งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการการระบาด ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการการระบาด ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการการระบาด ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)
FREE TEMPLATES INSERT THE TITLE OF YOUR PRESENTATION HERE กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

2 ที่มาและความสำคัญ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall armyworm) เป็นศัตรูพืชต่างถิ่นที่ไม่เคยพบระบาดในประเทศไทยมาก่อน โดยมีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา ต่อมามีการระบาดไปหลายประเทศทั่วโลก ในทวีปเอเชียมีรายงานพบ การระบาดครั้งแรกช่วงปี 2561 ณ ประเทศสาธารณรัฐอินเดียและแพร่ระบาด เข้ามาในประเทศไทยในปีเดียวกัน เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2561 ที่จังหวัดตาก จ.ตาก

3 หนอนชนิดนี้ทำลายข้าวโพดตั้งแต่อายุประมาณ 7 วัน จนกระทั่งออกฝัก และจะทำลายพืชในระยะที่เป็นตัวหนอนเท่านั้น โดยกัดกินยอดและใบข้าวโพดแหว่งหรือกัดทั้งแผ่นใบ ตัวหนอนจะหลบซ่อนแสง อยู่ที่ยอด หรือโคนกาบใบข้าวโพด วงจรชีวิตหนอน 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ วัน เมื่อผสมพันธุ์แล้ว เพศเมียจะวางไข่ในเวลากลางคืน หนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 1,500 ถึง 2,000 ฟอง ระยะไข่ 2-3 วัน หนอนมี 6 วัย โดยตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อกลางคืน การแพร่รระบาดโดยตัวเต็มวัย สามารถบินได้ไกลเฉลี่ย 100 กิโลเมตรต่อคืน ทำให้การระบาดเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วและขยายวงกว้าง ความเสียหายที่เห็นได้ชัดคือ ในระยะต้นอ่อนอายุน้อยกว่า 40 วัน จะทำให้ผลผลิตเสียหายมากกว่า 70% หากไม่ดำเนินการจัดการตามที่ทางราชการแนะนำ แต่หากดำเนินการจัดการอย่างเหมาะสมจะสามารถควบคุมการระบาดได้และมีผลกระทบต่อผลผลิตน้อยกว่า 20%

4 สถานการณ์การระบาด ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฏาคม 2562 ฤดูปลูกข้าวโพดหลังนา
สถานการณ์การระบาด ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฏาคม 2562 ฤดูปลูกข้าวโพดหลังนา (พ.ย. 61 – ก.พ. 62) ฤดูปลูกข้าวโพดต้นฝน (มี.ค. – มิ.ย. 62) พื้นที่ปลูก 950,631 ไร่ พื้นที่ระบาด 32 จังหวัด จำนวน 164,525 ไร่ (17.31%) ควบคุมได้ไม่กระทบผลผลิต 147,250 ไร่ (89.5%) กระทบผลผลิต 17,275 ไร่ (10.5%) พื้นที่ปลูก ล้านไร่ มีพื้นที่ระบาด 41 จังหวัด จำนวน 473,883 ไร่ (30.6%) ระดับรุนแรงมาก 193,766 ไร่ (12.52%) ระดับรุนแรงน้อย 280,116 ไร่ (18.10%)

5 การระบาดของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ( Fall Armyworm )
ลำดับที่ จังหวัด พื้นที่การผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) พื้นที่ระบาดปัจจุบัน (ไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) พื้นที่ยืนต้น (ไร่) พื้นที่ระบาดรุนแรงมาก พื้นที่ระบาดรุนแรงน้อย รวม พื้นที่ระบาด รวมทั้งหมด 172,822 1,548,140.03 193,766.46 280,116.70 473,883.16 1 กระบี่ 20 93.00 21.75 8.25 30.00 2* กาญจนบุรี 5,204 34,529.00 1,137.00 12,514.00 13,651.00 3 กาฬสินธุ์ 1,463 6,048.75 - 4 กำแพงเพชร 1,665 9,298.00 5 ขอนแก่น 1,621 6,462.25 17.00 6 จันทบุรี 248 5,029.00 4,075.50 7 ฉะเชิงเทรา 45 342.00 8 ชลบุรี 103 470.00 12.25 9 ชัยนาท 275 3,484.25 10 ชัยภูมิ 1,939 7,689.75 537.75 11 ชุมพร 79 162.00 12* เชียงราย 12,563 141,929.75 10,116.50 13 เชียงใหม่ 3,464 11,575.00 1.00 352.50 353.50 14* ตาก 6,255 92,919.25 37,941.81 38,692.00 76,633.81 15 ตรัง 1.50 16 นครนายก 3.00 17 นครปฐม 1,168 3,178.00 84.00 18 นครพนม 985 1,286.00 9.75

