ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การทดสอบ (Testing) การสัมภาษณ์ (Interviewing) การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) การสังเกต (Observation) การเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน (Participation) ฯลฯ
2
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ศึกษาและทบทวนทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ ต้องการจะสร้างเครื่องมือ โดย พิจารณา ความหมายของตัวแปร เครื่องมือที่ใช้วัด วิธีการสร้างและตรวจสอบข้อมูล ผลที่ได้จากเครื่องมือ
3
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ตัวแปรต้น ปัจจัยส่วนบุคคล ตอนที่ 1 ตอนที่ 3 ตัวแปรตาม พฤติกรรม การออกกำลังกาย ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ สุขภาพร่างกาย ตอนที่ 2 ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ
4
การทบทวนในประเด็นต่อมา
1.แนวคิดทฤษฎี 2.ปัจจัยที่ส่งผล/เป็นสาเหตุต่อตัวแปรตาม 3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 3 ตัวแปรตาม องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ 6 สิ่งที่จะได้รับ
5
ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น
องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 3 ตัวแปรตาม องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ 5 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 6 ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น
6
ประเด็นการทบทวนวรรณกรรมต่อไป
ความหมาย/แนวคิด/องค์ประกอบของตัวแปรต้น ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 3 ตัวแปรตาม องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ 5 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 6 ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น
7
การกำหนดตัวแปร ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
8
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม
ถ้าเปรียบเทียบการทำงานวิจัยชิ้นหนึ่งเป็นการ เดินทาง ระยะทางจากตัวแปรสู่แบบสอบถาม เป็นระยะทางวิบากที่นักวิจัยต้องประสบในการ เดินทาง โดยทั่วไปนักวิจัยทราบดีว่าตัวแปรคือ อะไร และแบบสอบถามคืออะไร ตัวแปรคือสิ่งที่ แปรเปลี่ยนได้ และทำให้อะไรที่มาสัมพันธ์กับ มันแปรเปลี่ยนไปด้วย ดังนั้น ตัวแปรจึงเป็นสิ่งที่ นักวิจัยนำมาให้ค่า หรือตัวเลขได้มากกว่า 1 ค่า ตามขอบเขตที่กำหนดไว้ สิ่งใดที่มีค่าคงที่เพียง ค่าเดียว สิ่งนั้นเรียกว่าค่าคงที่ (constant) ไม่ใช่ ตัวแปร
9
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(2)
ตัวอย่างจากคะแนนเต็ม 10 นาย ก ได้ คะแนนความซื่อสัตย์ต่อคู่สมรส 6 คะแนน ขณะที่นาง ข ได้คะแนนความซื่อสัตย์ 8 คะแนน นักวิจัยสนใจว่า เป็นเพราะนาง ข เป็นผู้หญิงหรือไม่จึงได้คะแนนความซื่อสัตย์สูง กว่า จริงหรือที่ผู้หญิงมีความซื่อสัตย์สูงกว่า ผู้ชาย ในที่นี้นักวิจัยสนใจความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว คือ เพศและความซื่อสัตย์ต่อคูสมรส แปรเปลี่ยนไปตามลักษณะของเพศของบุคคล หรือไม่ หรือความแตกต่างในลักษณะเพศ คือ ความเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายทำให้บุคคลมี ระดับของความซื่อสัตย์ต่อคู่สมรสแตกต่างกัน หรือไม่
10
หน้าที่ของตัวแปรในที่นี้
ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) เพศ (ระดับวัดเป็นกลุ่ม) -ชาย -หญิง คะแนนความซื่อสัตย์ (ระดับวัดเป็นคะแนน)
11
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(3)
หากนักวิจัยสนใจที่จะศึกษาว่า ใน บรรดาผู้ชายวัยหนุ่มหรือวัยกลางคน วัย ใดจะมีความซื่อสัตย์ต่อคู่สมรสมากกว่ากัน ในที่นี้ เพศเป็นตัวคงที่ เพราะทุกหน่วย ของตัวอย่างจะมีค่าของเพศคงที่เพียงค่า เดียว เนื่องจากนักวิจัยสนใจที่จะดู ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว คือ อายุ และความซื่อสัตย์ต่อคู่สมรส ของ กลุ่มตัวอย่างเพศชายเท่านั้น
12
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(4)
สำหรับแบบสอบถาม คนส่วนใหญ่ทราบกันว่า คือชุด ของคำถามที่นักวิจัยใช้ถามผู้ที่ตกเป็นตัวอย่างที่ ต้องการศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่นักวิจัยต้องการ แบบสอบถามจึงเป็นเครื่องมือสำคัญชนิดหนึ่งที่ นักวิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาทำการ วิเคราะห์ แต่ความหมายที่ลึกลงไปนั้น แบบสอบถาม คือที่รวมของคำถาม ซึ่งก็คือ เครื่องมือ ที่นักวิจัยใช้ เจาะหรือวัด (measure) ตัวแปรที่ตนต้องการศึกษา ตัวแปรบางตัวอาจวัดได้ง่ายกว่าตัวแปรบางตัว เช่น ตัวแปรเพศ หรือ อายุ เป็นตัวแปรที่วัดได้ง่าย ใช้เพียง คำถามเดียว ว่าปัจจุบันท่านอายุเท่าไร... ก็เพียงพอ แล้ว หรือตัวแปรเพศ เพียงมองด้วยตา นักวิจัยก็ สามารถวงในแบบสอบถามได้ทันทีว่าผู้ตอบเป็นชาย หรือหญิง
13
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(5)
ตัวแปรบางตัววัดได้ยากมาก โดยเฉพาะ ตัว แปรที่นักวิจัยไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เหมือนที่สามารถมองเห็นว่านายก สูงกว่านาย ข หรือนาย ก หนักกว่า นาย ข ซึ่ง นอกจากจะพอคะเนได้ด้วยการมองแล้วก็ยังมี เครื่องมือที่สามารถวัดได้ง่าย และเที่ยงตรง เช่น เครื่องวัดส่วนสูง หรือเครื่องชั่งน้ำหนัก ตัวแปรที่วัดได้ยากเช่นนี้ มักจะเป็นตัวแปรที่ เกี่ยวกับทัศนคติหรือความคิดเห็น หรือตัวแปร ในเชิงนามธรรม ซึ่งจะวัดได้ด้วยการถาม คำถามที่เขียนขึ้นมาอย่างตรงต่อเนื้อหรือแก่น และครอบคลุมสิ้นทุกลักษณะ อันจำเป็นของ นามธรรมนั้นๆ และยังต้องขึ้นอยู่กับการตอบ อันซื่อตรง จริงใจ ของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้วย
14
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(6)
การเขียนแบบสอบถาม หรือการเขียนคำถาม เพื่อให้ไดมาซึ่งเนื้อหาหรือรายละเอียดเกี่ยวกับ ตัวแปร โดยเฉพาะการให้ไดมาซึ่งแก่นของตัว แปรนามธรรมที่นักวิจัยต้องการวัดนั้น เป็นสิ่งที่ ทำไม่ได้ง่ายๆ อย่างไรก็ตาม ถ้านักวิจัย เข้าใจกระบวนการลดระดับจากทฤษฎี สู่ ระดับเชิงประจักษ์ จะช่วยให้การเข้าสู่เนื้อหา ของตัวแปรนามธรรมหรือตัวแปรซึ่งยากต่อการ วัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพคือ มีความ บิดเบือนหรือคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
15
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(7)
