ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การย่อยอาหาร ของคน
2
การย่อยอาหาร (Digestion)
หมายถึง การแปรสภาพของสารอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่และละลายน้ำไม่ได้ ให้เป็นสารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้ำ และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยอาศัยกระบวนการทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี
3
กระบวนการย่อยมี 2 ลักษณะ
1. การย่อยเชิงกล Mechanical digestion เป็นการบดเคี้ยวให้อาหารมีขนาดเล็กลง ได้แก่ การบดเคี้ยวอาหารในปาก 2. การย่อยทางเคมี Chemical digestion เป็นการย่อยที่ต้องใช้เอ็นไซม์ (น้ำย่อย) มาช่วยทำให้โมเลกุลของอาหารมีขนาด เล็กลง เช่น การเปลี่ยนโมเลกุลของแป้งเป็นน้ำตาล
4
ระบบทางเดินอาหารของคน
1.กล + เคมี ประกอบด้วย 1.ช่องปาก (Oral cavity) 2.คอหอย (pharynx) 3.หลอดอาหาร (esophagus) 4.กระเพาะอาหาร (stomach) 5.ลำไส้เล็ก (small intestine) 6.ลำไส้ใหญ่ (large intestine colon) 7.ทวารหนัก (anus) 2.ไม่มีการย่อย 3.กล 4.กล+เคมี 5.กล+เคมี 6.ไม่มีการย่อย 7.ไม่มีการย่อย
5
1.ช่องปาก (Oral cavity) ปากเป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหารมีส่วนประกอบดังนี้ - ฟัน ทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง
6
ต่อมน้ำลายจะขับน้ำลาย ซึ่งมีน้ำย่อยอะไมเลส (amylase)หรือไทยาลิน(tyalin)ออกมาคลุกเคล้า
กับอาหารและช่วยในการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล
7
- ลิ้น (Tongue) เป็นกล้ามเนื้อซึ่งสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วในหลายทิศทางทำหน้าที่ช่วยในการกลืน ลิ้นทำหน้าที่ในการรับรสอาหาร เพราะที่ลิ้นมีปุ่มรับรส เรียกว่า Taste Bud อยู่ 4 ตำแหน่ง คือ รสหวาน อยู่บริเวณปลายลิ้น รสเค็ม อยู่บริเวณปลายลิ้นและข้างลิ้น รสเปรี้ยว อยู่บริเวณข้างลิ้น รสขม อยู่บริเวณโคนลิ้น
8
2. คอหอย Pharynx ไม่มีการย่อยใดๆไ เพดานอ่อน soft palate ฝาปิดช่องจมูก
ฝาปิดกล่องเสียง คอหอย ไม่มีการย่อยใดๆไ กล่องเสียง หลอดลม หลอดอาหาร
9
3.หลอดอาหาร เพอริสทาซีส (Peristalsis) คือการหด- คลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ*เชิงกล*
หลอดอาหาร ท่อลำเลียงอาหารอยู่ด้านหลังของหลอดลมและทะลุกระบังลมไปต่อกับปลายบนของกระเพาะอาหาร ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่เคี้ยวแล้วลงสู่กระเพาะอาหาร โดยการบีบรัดของผนังกล้ามเนื้อ หลอดอาหาร
11
4.กระเพาะอาหาร (Stomach)
กระเพาะอาหาร (Stomach) เป็นอวัยวะต่อจากหลอดอาหาร ในกระเพาะจะขับน้ำย่อยเพปซิน(Pepsin) ซึ่งจะย่อยอาหารโปรตีนเป็นส่วนใหญ่โดยจะ ใช้เวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง และกรดไฮโดรคลอริกเป็นส่วน ประกอบจากนั้นจะส่งต่อไปยัง ลำไส้เล็ก
12
Cardiac Sphinter Pyloric Sphinter
14
เมือก เพปซิน เรนนิน ไลเปส HCl เพปซิโนเจนPepsinogen
สารและเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยในกระเพาะอาหาร มีการย่อยโปรตีนเท่านั้น เมือก เพปซิน เรนนิน ไลเปส HCl HCl ย่อยโปรตีน พอลิเปปไทด์ ย่อยโปรตีนในนมให้เป็นเคซีนที่ตก ตะกอนเป็นลิ่มๆ แล้วเพปซินย่อยต่อ ย่อยไขมันแต่ยังทำงานไม่ได้ เพราะในกระเพาะมีสภาพเป็นกรด เพปซิโนเจนPepsinogen 1.เพปซิน pepsin 2.เรนนิน rensin โพรเรนนินProrennin 3.ไลเปส Lipase
15
5. ลำไส้เล็ก (Small intestine)