6 พื้นที่การผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) พื้นที่ระบาดปัจจุบัน (ไร่)
ลำดับที่ จังหวัด พื้นที่การผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) พื้นที่ระบาดปัจจุบัน (ไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) พื้นที่ยืนต้น (ไร่) พื้นที่ระบาดรุนแรงมาก พื้นที่ระบาดรุนแรงน้อย รวม พื้นที่ระบาด 19 นครราชสีมา* 7,884 60,857.50 - 31,288.00 20 นครศรีธรรมราช 542 2,187.00 4.00 21.50 25.50 21 นครสวรรค์* 8,155 155,323.00 1,461.00 44,747.00 46,208.00 22 นราธิวาส 926 1,236.00 23.00 49.00 72.00 23 น่าน 1,903 6,627.00 13,170.00 2,013.75 15,183.75 24 บึงกาฬ 104 500.50 25 บุรีรัมย์ 567 2,083.50 26 ปทุมธานี 135 37.00 27 ประจวบคีรีขันธ์ 176 940.00 28 ปราจีนบุรี 377 6,707.00 3,235.00 29 ปัตตานี 1,203 798.00 1.00 24.00 30 พระนครศรีอยุธยา 85.50 31 พะเยา* 16,376 74,772.50 38,520.00 33,211.50 71,731.50 32 พังงา 3.75 33 พัทลุง 97 154.00 1.25 34 พิจิตร 1,115 15,783.50 290.00 2,483.50 2,773.50 35 พิษณุโลก 9,416 53,947.85 3,746.00 2,357.00 6,103.00 36 เพชรบุรี 368 1,881.00 37 เพชรบูรณ์* 17,245 281,741.25 33,875.95 34,332.45 68,208.40 38 แพร่* 15,565 74,489.00 17,800.75 5,165.50 22,966.25

7 พื้นที่การผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) พื้นที่ระบาดปัจจุบัน (ไร่)
ลำดับที่ จังหวัด พื้นที่การผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) พื้นที่ระบาดปัจจุบัน (ไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) พื้นที่ยืนต้น (ไร่) พื้นที่ระบาดรุนแรงมาก พื้นที่ระบาดรุนแรงน้อย รวม พื้นที่ระบาด 39 ภูเก็ต 1 3.00 - 40 มหาสารคาม 644 289.00 22.00 41 มุกดาหาร 199 788.75 42 แม่ฮ่องสอน 1,702 10,917.00 43 ยโสธร 319 894.75 44 ยะลา 1.00 45 ร้อยเอ็ด 2,267 9,306.00 46 ระยอง 19 28.00 47 ราชบุรี 723 2,111.75 47.50 48 ลพบุรี* 6,747 129,741.75 12,701.50 9,812.00 22,513.50 49 ลำปาง 5,360 30,003.25 2,545.00 152.00 2,697.00 50 ลำพูน 1,114 5,660.00 51 เลย* 10,254 114,035.99 14,564.00 5,224.00 19,788.00 52 ศรีสะเกษ 1,469 5,414.00 53 สกลนคร 1,407 3,186.00 54 สงขลา 1,007 1,615.50 8.50 55 สตูล 259 363.25 4.00 7.00 56 สระแก้ว* 989 15,717.00 25,343.50 57 สระบุรี* 5,191 62,057.00 10,007.00 11,727.50 21,734.50 58 สิงห์บุรี 10 109.75 59 สุโขทัย 2,853 16,731.05 582.00 2,474.75 3,056.75 60 สุพรรณบุรี 862 6,624.00

8 * พื้นที่ระบาดมากกว่า 10,000 ไร่
ลำดับที่ จังหวัด พื้นที่การผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) พื้นที่ระบาดปัจจุบัน (ไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) พื้นที่ยืนต้น (ไร่) พื้นที่ระบาดรุนแรงมาก พื้นที่ระบาดรุนแรงน้อย รวม พื้นที่ระบาด 61 สุราษฎร์ธานี 1,087 1,696.00 62 สุรินทร์ 632 1,324.00 63 หนองคาย 523 3,136.75 64 หนองบัวลำภู 1,521 11,575.25 140.00 7.00 147.00 65 อ่างทอง 26 66.00 66 อำนาจเจริญ 249 1,237.50 - 67 อุดรธานี 895 3,237.00 6.00 68 อุตรดิตถ์ 3,090 30,120.39 5,154.20 69 อุทัยธานี 1,811 13,928.50 70 อุบลราชธานี 286 1,568.00 13.00 * พื้นที่ระบาดมากกว่า 10,000 ไร่

