ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทฤษฎีความรู้ ( Theory Of Knowledge :TOK )
2
ทฤษฎีความรู้ ( Theory Of Knowledge : TOK )
วัตถุประสงค์ เพื่อปลูกฝังทักษะกระบวนการ การค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่มเติม ต่อยอดความรู้ให้ลึกซึ้งในประเด็นความรู้ (Knowledge issues) ตามหลักสูตรแกนกลาง (ในรูปแบบบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ ) หรืออาจจะจัดเป็นสาระเพิ่มเติมเป็นบางสาระในระดับ ม.ปลาย
3
ครูผู้สอน จะไม่สอนเนื้อหาเพิ่มเติม แต่จะสอนกระบวนการกระบวนการสืบค้นหาความรู้ เป็นผู้ชี้แนะวิธีแสวงหาความรู้ “ Way of knowing “ นักเรียนจะต้องหาค้นคว้าหาความรู้มาแสดงให้เห็นว่า รู้ได้เราอย่างไร “ How do we know”
4
ความคาดหวังต่อนักเรียน
สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งที่รู้ สามารถตั้งคำถาม/ให้คำอธิบาย แสดงความคิดเห็น หาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด เชื่อมโยงความรู้/เปรียบเทียบวิธีการแสวงหา ความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆและวิธีการรับรู้
5
วิธีการรับรู้ และการจัดการเรียนรู้ 4 ทาง
สร้างความรู้จากความรู้สึก(Sense Perception) สร้างความรู้จาการใช้ภาษา ( Language ) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล ( Reason ) สร้างความรู้จากอารมณ์ ( Emotion )
8
1. การรับรู้ความรู้จากความรู้สึก (Sense Perception )
หมายถึงปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ที่เกิดจากการกระตุ้นต่างๆรอบตัว จากการสัมผัส ทั้งภายนอก ภายใน สื่อการสอนสำหรับครูเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจอยากเรียนรู้ - ใช้เพลง - ใช้รูปภาพ - ใช้สัญลักษณ์
10
ใช้สัญลักษณ์
11
การใช้ภาพบอกความรู้สึก
12
2. การรับรู้ความรู้จากภาษา ( Language )
เป็นรับรู้ความรู้จากการสื่อสาร ด้วยภาษา - ใช้สัญลักษณ์ ( Symbols) - สัญญาณ ( Sign ) - ภาษากาย ( Body language) - ภาษาพูด (language)
13
การใช้ภาษามือเพื่อสื่อสาร
14
การจัดการเรียนรู้ - ใช้สัญลักษณ์ ( Symbols )และป้าย สัญญาณเครื่องหมาย ( Signs ) เป็นสื่อ การเรียนการสอน และบอกผู้เรียนบอก ความหมายของสิ่งที่ผู้เรียนเห็นและรับรู้
18
ใช้คำหรือประโยคเป็นสื่อในการเรียนการ สอน เช่นหาตัวอย่างคำที่เขียนเหมือนกันแต่ความหมายต่างเมื่ออยู่ในแต่ละประโยค เช่น ฉันได้ยินเสียงไก่ขันในตอนเช้าตรู่ ในวันสงกรานต์แม่เอาน้ำหอมใส่ขันน้ำไปสรง องค์พระ เขามีอารมณ์ขันได้ตลอดทั้งวันเลย
19
และวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นที่รู้จักทั่วโลก เป็นสื่อการเรียนการสอน
- ใช้สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นที่รู้จักทั่วโลก เป็นสื่อการเรียนการสอน ใช้ธงของประเทศต่างๆ เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่นบอกความหมายของธงประเทศต่างๆ ค้นคว้าหาความหมายของสัญลักษณ์บนธงชาติของแต่ละประเทศ ใช้สัญลักษณ์อื่นๆเป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น การใช้ภาษากาย ( Body language )
21
การใช้ธงชาติต่างๆเป็นสื่อการสอน
22
ใช้ภาพและสัญลักษณ์
23
ใช้สัญลักษณ์
24
24
25
3. การรับรู้ความรู้จากอารมณ์ ( Emotion )
เป็นการเรียนรู้โดยการค้นคว้าหา ความรู้ทั้งจาก ที่เป็น อารมณ์ของตนเองและทั้งที่เป็นอารมณ์ ของผู้อื่น
26
การรับรู้ความรู้จากอารมณ์ (Emotion )
การรับรู้ความรู้สึก ( Sense Perception ) การรับความรู้ทางภาษา ( Language ) การรับความรู้โดยเหตุผล ( Reason )
27
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ใช้ภาพที่เกี่ยวกับภาษากาย(body Language) เป็นสื่อการสอน ท่าทาง (gesture) ที่เชื่อมโยง กับอารมณ์ เช่นใช้ภาพการ์ตูน และผู้เรียนบอก อารมณ์ของตัวละคร 2.ใช้สถานการณ์จำลอง (simulation ) เป็นสื่อ เช่น ให้นักเรียนแสดงท่าทางที่บอกอารมณ์ ให้เพื่อนๆ สังเกตอาการและแสดงความคิดเห็น เป็นต้น
