งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินการจัดหาของ ทบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินการจัดหาของ ทบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินการจัดหาของ ทบ.

2 พ.อ.ทธิ สทิสินทร์ ราชการสนาม/พิเศษ ประวัติรับราชการ
พ.อ.ทธิ สทิสินทร์ รอง ผอ.กองการจัดหา สกบ.กบ.ทบ. ประวัติการศึกษา รร.ตท. รุ่นที่ 33 , รร.จปร. รุ่นที่ 44 รร.สธ.ทบ. หลักสูตรหลักประจำ ชุดที่ 85 ประวัติรับราชการ ผบ.มว.ปล.ร้อย อวบ.ร.25 พัน.1 ผบ.มว. กรม นนร.รอ. รร.จปร. ผบ.ร้อยบร.พัน.ร.มทบ.11 ฝอ.3พัน.ร.มทบ.11 หน.ฝยก.ร.25 รอง ผบ.ร.25พัน.2 หน.ฝยก.พล.ร.5 ฝสธ.ประจำ กบ.ทบ. รอง ผอ.กองการก่อสร้าง สกบ.กบ.ทบ. รอง ผอ.กองการจัดหา สกบ.กบ.ทบ. ราชการสนาม/พิเศษ หน.ชค.ฉก.ปชด. ไทย - พม่า หน.ฝยก.ฉก.ร.25 หน.ฝกร.ฉก.สงขลา

3 ขอบเขตของงานการส่งกำลังบำรุง
การซ่อมบำรุง การขนส่ง การบริการ ทางการแพทย์ การบริการอื่น ๆ (ก่อสร้าง, ที่ดิน, สาธารณูปโภค ฯลฯ)

4 การควบคุม ความต้องการ การจัดหา การแจกจ่าย การซ่อมบำรุง การจำหน่าย
วงรอบการส่งกำลัง

5 ความต้องการ ๑. อัตราการจัดและ ยุทโธปกรณ์ (อจย.) ตอนที่ ๔
๑. อัตราการจัดและ ยุทโธปกรณ์ (อจย.) ตอนที่ ๔ ๒. อัตราการจัดเฉพาะกิจ (อฉก.) ตอนที่ ๕ ๔. อัตราอาคาร (ออค.) ๓. อัตราสิ่งอุปกรณ์ (อสอ.) ๕. อัตราที่ดิน (อทด.) ๖. อัตราอื่นๆ (สป.๓, สป.๕, เครื่องแต่งกาย ฯลฯ)

6 การได้มาซึ่งสิ่งอุปกรณ์และบริการของ ทบ.ไทย
การจัดหาตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม การจัดหาตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ลง ๓ ก.พ. ๕๘ การเกณฑ์ โดยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการเกณฑ์ช่วยราชการทหาร พ.ศ. ๒๕๓๐ การยึด โดยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗ การรับบริจาค

7 การได้มาซึ่งสิ่งอุปกรณ์และบริการของ ทบ.ไทย (ต่อ)
การรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ การจ้างและซื้อสำหรับงานวิจัยและพัฒนา และผลิตอาวุธโดยวิธีการพิเศษ การจัดซื้อด้วยงบเงินกู้ การจัดซื้อด้วยระบบ FMS การจัดซื้อจากต่างประเทศในระบบรัฐต่อรัฐ (G TO G) การเบิก การยืม การโอน การแลกเปลี่ยน การซ่อมคืนสภาพ

8 ระเบียบดังกล่าว เริ่มถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ ๑๖ ส.ค. ๕๙ จนถึงการประกาศระเบียบ พ.ร.บ. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและการบริหารพัสดุภาครัฐ

9 การซื้อโดยวิธีพิเศษ กระทำได้ ๘ กรณี
๑. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาด พัสดุ ๒. เป็นพัสดุที่ต้องซื้อเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะ เสียหายแก่ราชการ ๓. เป็นพัสดุเพื่อใช้ในราชการลับ ๔. เป็นพัสดุที่มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นในสถานการณ์ที่จำเป็น หรือ เร่งด่วน หรือเพื่อประโยชน์ของส่วนราชการ และจำเป็นต้องซื้อเพิ่ม (REPEAT ORDER)

