งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบรรยายในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบรรยายในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบรรยายในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี” นายสมเกียรติ ตรีรัตนพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า 15 กันยายน 2559

2 ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี (กรกฎาคม 2559 – พ.ศ. 2579)
Value Creation Service Economy Inclusive & Fair Sustainable Regional Integration Demand Driven ยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร เพื่อให้มีความสามารถแข่งขันระดับภูมิภาคและโลก ยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ยุทธศาสตร์ 3 การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจการค้าอนาคต ยุทธศาสตร์ 4 การบูรณาการกับระบบการค้าโลก เพื่อใช้ประโยชน์จากภายนอก Farmer Smart Farmer Local player Regional & Global player Supply Mgt Demand & Supply Mgt Partly Digital Comprehensively Digital Invention Commercialization Services High Value Services Exclusive Inclusive & Sustainable Growth Regulate Monitor & Facilitate Passive Smart & Proactive Consumer Unilateral Interconnected Action

3 ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี
(กรกฎาคม 2559 – พ.ศ. 2579) Competitiveness Connectivity Cohesiveness สร้างความเข้มแข็งทางการเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ด้วยการยกระดับความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness) โดยมุ่ง - ส่งเสริมการสร้างมูลค่า (Value Creation) ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนจากการผลิตและขายส่งมอบตามคำสั่งซื้อ เป็นการสร้างรูปแบบดีไซน์ของตนเอง สร้างแบรนด์ของตนเอง และทำตลาดด้วยตนเอง เพื่อให้มีตลาดที่เป็นของตนเอง - ส่งเสริมพัฒนาเศรษฐกิจการค้าภาคบริการ (Service Economy) ซึ่งไทยสามารถใช้วัฒนธรรมจิตบริการกับความละเอียดอ่อนของคนไทยไปสร้างการค้าบริการให้เป็นตัวนำเศรษฐกิจไทยในอนาคต สร้างโอกาสทางการเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ด้วยการผลักดันความเชื่อมโยงกับโลก (Connectivity) โดยมุ่ง - ใช้อุปสงค์นำการค้า (Demand Driven) ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนจากการส่งเสริมสินค้าที่ผลิตแล้วออกไปสู่ตลาด เป็นการศึกษาตลาดเพื่อเข้าใจความต้องการของตลาดและส่งเสริมให้ผลิตตามดวามต้องการของตลาด ช่วยให้ไม่มีปัญหาการขาย - บูรณาการกับภูมิภาค (Regional Integration) เพื่อใช้ประโยชน์จากประสานเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคทำให้การเศรษฐกิจการค้าการลงทุนระหว่างกันมีความคล่องตัว สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ด้วยการสร้างแรงยึดเหนี่ยวในระบบเศรษฐกิจการค้าของประเทศ (Cohesiveness) โดยมุ่งไปที่ - สร้างการค้าที่เป็นธรรม (Fair) ทั่วถึง (Inclusive) และยั่งยืน (Sustainable) เพื่อไม่ให้บางภาคส่วนของเศรษฐกิจและสังคมถูกทอดทิ้งไว้เบื้องหลัง โดยเฉพาะชนบท ผู้มีรายได้น้อยและผู้ด้อยโอกาส

4 (มท./ท้องถิ่น/กค./บีโอไอ/อก./กษ./วท./กก./ธปท./กต./ สมาคมการค้า)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร เพื่อให้มีความสามารถแข่งขันระดับภูมิภาคและโลก กลยุทธ์ พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการ พัฒนาผู้ประกอบการ ให้สามารถจัดการ demand & supply อย่างครบวงจร cross sector รวมทั้งส่งเสริมการเชื่อมโยงกับท้องถิ่นและขยายไปต่างประเทศ ส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจเพื่อสังคม ส่งเสริม SME รู้ใช้ Trade Digitization เพื่อให้ธุรกิจทันสมัย ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการของตลาด และต่อยอดนวัตกรรมด้วยการตลาด พัฒนาธุรกิจบริการให้มีมาตรฐานและคุณภาพ ระดับสูง กลไก พณ. (มท./ท้องถิ่น/กค./บีโอไอ/อก./กษ./วท./กก./ธปท./กต./ สมาคมการค้า)

5 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก
กลยุทธ์ ปรับกฎระเบียบสู่การค้าเสรี สอดคล้องกับนวัตกรรมทางการค้าสมัยใหม่ พัฒนากลไกเยียวยาผู้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า สร้างและพัฒนา trade digitization พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการค้า ทั้ง hardware และ software พัฒนากลไกการกำกับดูแลธุรกิจ และสร้างความน่าเชื่อถือในรูปแบบธุรกิจสมัยใหม่ พัฒนาระบบชั่งตวงวัด พัฒนาระบบการค้าบริการ ให้มีความสะดวก ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมวัฒนธรรมการค้าที่เป็นธรรมและยั่งยืน พัฒนาระบบตลาดเชื่อมโยงท้องถิ่นกับเมือง กลไก พณ. (สคบ./สมาคมการค้า/องค์กรภาคประชาชน) กลไก พณ. (มท./ท้องถิ่น/กค./บีโอไอ/อก./กษ./วท./กก./ธปท./กต./ สมาคมการค้า)

6 (สคบ./องค์กรภาคประชาชน)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจการค้าอนาคต กลยุทธ์ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีความรู้ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความพอประมาณ และสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของตลาดและนวัตกรรมสมัยใหม่ได้อย่างทันท่วงที สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีบทบาทในการดูแลตลาด และกำหนดพัฒนาการของตลาด กลไก พณ. (สคบ./องค์กรภาคประชาชน)