จากทฤษฎีสู่ข้อมูลเชิงประจักษ์ ระยะทางจากทฤษฎีสู่ข้อมูลเชิงประจักษ์อาจแลเห็นไม่ชัด ในตัวแปรทั่วไปซึ่งนักวิจัยสามารถให้คำนิยามเชิงปฏิบัติการได้ทันที คำนิยามเชิงปฏิบัติการ (Operational Definition) คือคำนิยามหรือคำจำกัดความซึ่งนักวิจับระบุการปฏิบัติการเกี่ยวกับตัวแปรนั้นๆ นั่นคือระบุว่า นักวิจัยต้องการวัดตัวแปรนั้นๆ อย่างไร เป็นการแปรตัวแปรซึ่งอยู่ในลักษณะนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เป็นความพยายามที่จะเข้าให้ถึงตัวแปรว่าคืออะไร และจะวัดด้วยสิ่งนั้นจริงๆ ในโลกนี้ได้อย่างไร อายุ เป็นตัวแปรที่ให้คำนิยามทางเศรษฐกิจของบุคคลด้วยอัตรารายได้ต่อเดือน เป็นต้น
16
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(8)
X (ฐานะทางเศรษฐกิจ) X (รายได้)
17
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(9)
จะเห็นได้ว่าระยะทางจาก x ถึง x คือ จากระดับนามธรรม (อย่างอ่อนๆ ) ถึง ระดับการวัด หรือระดับข้อมูลเชิง ประจักษ์ในที่นี้ ไม่สู้จะมีการ คลาดเคลื่อนมากนัก แต่ในระดับตัวแปร ที่เป็นนามธรรมแท้จริงอย่างความ ซื่อสัตย์ ความกตัญญูหรือความแปลก แยก ระยะทางจาก x ถึง x เป็นระยะทาง ที่อาจเกิดความคลาดเคลื่อนได้มาก
18
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(10)
x ระดับทฤษฎี (นามธรรม) (ความซื่อสัตย์) คำนิยามทางทฤษฎี คำนิยามเชิงปฏิบัติการ ระดับข้อมูลเชิงประจักษ์ (ความซื่อสัตย์) x
19
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม(11)
จากรูปที่ 1 จะเห็นว่า X หรือความซื่อสัตย์ เป็นตัวแปรในระดับนามธรรม ซึ่งจำเป็นต้องมี การให้คำจำกัดความหรือนิยามทางทฤษฎี ซึ่ง เป็นการให้คำจำกัดความตามกรอบทฤษฎี หรือ ตามการตกลงร่วมกันของนักวิชาการซึ่งได้ ศึกษาตัวแปรนั้นๆ มาแล้วก่อนหน้า และได้ ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา ในกรณีที่เป็นตัวแปร ใหม่ ยังไม่มีผู้ใดให้คำจำกัดความทางทฤษฎี มาก่อน นักวิจัย หรือคณะผู้วิจัยอาจศึกษา กรอบทฤษฎี หรือค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แล้ว สรุปตกลงร่วมกันที่จะให้คำนิยามทางทฤษฎีแก่ คำนั้นๆ ขึ้นใหม่ก็ได้ ปกติคำนิยามทางทฤษฎี มักจะเป็นคำจำกัดความในระดับสูง เป็นคำ จำกัดความที่ยังไม่พร้อมที่จะนำมาใช้ในการ ปฏิบัติงานวิจัยจริง เนื่องจากยังไม่มีการระบุ วิธีการวัดตัวแปรนั้นๆ อันเป็นหน้าที่ของคำ นิยามเชิงปฏิบัติการ
20
ขวัญและกำลังใจในชีวิต
ความหมายทางทฤษฎี นิยามเชิงปฏิบัติการ
21
ขวัญและกำลังใจในชีวิต
ได้มีการศึกษาไว้ว่า การมีขวัญ และกำลังใจในชีวิตของบุคคล สามารถที่จะดูได้จากความ พอใจในงานที่ทำ ความพอใจใน ชีวิตส่วนตัว และความพึงพอใจ ในชุมชนที่อาศัยอยู่
22
มโนทัศน์ของขวัญและกำลังใจ
ประกอบด้วยตัวแปร 3 ตัว ความพอใจในงานที่ทำ ความพอใจในชีวิตส่วนตัว ความพึงพอใจในชุมชนที่อาศัยอยู่
23
ความพอใจในงานที่ทำ ได้มีการศึกษาไว้แล้วว่า ความพอใจ ในงานที่ทำ (Job Satisfaction)รวม อาการเหล่านี้ไว้คือ มีความพอใจใน งานที่รับผิดชอบ มีความพอใจใน ผู้บังคับบัญชา มีความพอใจในเพื่อน ร่วมงาน และมีความพอใจในองค์กร หรือหน่วยงานที่ตนทำอยู่
24
จากตัวแปรสู่แบบสอบถาม
มโนทัศน์ ตัวแปร ตัวชี้ คำถาม ขวัญและกำลังใจในชีวิต 1.ความพอใจในงานที่ รับผิดชอบ 2.ความพอใจในตัว ผู้บังคับบัญชา 3.ความพอใจใน เพื่อนร่วมงาน 4.ความพอใจในองค์กร 1.ความพอใจในงานที่ทำ 2.ความพอใจใน ชีวิตส่วนตัว 3.ความพอใจใน ชุมชนที่อาศัยอยู่
25
ลักษณะของตัวแปรที่จะสร้าง
ตัวแปรที่เป็นลักษณะทางกายภาพที่เป็นตัวแปรเดี่ยว ตัวแปรที่เป็นลักษณะทางกายภาพที่เป็นตัวแปรรวม ตัวแปรที่มีลักษณะเป็นภาวะสันนิษฐาน (Construct) หรือเป็นคุณลักษณะแฝง (Latent Trait) ต้องสร้างตัวแปรที่มีลักษณะบ่งชี้โดยตรง (Manifest)