10 การซื้อโดยวิธีพิเศษ กระทำได้ ๘ กรณี (ต่อ)
พัสดุ ๕. เป็นพัสดุที่จำเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรือ ดำเนินการโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ ๖. เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งาน หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้อง ระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ ๗. เป็นพัสดุที่เป็นที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ซึ่งจำเป็นต้องซื้อเฉพาะแห่ง ๘. เป็นพัสดุที่ได้ดำเนินการซื้อโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี

11 การจ้างโดยวิธีพิเศษ กระทำได้ ๖ กรณี
๑. เป็นงานที่ต้องจ้างช่างผู้มีฝีมือโดยเฉพาะ หรือผู้มีความชำนาญ เป็นพิเศษ ๒. เป็นงานจ้างซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอดตรวจให้ทราบความชำรุดเสียหายก่อน จึงจะประมาณค่าซ่อมได้ เช่น งานจ้างซ่อมเครื่องจักร เครื่องมือกล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้า หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ๓. เป็นงานที่ต้องกระทำโดยเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะเสียหายแก่ราชการ

12 การจ้างโดยวิธีพิเศษ กระทำได้ ๖ กรณี (ต่อ)
๔. เป็นงานที่ต้องปกปิดเป็นความลับของทางราชการ ๕. เป็นงานที่จำเป็นต้องจ้างเพิ่มในสถานการณ์ที่จำเป็น หรือเร่งด่วน หรือเพื่อ ประโยชน์ของส่วนราชการ และจำเป็นต้องจ้างเพิ่ม (REPEAT ORDER) ๖. เป็นงานที่ได้ดำเนินการจ้างโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี

13 การซื้อหรือจ้าง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Market : e-market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-bidding) ลง ๓ ก.พ. ๕๘ ๑. วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) ได้แก่ การจัดหาพัสดุที่มีรายละเอียดคุณลักษณะที่ไม่ซับซ้อน เป็นสินค้าหรือบริการทั่วไป มีมาตรฐาน ซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการ จัดซื้อสินค้าหรืองานจ้างที่กำหนดไว้ในระบบ e-catalog กระทำได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑.๑ เสนอราคาโดยใบเสนอราคา (RFQ) ราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐.- บาท แต่ไม่เกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐.- บาท ๑.๒ เสนอราคาโดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Auction) ราคาเกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐.- บาท

14 การซื้อหรือจ้าง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Market : e-market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-bidding) ลง ๓ ก.พ. ๕๘ ๒. วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ได้แก่ การจัดหาพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมี ราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐.- บาท โดยเป็นการจัดหาพัสดุที่มีรายละเอียดคุณลักษณะที่มี ความซับซ้อน มีเทคนิคเฉพาะ หรือเป็นสินค้าหรือบริการที่ไม่ได้กำหนดไว้ใน ระบบ e-market

15 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 1. อนุมัติความต้องการและแผนจัดหาสิ่งอุปกรณ์ รวมถึงคุณลักษณะเฉพาะ 2. หัวหน้าหน่วยงานอนุมัติหลักการจัดซื้อหรือจัดจ้างดำเนินกรรมวิธีจัดหา โดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) และขออนุมัติแต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาฯ และคณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ 3. จัดทำร่างประกาศและร่างเอกสารการซื้อหรือจ้าง พร้อมกับกำหนด หลักเกณฑ์การพิจารณาผู้ชนะการประกวดราคาฯ (Price และ Price Performance) (ตามตัวอย่าง กวพ.กำหนด ในระบบ e-GP) พร้อม ทั้งกำหนดวัน เวลาในการเสนอราคา ประกอบการรายงานขออนุมัติ