28
3. ใช้ข้อความหรือเนื้อเรื่อง ( Text )
บทสนทนา ( dialogue ) และบท ประพันธ์ โคลง กลอน ฉันท์ กาพย์ กลอน เกี่ยวกับอารมณ์ ความเชื่อที่สะท้อนอารมณ์ ของผู้ประพันธ์ และตัวละคร แล้วให้ผู้เรียน วิเคราะห์และตีความอารมณ์ของผู้เขียน หรือตัวละคร เช่น
29
ตัวอย่างคำประพันธ์ เห็นแก้วแวววับที่จับจิต ไยไม่คิดอาจเอื้อมให้ถึงที่ เมื่อไม่เอื้อมจะได้อย่างไรมี อันมณีฤาจะโลดไปถึงมือ อันของสูงแม้ปองต้องจิต ถ้าไม่คิดปีนป่ายจะได้ฤา มิใช่ของตลาดที่อาจซื้อ ฤาแย่งยื้อถือได้โดยไม่ยอม
30
การรับความรู้จากการให้เหตุผล ( Reason )
เป็นการใช้ข้อมูลรายละเอียด ( Information ) ในลักษณะโน้มน้าว( Induce ) สืบสาวเหตุผล ( deduce) สรุปความ ( Infer ) ลงความเห็นเป็นหลักการ ( generalize) ระบุลักษณะเฉพาะ ( pacify ) ยืนยันลักษณะความเหมือน ( recognize similarities) การตัดสิน ( judge ) และโต้แย้ง สนับสนุน และคัดค้าน
31
- รวบรวมหัวข้อทั้งหมด ส่งโรงเรียน (งานวิชาการ) รวบรวมและจัดทำเป็นเล่ม
บทบาทของครูผู้สอน - กำหนดประเด็นความรู้ (knowledge issues ) หรือหัวข้อ (Topics ) สำหรับให้ผู้เรียนควรค้นคว้าเพิ่มเติม - รวบรวมหัวข้อทั้งหมด ส่งโรงเรียน (งานวิชาการ) รวบรวมและจัดทำเป็นเล่ม 31
32
ความรู้ของมนุษย์เกิดขึ้นได้อย่างไร
ตัวอย่างหัวข้อ ( Topics ) - วรรณคดีสามารถบอกความจริงได้ดีกว่าศาสตร์ ด้านศิลปะ หรือสาขาวิชาอื่นๆ หรือไม่ ความรู้ของมนุษย์เกิดขึ้นได้อย่างไร อะไรคือความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง คำอธิบายเชิงประวัติศาสตร์ กับคำอธิบาย เชิงวิทยาศาสตร์ 32
33
- เครื่องจักรสามารรับรู้ได้เช่นเดียวกับมนุษย์หรือไม่
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ของประเทศไทย ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับคำกล่าวที่ว่า “ คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำหรับการเรียนรู้วิชาอื่นๆ ” 33
34
เมื่อนักคณิตศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และ
เปรียบเทียบบทบาทของการให้เหตุผล (reason ) และการจินตนาการ ( imagination ) ในสาระ การเรียนรู้ 2 สาระเป็นอย่างน้อย เมื่อนักคณิตศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และ นักวิทยาศาสตร์พูดว่าพวกเขาได้ อธิบาย บางสิ่ง บางอย่างไปแล้ว การพูดเช่นนี้ เขาเหล่านั้น ใช้คำว่า“ อธิบาย”ในความหมายเดียวกันหรือไม่ 34
35
นักเรียนทำอะไร เลือกหัวข้อเรื่อง เพื่อค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม
เลือกหัวข้อเรื่อง เพื่อค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน ปรึกษาครูที่ปรึกษา รวบรวมความคิด ค้นคว้าหาความรู้ แสดงความคิดเห็นของตนเอง ลำดับความคิดของตนเอง - เขียนความเรียงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่ เลือก 35
36
การสอบปากเปล่า (Oral)
การวัดและประเมินผล มี 2 ลักษณะ ได้แก่ การสอบข้อเขียน การสอบปากเปล่า (Oral) 36
37
สรุปบทบาทภาระงาน สถานศึกษา จัดทำเอกสาร รวบรวมประเด็นประเด็นความรู้
มอบหมายครูผู้สอน แต่งตั้งครูที่ปรึกษา
38
ครูผู้สอน - สอนกระบวนการวิธีหาความรู้ ศาสตร์ สาขาของความรู้ - การเขียนรายงานการค้นคว้า - ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นคว้า และการเขียนรายงาน - ประเมินผลเรียน ทั้งข้อเขียนและปาก เปล่า
39
หน้าที่ครูที่ปรึกษา - ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน - กำกับ ติดตาม การทำงานของผู้เรียน - ตรวจทาน และรับรองผลงานของผู้เรียน
40
ผู้เรียน - เลือกประเด็นความรู้ 1 เรื่อง สำหรับค้นคว้า - ค้นคว้าแสวงหาความรู้ เกี่ยวกับหัวข้อที่เลือก - เขียนรายงานการค้นคว้าความยาวประมาณ 1, ,600 คำ ( ม.ปลาย ) - ส่งรายงาน - สอบปากเปล่า - นำเสนอผลงาน
41
เป้าหมายผู้เรียนได้ Learn to know Learn to be Learn to do
Learn to live together
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.