฐบาลจึงมีหน้าที่ ที่ต้องมาแก้ไขปัญหาความล้มเหลวของตลาด:
ออกกฎหมายบังคับแก้ไข ใช้มาตรการภาษีเพื่อลงโทษ (หรือเงินอุดหนุนเพื่อสนับสนุน) เข้ามาผลิตสินค้าชนิดนั้นเอง EC210 2/2552
306
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Competition)
ตลาดประเภทใดบ้างที่เข้าข่าย ?? เกิดจากการที่ผู้ขายที่อยู่ในตลาดพยายามที่จะกีดกันการเข้ามาแข่งขันของผู้ขายรายใหม่ๆ (หรือมีการรวมหัวกันขึ้นราคาแพงๆ) ทำให้ไม่เกิดการแข่งขัน ผลร้าย: สินค้าถูกผลิตออกมาน้อย (Artificial Scarcity) และราคาแพงเกินกว่าที่ควรจะเป็น EC210 2/2552
307
ออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันการผูกขาด (Antitrust Policy)
บทบาทของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา: ออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันการผูกขาด (Antitrust Policy) Example: Microsoft, IBC+UTV, MAJOR + EGV ควบคุมการกำหนดราคาในกรณีของ Natural Monopoly Example: ไฟฟ้า, ประปา EC210 2/2552
308
ผลกระทบภายนอก (Externalities)
ปัญหา: เกิดขึ้นเนื่องจาก ตลาดคิดแต่เฉพาะต้นทุนที่เสียและผลประโยชน์ที่ได้สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหรือการกระทำนั้นๆ โดยตรงเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้คิดถึงบุคคลที่สามที่ได้รับผลกระทบจากการกระทำนั้นๆ EC210 2/2552
309
เพราะเหตุใดผู้ตัดสินใจ จึงไม่คิดถึงบุคคลที่สามที่ได้รับผลกระทบ
ตัวอย่างกรณี โรงงานผลิตสินค้าปล่อยน้ำเสียสู่แม่น้ำ ต้นทุนส่วนตัว (Private Cost) ต้นทุนที่หน่วยผลิตเป็นผู้รับภาระโดยตรง ได้แก่ ต้นทุนการผลิตต่างๆ (ค่าจ้าง, ค่าวัตถุดิบ) ต้นทุนทางสังคม (Social Cost) = ต้นทุนเอกชน + ต้นทุนจากผลกระทบภายนอก ต้นทุนจากผลกระทบภายนอก ได้แก่ น้ำเสียจากโรงงาน EC210 2/2552
310
ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ (Negative Externality)
บุคคลที่สามเสียประโยชน์หรือได้รับความเดือดร้อนจากการกระทำนั้นๆ ทั้งที่เขาไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องอะไรเลยกับการกระทำนั้นๆ เพื่อนร่วมห้องนอนกรนเสียงดัง การปลูกไม้ยูคาลิปตัส สินค้าและบริการถูกผลิตออกมามากเกินไปในมุมมองของสังคม (Allocative inefficiency - market over allocates) บทบาทของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา:ออกกฎหมายป้องกันและลงโทษ มาตรฐานการปล่อยควันพิษของโรงงาน, เก็บภาษีบุหรี่สูงๆ EC210 2/2552
311
เหตุใดเมื่อเกิด negative externalities จึงทำให้ผลิตมากเกินไป
P Q D Social cost = private cost + external cost Q1 P1 Q2 P2 E2 E1 private cost EC210 2/2552
312
ผลกระทบภายนอกที่เป็นบวก (Positive Externality)
บุคคลที่สามได้ประโยชน์จากการกระทำนั้นๆ ทั้งที่เขาไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องอะไรเลยกับการกระทำนั้นๆ เพื่อนบ้านที่ปลูกต้นไม้สวยงามหน้าบ้าน การทำสวนเลี้ยงผึ้ง สินค้าและบริการถูกผลิตออกมาน้อยเกินไปในมุมมองของสังคม บทบาทของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา: ให้การสนับสนุนทั้งทางด้านการเงินและการอำนวยความสะดวก กองทุนเพื่อการศึกษา, ลดภาษี EC210 2/2552
313
สินค้าสาธารณะ (Public Good)
สินค้าและบริการที่แต่ละหน่วยสามารถถูกใช้หรือบริโภคได้สำหรับทุกคน 1) Non-Rivalry (ไม่ปฏิปักษ์ในการบริโภค) 2) Non-Excludability (ไม่อาจกีดกันได้) Example: itv, กองทัพป้องกันประเทศ EC210 2/2552
314
1) Rivalry (ปฏิปักษ์ในการบริโภค) 2) Excludability (กีดกันได้)
สินค้าโดยทั่วไป มีลักษณะเป็นสินค้าสาธารณะหรือไม่ ?? สินค้าเอกชน (Private Good) สินค้าและบริการที่แต่ละหน่วยสามารถถูกใช้หรือบริโภคได้เพียงบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 1) Rivalry (ปฏิปักษ์ในการบริโภค) 2) Excludability (กีดกันได้) Example: รถยนต์, กระเป๋า Gucci EC210 2/2552
315
