ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMathilde Torp ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การข่มร่วมกัน คุณครูอรุณี จันทร์หอม นางสาวปิยะนุช คงเจริญ เลขที่ 32
เสนอ คุณครูอรุณี จันทร์หอม จัดทำโดย นางสาวปิยะนุช คงเจริญ เลขที่ 32 นางสาวนุชจรินทร์ ชาวตระการ เลขที่ 14 นางสาวศิรินภา สายตรง เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2
2
พันธุกรรมนอกเหนือกฎของเมนเดล
การข่มร่วมกัน (Co-Dominant) การข่มร่วมกัน (Co-Dominant) คือการถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะออกมาร่วมกัน
3
IBIB และ IB i แสดง หมู่เลือด B IAIB แสดง หมู่เลือด AB
การถ่ายทอดลักษณะหมู่เลือดระบบ ABO ถูกควบคุมด้วยยีนซึ่งมีอัลลีลเกี่ยวข้อง 3 อัลลีล คือ IA , IB, i พบว่าอัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็แสดงลักษณะเด่นเท่าๆกัน (อัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็เป็น Co – dominant allele ส่วนอัลลีล i เป็น recessive allele) IAIA และ IA i แสดงหมู่เลือด A IBIB และ IB i แสดง หมู่เลือด B IAIB แสดง หมู่เลือด AB ii แสดง หมู่เลือด O
4
ข้อเปรียบเทียบ ถ้าเป็นไปตามกฎของเมนเดลยีนเด่นจะข่มยีนด้อยอย่างสมบูรณ์ เช่น พ่อเป็น A แม่เป็น B ลูกจะมีสิทธิเป็นได้ทั้ง A และ B แต่ถ้าเป็นไปตามส่วนขยายพันธุศาสตร์ของเมนเดล ตามกฎของการข่มร่วมกันจะมีลักษณะที่ได้จาก พ่อ แม่ เป็นลักษณะที่ 3 เช่น พ่อเป็น A แม่เป็น B ลูกจะมีสิทธิเป็น O
5
โจทย์ IAi x IBi P : G : IA i IB i อัตราส่วน : 1 : 1 : 1 : 1
กำหนดให้พ่อมีกรุ๊ปเลือด A แบบเฮเทอโรไซกัส และแม่มีเลือดกรุ๊ป B แบบเฮเทอโรไซกัส จงหาอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่น F1 IAi x IBi IA i IB i จีโนไทป์ : IAIB IAi IBi i I อัตราส่วน : 1 : 1 : 1 : 1 ฟีโนไทป์ : เลือดกรุ๊ป AB : A : B : O P : G :
6
The End
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.