16 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 4. เผยแพร่ประกาศและเอกสารการซื้อหรือจ้าง ทางเว็บไซต์ของหน่วย และ เว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง รวมถึงปิดประกาศอย่างเปิดเผย ณ ที่ทำการ ของหน่วย 4.1 วงเงินเกิน 100,000 แต่ไม่เกิน 1,000,000.- บาท เผยแพร่ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ 4.2 วงเงินเกิน 1,000,000.- บาท เผยแพร่ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ

17 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) การให้สาธารณชนเสนอแนะหรือวิจารณ์เอกสารร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาฯ ให้นำไปประกาศทางเว็บไซด์ของหน่วย และเว็บไซด์ของกรมบัญชีกลาง โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ - วงเงินเกิน 100,000 แต่ไม่เกิน 5,000,000.- บาท อยู่ในดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะดำเนินการหรือไม่ก็ได้ - วงเงินเกิน 5,000,000.- บาท ต้องให้สาธารณชนเสนอแนะหรือวิจารณ์ทุกครั้ง

18 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) กรณีมีผู้เสนอแนะหรือวิจารณ์ - กรณีปรับปรุง ร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาฯใหม่ ให้ประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วย และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ - กรณีพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ควรปรับปรุง ให้ประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วย และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ กรณีไม่มีผู้เสนอแนะหรือวิจารณ์ - ให้จัดทำและเผยแพร่ประกาศและเอกสารประกวดราคาฯ ทางเว็บไซต์ของหน่วย และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง รวมถึงให้ปิดประกาศอย่างเปิดเผย ณ ที่ทำการของหน่วย

19 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 5. เผยแพร่ประกาศและเอกสารประกวดราคาฯ ทางเว็บไซต์ของหน่วย และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง ผู้เสนอราคาสามารถขอรับหรือซื้อเอกสารฯ โดยดาวน์โหลดเอกสารทางระบบ e-GP ได้ตั้งแต่วันเริ่มต้นประกาศ 6. จะต้องให้ผู้ประสงค์จะเสนอราคา มีช่วงเวลาสำหรับจัดทำข้อมูลเสนอ ก่อนวันเสนอราคา ตามวงเงินดังนี้ - วงเงินเกิน 100,000 แต่ไม่เกิน 5,000,000.- บาท (ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ) - วงเงินเกิน 5,000,000 แต่ไม่เกิน 10,000,000.- บาท (ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ) - วงเงินเกิน 10,000,000 แต่ไม่เกิน 50,000,000.- บาท (ไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ ) - วงเงินเกิน 50,000,000.- บาท ขึ้นไป (ไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ)

20 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 7. เมื่อถึงวันเสนอราคา ให้ผู้ประสงค์จะเสนอราคา เสนอราคาโดยส่งข้อมูล (Upload) เป็น PDF file ผ่านทางระบบ e-GP เท่านั้น เมื่อยืนยันการเสนอราคาแล้ว ห้ามแก้ไขข้อมูลอีก - กรณีต้องแสดงตัวอย่างพัสดุ ให้ผู้เสนอราคานำมาแสดงตามวัน เวลา ที่กำหนด และให้คณะกรรมการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ภายใน 5 วันทำการ นับถัดจากวันเสนอราคา

21 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) - กรณีการจัดหาพัสดุราคาเกิน 2,000,000.- บาท ต้องมีหลักประกันในอัตราร้อยละ 5 ของวงเงินงบประมาณในหาจัดหาพัสดุครั้งนั้น โดยให้ใช้หลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารในประเทศ 2. เช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คที่ลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่หรือก่อนวันนั้น ไม่เกิน 3 วันทำการ 3. พันธบัตรรัฐบาลไทย ....กรณีใช้เช็คหรือพันธบัตรเป็นหลักประกัน ให้ส่งมาในรูปแบบ PDF file ผ่านทางระบบ e-GP ซึ่งเจ้าหน้าที่พัสดุต้องให้ผู้เสนอราคา นำเอกสารต้นฉบับมาตรวจสอบความถูกต้อง ตามวันเวลาที่กำหนด