26
การสร้างแบบสอบถาม การสร้างข้อคำถาม
ตัวแปรที่เป็นลักษณะทางกายภาพที่เป็นตัวแปร เดี่ยว การสร้างข้อคำถาม ขั้นที่ 1 การนิยามตัวแปร ขั้นที่ 2 ตั้งคำถามจากตัวแปร
27
ข้อคำถาม ปลายปิด ปลายเปิด
28
ปลายปิด 1.อายุ (1) ต่ำกว่า 20 ปี (2) 20-29 ปี (3) 30-39 ปี
(1) ต่ำกว่า 20 ปี (2) ปี (3) ปี (4) 40 ปีขึ้นไป
29
ปลายเปิด 1.อายุปัจจุบัน.................................ปี
2.อาชีพของท่าน (1) รับราชการ (2) พนักงานรัฐวิสาหกิจ (3) พนักงานบริษัทเอกชน (4) ธุรกิจส่วนตัว (5) รับจ้าง (6) อื่นๆ (ระบุ)
30
ตัวแปรที่เป็นลักษณะทางกายภาพที่เป็นตัวแปรรวม
ขั้นที่ 1 การนิยาม (Definition) ตัวแปรวม ระดับที่ 1 นิยามเชิงทฤษฎี ระดับที่ 2 นิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวอย่าง---การนิยามตัวแปร ฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน นิยามเชิงทฤษฎี หมายถึงภาวะทางการเงินของสมาชิก นิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง รายได้ รายจ่ายของครัวเรือนและสมาชิกแต่ละคน
31
ขั้นที่ 2 การสร้างข้อคำถาม
(ต่อ) ขั้นที่ 2 การสร้างข้อคำถาม ปลายปิด ปลายเปิด
32
ตัวแปรที่มีลักษณะเป็นภาวะสันนิษฐาน (Construct) หรือเป็นคุณลักษณะแฝง (Latent Trait)
ลักษณะสำคัญ เป็นลักษณะที่เกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึก เป็นลักษณะเฉพาะตัวในแต่ละบุคคล มีทิศทางการแสดงออก มีโอกาสที่จะเปลี่ยนแปลง มีลักษณะความมากน้อยของลักษณะนั้นแตกต่างกัน เป็นลักษณะของอารมณ์และความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
33
ส่วนประกอบที่สำคัญของภาวะสันนิษฐาน
ภาวะที่คาดหวัง ส่วนที่เป็นกรรม กลุ่มเป้าหมาย
34
การสร้างข้อคำถามของตัวแปรที่เป็น ภาวะสันนิษฐาน
ส่วนของข้อความ (Statement) ส่วนของคำตอบ (Response)
35
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามตัวแปรที่เป็นภาวะสันนิษฐาน
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างส่วนของข้อความที่ได้มาจาก การนิยาม (Definition) ตัวแปร ขั้นตอนที่ 2 สร้างตารางแสดงพฤติกรรมบ่งชี้
36
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างส่วนของข้อความ ที่ได้มาจากการนิยาม (Definition) ตัวแปร
แบ่งการนิยามเป็น 2 ระดับ ระดับที่ 1 การนิยามเชิงทฤษฎี (Conceptual Definition :CD) เป็นการใช้ทฤษฎีมาอธิบายหรือให้ความหมายของตัวแปร ยังคงมีลักษณะเป็นนามธรรม ไม่สามารถสังเกตหรือวัดได้โดยตรง ระดับที่ 2 การนิยามเชิงปฏิบัติการ (Operational Definition :OD) นิยามเชิงทฤษฎีที่เป็นนามธรรมให้มีลักษณะเป็นรูปธรรม ทำให้สามารถสังเกตและวัดตัวแปรดังกล่าวได้
37
ตัวอย่าง ตัวแปร—ความซื่อสัตย์ของนักเรียน
CD:การที่นักเรียนมีความประพฤติถูกต้องและตรงต่อความเป็นจริง ทั้งกาย วาจา และใจ OD:การกระทำหรือพฤติกรรมและการแสดงความรู้สึกของนักเรียน ในเรื่อง การไม่ทุจริต การพูดความจริง การตรงต่อเวลา การปฏิบัติตน อย่างถูกต้องตามระเบียบของสังคมและโรงเรียน
38
ขั้นตอนที่ 2 สร้างตารางแสดงพฤติกรรมบ่งชี้
การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน ประเด็น พฤติกรรมบ่งชี้ 1.การมีส่วนร่วมในการบริหารทรัพยากร 1.1 ร่วมกำหนดและวางแผนความต้องการของบุคคล 1.2 ร่วมในการจัดทำแผน 1.3 ร่วมกำหนดความรับผิดชอบในปฏิบัติงาน 1.4 ร่วมสรรหาและคัดเลือกบุคคล 2.การมีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากร 2.1ร่วมวางแผนการฝึกอบรมบุคลากร 2.2ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา 2.3เข้าร่วมฝึกอบรมในโครงการพัฒนาบุคลากร 3.การมีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.1 ร่วมในการพิจารณาความดีความชอบ ผลงาน 3.2 ร่วมกำหนดเกณฑ์ในการประเมิน
39
การสร้างข้อคำถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล
statement Response การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน ระดับการปฏิบัติ/สภาพที่เป็นจริง มาก ที่สุด(5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1.การมีส่วนร่วมในการบริหารทรัพยากร 1.1 มีส่วนร่วมกำหนดและวางแผนความ ต้องการของบุคคล 1.2 ร่วมในการจัดทำแผน 1.3 ร่วมกำหนดความรับผิดชอบในปฏิบัติงาน 1.4 ร่วมสรรหาและคัดเลือกบุคคล
40
ปัญหาการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
ความหมายของตัวแปรในลักษณะรูปธรรมทำได้หลายมิติ เป็นมิติที่ ชัดเจน เหมาะสมกับตัวแปรและกลุ่มเป้าหมาย จะต้องมีลักษณะ ครอบคลุมนิยามเชิงทฤษฎี ตัวแปรคุณลักษณะแฝงบางตัวไม่ได้มีลักษณะเป็นโครงสร้างเดี่ยว จึงต้องมีการ ระบุโครงสร้างให้ชัดเจน ตัวอย่าง ตัวแปร ความสามารถในการอนุรักษ์น้ำ ความสามารถในการเก็บกักน้ำ ความสามารถในการใช้น้ำอย่างสมเหตุสมผล ความสามารถในการดูแลรักษาแหล่งน้ำ ความสามารถในการจัดการเกี่ยวกับแหล่งน้ำ ความสามารถในการฟื้นฟูแหล่งน้ำ
41
การสร้างส่วนของคำตอบ
มาตรวัดอย่างง่าย มาตรวัดแบบแบ่งคำตอบ มาตรวัดที่ประเมินจากค่าคะแนนรวม
42
ตัวแปรตามกรอบแนวคิด ตัวแปร ประเภท 1. 2. 3. 4. 5.
43
ตัวแปรตามกรอบแนวคิด ตัวแปร ประเภท 1.เพศ กายภาพ 2. อายุ 3.สถานภาพสมรส
4.การศึกษา 5.การดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภาวะสันนิษฐาน
44
การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับ 5 4 3 2 1 1.การสร้างภูมิคุ้มกัน 1. 2. 3. 4. 2.การมีเหตุมีผล 3.ความพอประมาณ
45
การหาความเที่ยงตรง (Validity)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การหาความเที่ยงตรง (Validity) โดยนำแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา หลังจากนั้นนำมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้สูตร IOC = R/N เมื่อ IOC หมายถึง ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence) R หมายถึง ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยที่ ค่า +1 หมายความ ว่าข้อคำถามสามารถนำไปวัดได้อย่างแน่นอน, ค่า 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าจะวัด ได้ และ ค่า -1 หมายถึงข้อคำถามไม่สามารถนำไปวัดได้อย่างแน่นอน) N หมายถึง จำนวนผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้ผู้วิจัยเลือกข้อคำถามที่มีค่า IOC มากกว่า 0.5 มาใช้เป็นข้อคำถาม
46
การหาความเชื่อมั่น (Reliability)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การหาความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วไปทดสอบ (Try-Out) กับกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่มีลักษณะ ใกล้เคียงกับกลุ่มที่จะศึกษา จำนวน 30 ราย และ หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีการของ Cronbach
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.