9 การดำเนินงานแก้ไขปัญหา มีการเตรียมการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
จัดทำมาตรการเพื่อป้องกันการระบาด ได้แก่ สร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ในทุกช่องทาง ให้เกษตรกรสำรวจแปลงปลูกข้าวโพดและพืชที่เป็นพืชอาหารอย่างสม่ำเสมอ ให้รู้จักและทราบถึงวิธีป้องกันกำจัดที่ถูกต้องตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร

10 เจ้าหน้าที่ออกสำรวจและติดตามสถานการณ์การระบาดของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดและพื้นที่ปลูกพืชอาหารชนิดอื่น ๆ ของหนอนกระทู้ เช่น ข้าว ข้าวฟ่าง อ้อย ฝ้าย ทานตะวัน ถั่วเหลือง หญ้า และพืชผักชนิดต่าง ๆ

11 ส่งเสริมให้เกษตรกรสำรวจแปลงข้าวโพดของตนเองเป็นประจำ

12

13

14 มาตรการเพื่อการควบคุมการระบาด
แนะนำเกษตรกรควบคุมและกำจัดการระบาดของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด ดังนี้ - สำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ - คลุกเมล็ดด้วยสารเคมีตามคำแนะนำก่อนปลูก - ปล่อยศัตรูธรรมชาติ และสารชีวภัณฑ์ - เก็บกลุ่มไข่และตัวหนอนทำลาย - ใช้กับดักเพื่อกำจัดตัวเต็มวัย - ใช้สารเคมีตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร

15 การสนับสนุนของภาครัฐ
สนับสนุนให้ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ดำเนินการผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ เช่น แมลงหางหนีบ เพื่อควบคุมหนอนกระทู้ในแปลงตนเองและสมาชิกให้ลดความรุนแรง

16 จัดทำโครงการควบคุมหนอนกระทู้ fall armyworm โดยชีววิธี
ผลิตศัตรูธรรมชาติพร้อมปล่อย จำนวน 6.09 ล้านตัว และ แตนเบียนไข่ 240,000 แผ่น (แผนละ 2,000 ตัว รวมจำนวน 480 ล้านตัว)

17 การใช้กับดักเพื่อกำจัดตัวเต็มวัย

18 ดำเนินการติดตามสถานการณ์การระบาดและระดมความเห็นในการแก้ไขปัญหาให้เกษตรกรร่วมกับหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ เช่น หน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย กอ.รมน.

19 ระดมจิตอาสา รณรงค์ป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ในหลายพื้นที่ เช่น จังหวัดพะเยา นครราชสีมา และจังหวัดแพร่ เป็นต้น

20 ประเด็นเน้นย้ำในการควบคุมการระบาด
บูรณาการระหว่างหน่วยงานให้เป็นไปตามหนังสือสั่งการสำนักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด่วนที่สุด ที่ กษ 0212/ว 3945 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2562 ให้เกษตรจังหวัด สรุปสถานการณ์ความเสียหายและประเมินแนวโน้มการ แพร่ระบาดจัดส่งให้เกษตรและสหกรณ์จังหวัด (กษ.) เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา และมอบหมายดำเนินการ ให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องออกไปเยี่ยมเยียนและดูแลและ ให้คำแนะนำที่ถูกต้องแก่เกษตรกรในพื้นที่เสี่ยงภัยให้เป็นประจำ โดยให้หน่วยงานส่วนกลางทำหน้าที่อำนวยการช่วยเหลือสนับสนุนการทำงานของหน่วยงานในพื้นที่ ให้เกษตรจังหวัดประสานการช่วยเหลือเยียวยาและฟื้นฟูเกษตรกรผู้ประสบภัย ตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้เกษตรจังหวัดติดตามสถานการณ์และกำหนดมาตรการควบคุมและป้องกัน การระบาดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเพื่อลดผลกระทบที่มีต่อผลผลิตการเกษตรในทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง


ดาวน์โหลด ppt การจัดการการระบาด ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google