22 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 8. การรับข้อเสนอของผู้เสนอราคา ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาฯดำเนินการ ดังนี้ 8.1 ให้รับเอกสารผ่านทางระบบ e-GP เท่านั้น 8.2 เมื่อพ้นกำหนดวันเสนอราคา ห้ามรับเอกสารต่างๆอีก 8.3 คณะกรรมการต้องเก็บเอกสารผู้เสนอทุกรายเป็นความลับ ห้ามเปิดเผย ต่อผู้อื่น 8.4 ให้คณะกรรมการฯ จัดพิมพ์เอกสารของผู้เสนอราคาทุกราย โดยพิมพ์ ออกจากระบบ e-GP จำนวน 1 ชุด

23 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 8.5 ตรวจสอบเอกสารหลักฐานของผู้เสนอราคาทุกราย ได้แก่ เอกสารส่วนที่ 1 (หลักฐานของผู้ประกอบการฯ) และส่วนที่ 2 (คุณลักษณะของพัสดุที่ส่วนราชการต้องการจัดหา) ที่เสนอว่ามีคุณสมบัติตรงตามที่ประกาศหรือไม่ รายใดหากมีคุณสมบัติไม่ครบ ให้ลงในระบบว่าไม่ผ่าน และบันทึกรายการไว้ด้วย กรณีผู้เสนอราคารายใดเสนอรายละเอียดไม่ครบถ้วน ในส่วนที่มิใช่สาระสำคัญ และความแตกต่างนั้นไม่มีผลทำให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบต่อผู้เสนอรายอื่น หรือผิดพลาดเล็กน้อยให้พิจารณาผ่อนปรนการตัดสิทธิ์ และพิจารณาในขั้นต่อไป

24 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) การประเมินสิทธิผู้เสนอราคา (เป็นการแสดงผลการทำงานที่ผ่านมาของผู้เสนอราคา ว่ามีผลงานอยู่ในระดับใด) 1. ไฟสีเขียว : แสดงสถานะพร้อมที่จะทำงานได้ไม่มีปัญหา 2. ไฟสีเหลือง : แสดงสถานะที่ห้ามเข้าเสนอราคา และห้ามทำสัญญา เนื่องจากไม่พร้อมทำงาน ในกรณีที่ดำเนินการตามสัญญาไม่แล้วเสร็จตามที่ กวพ.กำหนด แต่ เมื่อผู้เสนอราคาส่งมอบของหรืองานจ้างตามสัญญา ไฟสีเหลืองจะเปลี่ยนเป็นไฟสีเขียว เว้นแต่กรณีส่วนราชการตรวจรับงานแล้วเห็นว่างานนั้นไม่ถูกต้องตามสัญญา ไฟสีเขียวจะเปลี่ยนเป็นไฟสีเหลือง 3. ไฟสีแดง : แสดงสถานะที่ห้ามเข้าเสนอราคา เนื่องจากเป็นผู้ทิ้งงาน จนกว่าจะมีคำสั่งเปลี่ยนแปลงเพิกถอนผู้ทิ้งงาน สัญญาณไฟจึงจะเปลี่ยนแปลงเป็นสีเขียวหรือเหลือง แล้วแต่กรณี ** ผู้เสนอราคารายใดมีสถานะแสดงไฟสีเหลืองหรือสีแดง จะถูกตัดสิทธิไม่ให้เสนอราคาหรือทำสัญญากับส่วนราชการ

25 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 9. การพิจารณาผู้ชนะการเสนอราคา สามารถเลือกใช้หลักเกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 9.1 หลักเกณฑ์ราคา (Price 9.2 หลักเกณฑ์การประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา (Price Performance) ให้ส่วนราชการกำหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาผู้ชนะราคา โดยใช้หลักเกณฑ์การประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา พิจารณาเลือกตัวแปรหลักอย่างน้อย 2 ตัวแปร ดังนี้ - ราคา (เป็นตัวแปรหลักประเภทบังคับ) - ประเมินผู้ค้า (เป็นตัวแปรหลักประเภทไม่บังคับ) - คุณภาพและคุณสมบัติสินค้า (เป็นตัวแปรหลักประเภทไม่บังคับ) - เป็นพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (เป็นตัวแปรหลักประเภทไม่บังคับ)