7 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบูรณาการกับระบบการค้าโลก เพื่อใช้ประโยชน์จากภายนอก
กลยุทธ์ ประสานเศรษฐกิจการค้าการลงทุนกับอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ด้วยการเจรจาเปิดเสรี สร้างมาตรฐานร่วม และ เชื่อมโยงระบบขนส่ง ประสานเศรษฐกิจการค้าการลงทุนและใช้ประโยชน์จากความ ร่วมมือระดับพหุภาคี อาทิ RCEP TPP WTO ขับเคลื่อนกลไกการค้ากับประเทศกำลังพัฒนา สร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าอย่างใกล้ชิดกับประเทศพัฒนาแล้ว สร้างการรับรู้และการยอมรับในสินค้าและบริการของของไทยในเวทีโลก ประสานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยอำนวยความสะดวกการค้าของไทยในต่างประเทศ พณ. (กต./กก./ ททท.) กลไก

8 ขอบคุณครับ

9 คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
ความเป็นมา มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง “คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ” คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์และกรอบการปฏิรูป เพื่อจัดทำร่างกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการตามแนวทางการปฏิรูปประเทศ เพื่อจัดทำร่างแผนปฏิบัติการแนวทางการปฏิรูปประเทศ (Roadmap) ภายใต้ยุทธศาสตร์ 20 ปี

10

11 กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) ที่เกี่ยวข้อง กับกระทรวงพาณิชย์ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มุ่งยกระดับผลิตภาพการผลิตและการใช้นวัตกรรมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในสาขาอุตสาหกรรม เกษตรและบริการ เพิ่มขีดความสามารถทางการค้าและการเป็นผู้ประกอบการ พัฒนาฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคต ด้วยการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งสู่การเป็นชาติการค้า ใช้ดิจิทัลและการค้าที่เข้มข้นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรมการผลิตและบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน/พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ/เมืองพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน รวมถึงการเชื่อมโยงภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐให้มี ขนาดที่เหมาะสม บูรณาการบริหารราชการ การ พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคน และพัฒนาบุคลากร วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศไทยและการปรับเปลี่ยนกลไกภาครัฐ โดย สปช. การจัดทำยุทธศาสตร์ กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Mega Trend Economic Technological Environmental Social Political - Globalization & Borderless/Free Flow of Investment (Fast response/EoDB) - Digital (E-Commerce Oriented) - Climate Change (Crisis Preparedness) - Environmental Concern - Demographic Change - Rapid Urbanization - Lifestyle Change - Security & Safety Concern (e.g. Terrorism)

12 ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี (กรกฎาคม 2559 – พ.ศ. 2579)
“การค้าก้าวหน้า ประชาสุขใจ” Advancing trade for people’s happiness ฉับไว โปร่งใส มองไกล ใกล้ชิดประชาชน Value Creation Service Economy Inclusive & Fair Sustainable Regional Integration Demand Driven

13 ประเด็นยุทธศาสตร์ ในยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี
Farmer > Smart Farmer Local player -> Regional & Global player Supply Mgt -> Demand & Supply Mgt Partly Digital -> Comprehensively Digital Invention > Commercialization Services > High Value Services ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบูรณาการกับระบบการค้าโลก Exclusive -> Inclusive & Sustainable Growth Regulate -> Monitor & Facilitate Passive -> Smart & Proactive Consumer Unilateral -> Interconnected Action

14 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร เพื่อให้มีความสามารถแข่งขันระดับภูมิภาคและโลก
Quick Win จัดตั้งสถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม เร่งรัดแก้ไขปัญหา backlog คำขอจดทะเบียนสิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า เร่งรัดแก้ไขปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา ผลักดันส่งเสริมการพัฒนาการค้าภาคบริการ

15 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก
Quick Win ปฏิรูประบบการผลิตและการค้าสินค้าเกษตรโดยใช้การตลาดนำการผลิต เช่น ข้าว ปาล์มน้ำมัน น้ำตาล มันสำปะหลัง ปฏิรูปกฎหมาย เช่น กฎหมายแข่งขันทางการค้า กฎหมายการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กฎหมายการจัดตั้งนิติบุคคลคนเดียว กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา บังคับใช้กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ ผลักดันอำนวยความสะดวกทางธุรกิจและการค้า เช่น จดทะเบียนธุรกิจ NSW MOC-OSS สร้างตลาดชุมชน เช่น ตลาดต้องชม หมู่บ้านทำมาค้าขาย Farm Outlet

16 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจการค้าอนาคต
Quick Win สร้างทางเลือกให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าในราคาที่เป็นธรรม และลดค่า ครองชีพด้วยการจัดงาน “ธงฟ้า” ให้ทั่วถึงและพัฒนาโครงการ“หนูณิชย์พาชิม” พัฒนาแอพพลิเคชั่น “ลายแทงของถูก” เพื่อสร้างค่านิยม “ฉลาดซื้อ ประหยัดใช้” พัฒนาช่องทางการร้องเรียนให้มีความสะดวกรวดเร็ว เช่น สายด่วนผู้บริโภค 1569 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายผู้บริโภค

17 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบูรณาการกับระบบการค้าโลก เพื่อใช้ประโยชน์จากภายนอก
Quick Win กระชับความร่วมมือ CLMVT เพื่อลดอุปสรรคการค้าการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภูมิภาค สร้างภาพลักษณ์สินค้า/ธุรกิจบริการของไทยให้เป็นที่รู้จักและยอมรับในต่างประเทศ ผลักดันการส่งออกโดยใช้การตลาดนำการผลิตและการใช้กลยุทธ์ลงลึกระดับเมือง เข้าร่วมประชุมเจรจาเพื่อขยายตลาด สร้างความเข้าใจและใช้ประโยชน์ความตกลง


ดาวน์โหลด ppt การบรรยายในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google