ลำไส้เล็ก (Small intestine) มีรูปร่างเป็นท่อยาวประมาณ 7-8 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ภายในลำไส้เล็กจะมีส่วนที่ยื่นออกมาจำนวนมากเรียกว่า วิลไล (villi) ภายในวิลไลมีเส้นเลือดฝอยและน้ำเหลือง ช่วยดูดซึมอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กเข้าสู่เซลล์ การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก เป็นการย่อยขั้นสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยเอ็นไซม์จากลำไส้เล็กและจากตับอ่อนในการย่อยอาหารประเภทแป้ง ไขมัน และโปรตีนและยังมีน้ำดี ซึ่งสร้างโดยตับและสะสมไว้ในถุงน้ำดี อาหารที่ย่อยแล้วซึมเข้าไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
16
ลำไส้เล็กและตับอ่อน ตับ (Liver) น้ำดี ตับอ่อน Duodenum Jejunum ส่วนต้น
ย่อยมากที่สุด Jejunum ส่วนกลาง ดูดซึมมากที่สุด ตับ (Liver) น้ำดี ตับอ่อน Ileum ส่วนท้าย
17
การย่อยเชิงเคมีในลำไส้เล็ก
คาร์โบไฮเดรต มอลเตส มอลโตส กลูโคส กลูโคส + ซูเครส ซูโครส กลูโคส ฟรักโตส + แลกเตส แลกโตส กลูโคส กาแลกโตส +
18
การย่อยเชิงเคมีในลำไส้เล็ก
อะไมเลส แป้ง กลูโคส โปรตีน ทริปซิน โปรตีนหรือเพปไทด์ กรดอะมิโน ไขมัน น้ำดี ไลเพส ไขมัน ไขมันขนาดเล็ก กรดไขมัน +กลีเซอรอล
20
แร่ธาตุ วิตามิน กลูโคส
6.ลำไส้ใหญ่ (Large Intestine) มีแบคทีเรีย E.coli ช่วยย่อยกากอาหาร ได้ B12 และ K เป็นส่วนสุดท้ายของระบบย่อยอาหาร อยู่ติดกับลำไส้เล็ก ตรงรอยต่อจะมีไส้ติ่ง(Vermiform appendix) ติดอยู่ในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้ำเข้าสู่ร่างกาย และส่งกากอาหารที่เหลือออกสู่ทวาร หนัก(อุจจาระ) ดูดซึมน้ำมากที่สุด แร่ธาตุ วิตามิน กลูโคส
21
การดูดซึมอาหาร (absorption)
เป็นขบวนการนำเอาอาหารที่ย่อยจนเป็นโมเลกุลขนาดเล็กแล้ว เข้าสู่กระแสเลือดไปยัง ส่วนต่างๆของร่างกาย 1. บริเวณปาก คอหอยและหลอดอาหารไม่มีการดูดซึม 2. บริเวณกระเพาะจะมีการดูดซึมแอลกอฮอล์ประมาณ % ของส่วนที่เข้าสู่ร่างกาย 3. บริเวณลำไส้เล็ก มีการดูดซึมมากที่สุด อาหารทั้งหลายจะดูดซึมมากที่สุดที่เจจูนัม เพราะมีวิลลัสมากที่สุด ไขมันถูกดูดซึมที่เจจูนัม วิตามินบี12 และเกลือแร่ ถูกดูดซึมที่ไอเลียม
22
การดูดซึมอาหาร เซลล์เยื่อบุ กล้ามเนื้อ หลอดเลือด วิลไล ท่อน้ำเหลือง
23
ทวารหนัก(Anus)เป็นกล้ามเนื้อหูรูด 2 ชั้น
กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักชั้นในทำงานนอกอำนาจจิตใจ แต่กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักชั้นนอกเปิดออกเมื่อร่างกายต้องการ ทวารหนักอยู่ต่อกับไส้ตรง มีกล้ามเนื้อแข็งแรงบีบตัวช่วยในการขับถ่ายกากอาหาร
25
การปฏิบัติตนในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ
1. รับประทานอาหารให้ครบทุกประเภทในแต่ละมื้อ และรับประทานอาหารแต่พอควร ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป โดยเคี้ยวอาหารให้ละเอียด 2. รับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุกใหม่ ๆ 3. ไม่รับประทานอาหารพร่ำเพรื่อ จุกจิกและทานตรงเวลา 4. อย่ารีบรับประทานอาหารขณะกำลังเหนื่อย 5. ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีรสจัดจนเกินไป 6. ถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาและสม่ำเสมอ
26
แบบฝึกหัด จงจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน 1.ลิ้น ก.ย่อยอาหารพวกโปรตีนเท่านั้น ข.ผลิตน้ำดีใช้ในในการย่อยไขมัน 2.น้ำลาย 3.หลอดอาหาร ค.รับรู้รสชาติอาหาร ง.ทำให้อาหารอ่อนนุ่ม กลืนสะดวก 4.กระเพาะอาหาร 5.ลำไส้เล็ก จ.ดูดซึมน้ำและเกลือแร่บางส่วนที่เหลือ 6.ลำไส้ใหญ่ ฉ.ย่อยอาหารทุกประเภท 7.ตับ ช.ลำเลียงอาหารไปสู่กระเพาะอาหาร
27
แหล่งสืบค้นที่น่าสนใจ
28
ขอให้โชคดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.