ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม
2
“แผ่นฟองน้ำรองกล่อง LARYNGOSCOPE”
3
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์ประกอบด้วย
แผ่นฟองน้ำขนาด 8 x 13 x 4 ซม จำนวน 3 แผ่น สติกเกอร์ใสหน้าเดียวขนาด 20 x 26 ซม. สติ๊กเกอร์ใส 2 หน้า มีดคัตเตอร์
4
วิธีการประดิษฐ์ 1. ตัดฟองน้ำตามความหนาของฟองน้ำโดยให้ความกว้างและความยาวเท่าเดิม คือ 8 x 13 x 2 ซม. จำนวนทั้ง 3 แผ่นจะได้ฟองน้ำทั้งหมด 6 แผ่น 2. นำฟองน้ำที่ตัดได้ตามขนาดจากข้อ 1 มาจำนวน 1 แผ่นและทำการตัดครึ่ง 3. นำฟองน้ำเก่าและสติ๊กเกอร์ใสเดิมออกจากกล่อง Laryngoscope หลังจากนั้นเช็ดทำความสะอาด
5
วิธีการประดิษฐ์ ติดแผ่นพลาสติกใสหน้าเดียวตามความกว้าง ของกล่อง Laryngoscope ดังรูป
6
วิธีการประดิษฐ์ ติดสติ๊กเกอร์ใส 2 หน้าตามขอบและตรงกลางกล่อง Laryngoscope นำฟองน้ำที่ตัดได้ตามขนาดจากข้อ 1 มาวางบนฝากล่อง Laryngoscope จำนวน 4 แผ่น นำฟองน้ำที่ตัดได้ตามขนาดจากข้อ 2 มาวางบนฝากล่อง Laryngoscope จำนวน 2 แผ่น และทำการจัดให้เรียบร้อยจะได้แผ่นฟองน้ำรองกล่อง Laryngoscope ใหม่
7
แผ่นฟองน้ำเก่าที่เปื่อยยุ่ย แผ่นฟองน้ำใหม่สีสันสวยงาม
แผ่นฟองน้ำเก่าที่เปื่อยยุ่ย แผ่นฟองน้ำใหม่สีสันสวยงาม กล่อง Laryngoscope ใหม่ รวมค่าใช้จ่ายประมาณ 30 บาท
8
“ข้อความเตือนความจำ”
9
“สื่อการสอนประกอบการเช็ควันหมดอายุของน้ำยาล้างไต”
10
“สื่อการสอนประกอบการเช็ควันหมดอายุของน้ำยาล้างไต”
11
“อุปกรณ์ผสมน้ำยาที่ใช้อบฆ่าเชื้อตัวกรองไตเทียม”
เจ้าหน้าที่หน่วยไตเทียมล้างตัวกรอง ใช้เครื่องอัตโนมัติ ล้างตัวกรอง
12
ความเป็นมา เจ้าหน้าที่หน่วยไตเทียมล้างตัวกรองแบบเก่าใช้การผสมน้ำยาหลายรอบ เจ้าหน้าที่หน่วยไตเทียมล้างตัวกรองแบบใหม่ ลดรอบการผสมน้ำยา ใช้เครื่องอัตโนมัติ ล้างตัวกรอง ใช้เวลาในการล้างตัวกรองน้อยกว่าการใช้เครื่อง ใช้เวลาในการล้างตัวกรองมากกว่าคนล้าง ประหยัดค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายสูง เสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมี เสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมีลดลงจาก ลดการสัมผัสสารเคมี มีการสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่ง ลดการสัมผัส เลือดและสารคัดหลั่ง มีการฟุ้งกระจายสารเคมีมากที่สุด ลดการฟุ้งกระจายสารเคมี
13
วิธีการผสมน้ำยา แบบเดิม แบบใหม่ ใช้ถุงน้ำเกลือ 1000 ซีซี
ใช้แกลลอนน้ำยา 5,000 ซีซี ผสมน้ำยา 1 รอบใช้ได้ 2 ครั้ง ผสมน้ำยา 1 รอบใช้ได้ 10 ครั้ง
14
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์ประกอบด้วย
แกลลอนน้ำยาขนาด 5.5 ลิตร จำนวน แกลลอน สายส่งเลือด (Blood line) ที่ไม่ได้ใช้แล้ว จำนวน เส้น ชุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ (IV Set) จำนวน Set ชุดให้เลือด (Blood Transfusion) จำนวน Set ชุดต่อ 3 ทาง (Three-way) จำนวน Set Disposable Syring 50 cc. จำนวน Set ปากกา Permanent เหล็กแหลมสำหรับใช้เจาะรู กรรไกร
15
วิธีการประดิษฐ์ ทำการเจาะรูฝาแกลลอนขนาดเท่ากับชุดให้เลือด ดังรูป
16
วิธีการประดิษฐ์ ทำการเจาะรูบริเวณด้านข้างของแกลลอนทั้ง 4 ด้าน
โดย เจาะตำแหน่งตรงกลาง ดังรูป
17
วิธีการประดิษฐ์ ปิดฝาแกลลอนน้ำยาและชั่งตวงวัดปริมาตรเพื่อกำหนดขีดแสดงปริมาตรของน้ำยาและเขียนปริมาตรของน้ำยาให้ชัดเจนด้วยปากกา Permanent ดังรูป
18
วิธีการประดิษฐ์ นำชุดให้เลือดมาใส่ในรูที่เจาะไว้ที่ฝาแกลลอนน้ำยา ดังรูป
19
วิธีการประดิษฐ์ นำชุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ (IV Set) จำนวน 2 Set และ Disposable Syring 50 cc. มาต่อเข้ากับชุดต่อ 3 ทาง (Three-way) ดังรูป
20
นำอุปกรณ์ที่ได้จากข้อ 5 ไปต่อเข้ากับ แกลลอนน้ำยา
วิธีการประดิษฐ์ นำอุปกรณ์ที่ได้จากข้อ 5 ไปต่อเข้ากับ แกลลอนน้ำยา Peroxan-D ดังรูป
21
วิธีการประดิษฐ์ นำสายส่งเลือดที่ตัดได้ตามขนาดและชุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำที่ต่อจากDisposable Syring 50 cc. มาใส่ในรูที่เจาะไว้ที่แกลลอนน้ำยา ดังรูป
22
นำไปแขวนในตำแหน่งเตรียมไว้สำหรับการใช้งานในการผสมน้ำยาอบฆ่าเชื้อดังรูป
วิธีการประดิษฐ์ นำไปแขวนในตำแหน่งเตรียมไว้สำหรับการใช้งานในการผสมน้ำยาอบฆ่าเชื้อดังรูป
23
งบประมาณที่ใช้ในการประดิษฐ์คิดค้น
ชุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ จำนวน 2 Set ราคา Set ละ 9 บาท รวม 18 บาท ชุดให้เลือด จำนวน1 Set ราคา Set ละ 23 บาท รวม 23 บาท ชุดต่อ 3 ทาง จำนวน 1 Set ราคา Set ละ 16 บาท รวม 16 บาท Disposable Syring 50 cc. จำนวน 1 Set ราคา Set ละ 25 บาท รวม 25 บาท รวมค่าใช้จ่าย 82 บาท
24
ปีหน้าจะทำอะไรดีหนออออออ?????
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.