26 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 9.2.1 กรณีมีผู้ได้คะแนนสูงสุดหลายราย ให้เลือกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดในตัวแปรหลักที่มีน้ำหนักมากสุด 9.2.2 กรณีมีผู้เสนอราคา เสนอราคาและคุณสมบัติเท่ากันจนไม่อาจชี้ขาดได้ ให้เลือกผู้เสนอราคาที่ยื่นเสนอมาเป็นลำดับแรกเป็นผู้ชนะ 9.3 กรณีมีผู้เสนอราคารายเดียว ปกติให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการยกเลิก แต่ถ้ากรรมการพิจารณาว่ามีเหตุผลที่จะดำเนินการต่อไป ให้ต่อรองราคากับผู้เสนอราคา แล้วรายงานผล

27 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 9.4 กรณีไม่มีผู้เสนอราคา หรือ มีแต่ไม่ถูกต้องตรงตามเงื่อนไข ให้ดำเนินการดังนี้ ให้ทำการยกเลิก แล้วดำเนินกรรมวิธี ใหม่ หากพิจารณาแล้วถ้าดำเนินการใหม่ไม่ได้ผลดี ให้ใช้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุและที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อที่ 23(8) หรือ ข้อที่ 24(6) (การจัดหาวิธีพิเศษ) ในวันเสนอราคา หากผู้เสนอราคารายใดเสนอราคาต่ำสุดแต่มีสถานะไฟสีเหลือง ผู้เสนอราคารายนั้นไม่สามารถเสนอราคาหรือดำเนินการใดๆต่อได้ ให้เรียกผู้เสนอราคารายต่ำสุดลำดับถัดไปเข้ามาดำเนินการต่อ

28 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) กรณีราคาของผู้เสนอราคาที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรที่จะจัดหาสูงกว่าวงเงินที่จะจัดหา ให้คณะกรรมการดำเนินการดังนี้ 1.) ต่อรองราคาให้ต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้ หากผู้เสนอราคายอมลดราคา แล้ว ราคาที่เสนอใหม่ไม่สูงกว่าวงเงินที่จะจัดหา หรือสูงกว่าไม่เกินร้อยละ 10 ของราคาที่จะจัดหา ถ้าเห็นว่าเหมาะสม ก็ให้เสนอการจัดหาจากผู้เสนอราคารายนั้น 2.) ถ้าดำเนินการในข้อ 1.) แล้วไม่ได้ผล ให้เรียกผู้เสนอราคาทุกรายมาต่อรองพร้อมกัน ด้วยวิธีการยื่นซองเสนอราคาภายในระยะเวลาอันสมควร หากรายใดไม่มายื่นซอง ให้ถือว่ารายนั้นยืนราคาตามเดิม และหากผู้เสนอราคาต่ำสุดในการต่อรองครั้งนี้ไม่สูงกว่าวงเงินที่จะจัดหา หรือสูงกว่า แต่ไม่สูงเกินร้อยละ 10 ของราคาที่จะจัดหา ถ้าเห็นว่าเหมาะสม ก็ให้เสนอ หัวหน้าหน่วยงานเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป

29 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 3.) ถ้าดำเนินการในข้อ 2.) แล้วไม่ได้ผล ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานใช้ดุลยพินิจในการ ลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องาน หรือของเงินเพิ่มเติม หรือ ยกเลิกการจัดหาโดยวิธีประกวดราคาฯในครั้งนั้น เพื่อดำเนินกรรมวิธีใหม่ 10. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาฯ รายงานผลการดำเนินกรรมวิธี พร้อมเอกสารที่ได้รับไว้ทั้งหมด ต่อ หัวหน้าหน่วยงาน ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เพื่อรายงานขออนุมัติซื้อหรือจ้าง 11. แจ้งผลการพิจารณาฯ ให้ผู้เสนอราคาทุกรายทราบ และประกาศผลการพิจารณา ในเว็บไซด์ของส่วนราชการและเว็บไซด์กรมบัญชีกลาง