ปัญหาความล้มเหลวของตลาดในกรณีสินค้าสาธารณะ
Free Rider Problem!!! ทุกคนอยากใช้สินค้าและบริการแต่ไม่มีใครยอมจ่ายเงิน ถ้าเอกชนเป็นผู้ผลิตสินค้า สินค้าและบริการจะถูกผลิตออกมาน้อยเกินไป เก็บเงินไม่ได้ (ไม่มีใครยอมจ่ายเงิน) บทบาทของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา: รัฐบาลเข้ามาเป็นผู้ผลิตสินค้าชนิดนั้นๆ เอง บังคับเก็บเงินทางภาษี EC210 2/2552
316
Asymmetric Information (ความไม่สมมาตรของสารสนเทศ)
เป็นสภาวะที่ผู้เล่น 2 ฝ่ายในตลาด (ผู้ซื้อ-ผู้ขาย) มีข้อมูลข่าวสารที่ไม่เท่าเทียมกัน จึงก่อให้เกิดปัญหา 2 ลักษณะ คือ ปัญหา Adverse Selection (เกิดผลเลือกกลุ่มที่เสี่ยงสูง) - เป็นปัญหาที่สารสนเทศไม่สมมาตร ก่อนการตกลงสัญญา ปัญหา Moral Hazard (พฤติกรรมชักนำความเสี่ยง) - เป็นปัญหาสารสนเทศไม่สมมาตร หลังจากตกลงสัญญาแล้ว - - -ผลคือ ตลาดมีแนวโน้มที่จะไม่เกิด หากปล่อยตามกลไกตลาด - - - EC210 2/2552
317
ตัวอย่าง Adverse Selection
ตลาดรถยนต์มือสอง... ตลาดประกันสุขภาพ... ตลาดประกันอุบัติเหตุรถยนต์... ตลาดสินเชื่อ... ตลาดแรงงาน... แต่ละตลาด ใครมีข้อมูลมากกว่าใคร ผลของตลาด จะทำให้ ผู้ที่มีข้อมูลมากกว่าได้เปรียบ และก่อให้เกิดกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่ตลาด EC210 2/2552
318
ตัวอย่าง Moral Hazard ตลาดประกันภัยทรัพย์สิน... ตลาดประกันชีวิต...
การบริหารงานบริษัท... การตกลงประนอมหนี้ (ผ่อนชำระหนี้)... การเช่าบ้าน (คนเช่าไม่ต้องรับผิดชอบทรัพย์สิน)... แต่ละตลาด ใครมีข้อมูลมากกว่าใคร ผลของตลาด จะทำให้ ผู้ที่มีข้อมูลมากกว่าได้เปรียบ และก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ทำให้เสี่ยงมากขึ้น EC210 2/2552
319
Appendix: How to Read and Understand Graphs
A graph is a two-dimensional representation of a set of numbers or data. EC210 2/2552
320
Appendix: How to Read and Understand Graphs
A time series graph shows how a single variable changes over time. EC210 2/2552
321
Appendix: How to Read and Understand Graphs
The Cartesian coordinate system is the most common method of showing the relationship between two variables. The horizontal line is the X-axis and the vertical line the Y-axis. The point at which the horizontal and vertical axes intersect is called the origin. EC210 2/2552
322
Appendix: How to Read and Understand Graphs
The point at which the line intersects the Y-axis (point a) is called the Y-intercept. The Y-intercept, is the value of Y when X = 0. EC210 2/2552
323
Appendix: How to Read and Understand Graphs
The slope of the line indicates whether the relationship between the variables is positive or negative. The slope of the line is computed as follows: EC210 2/2552
324
Appendix: How to Read and Understand Graphs
This line slopes upward, indicating that there seems to be a positive relationship between income and spending. Points A and B, above the 45° line, show that consumption can be greater than income. EC210 2/2552
325
Appendix: How to Read and Understand Graphs
An upward-sloping line describes a positive relationship between X and Y. A downward-sloping line describes a negative relationship between X and Y. EC210 2/2552
326
Appendix: How to Read and Understand Graphs
EC210 2/2552
327
Appendix: How to Read and Understand Graphs
EC210 2/2552
328
Appendix: How to Read and Understand Graphs
Cartesian coordinate system graph negative relationship origin positive relationship slope time series graph X-axis Y-axis Y-intercept EC210 2/2552
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.