30 การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) 12. คืนหลักประกันการเสนอราคาแก่ผู้เสนอราคา ผ่านทางระบบ e-GP ซึ่งระบบจะดำเนินการส่งข้อมูลให้ธนาคาร และแจ้งให้ผู้ที่ไม่ได้เป็นผู้ชนะฯทราบ

31 การซื้อหรือจ้าง (ต่อ)
๑. วิธี FMS ไม่จำกัดวงเงิน ๒. วิธี G TO G ไม่จำกัดวงเงิน

32 อำนาจอนุมัติซื้อ/จ้าง ตามคำสั่ง กห. (เฉพาะ) ที่ ๒๐๐/๕๘ ลง ๒๕ พ.ค. ๕๘
ตำแหน่ง โดยวิธีตกลงราคา , สอบราคา ,ประกวดราคา, e-market, e-bidding โดยวิธีพิเศษ โดยวิธีกรณีพิเศษ ๑. ผบ.กรม หรือเทียบเท่า ไม่เกิน ๔ ล้านบาท ไม่เกิน ๒ ล้านบาท หัวหน้าส่วนราชการสั่งการโดยไม่จำกัดวงเงิน แต่ต้อง ๒. ผบ.พล. หรือเทียบเท่า ไม่เกิน ๘ ล้านบาท ไม่เกินงบประมาณที่ได้รับ ๓. มทภ. หรือเทียบเท่า ไม่เกิน ๑๖ ล้านบาท ๔. ผู้บังคับบัญชา ส่วนราชการที่มีอัตรา ชั้นยศ พล.อ. ไม่เกิน ๓๒ ล้านบาท ๕. ผบ.ทบ. ไม่เกิน ๘๐ ล้านบาท ไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท ผบ.ทสส. ไม่เกิน ๑๐๐ ล้านบาท ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท ๗. รมว.กห. เกิน ๑๐๐ ล้านบาท เกิน ๕๐ ล้านบาท

33 อำนาจอนุมัติซื้อ/จ้าง โดยวิธี FMS และ G TO G
ตำแหน่ง FMS G TO G ผบ.ทบ. ไม่จำกัดวงเงิน ไม่เกิน ๑๐๐ ล้านบาท ผบ.ทสส. - ไม่เกิน ๑๒๕ ล้านบาท รมว.กห. เกินกว่า ๑๒๕ ล้านบาท

34 การจัดซื้อ / จ้าง ของ ทบ.
กองทัพบก การจัดซื้อ / จ้าง ของ ทบ. แผนจัดหา หน่วย กรมฝ่ายกิจการพิเศษ กรมฝ่ายยุทธบริการ การดำเนินกรรมวิธีจัดหา FMS ระเบียบพัสดุ ฯ G to G การขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง

35 การจัดซื้อ / จ้าง ของ ทบ.(ต่อ)
การขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้อ / จ้าง ของ ทบ.(ต่อ) GFMIS การสั่งจ่ายงบประมาณ การแจ้ง การปรับ การทำสัญญา การบอกเลิกสัญญา การขอ END USER การแก้ไขสัญญา การขอส่งออกยุทธภัณฑ์ การงดหรือ ลดค่าปรับหรือ การขยายเวลา ทำการตามสัญญา การตรวจรับพัสดุ การตรวจการจ้าง การขอยกเว้นค่าอากร ฯ การเบิกเงิน

36 หน่วยงานใน กบ.ทบ. ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการรายงาน ขออนุมัติซื้อ/จ้างที่มีวงเงินอยู่ในอำนาจอนุมัติของ ผบ.ทบ. ขึ้นไป รับผิดชอบเรื่องรายงานขออนุมัติซื้อ/จ้าง สป. โดยวิธีพิเศษ และวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) กองการจัดหา สกบ.กบ.ทบ. รับผิดชอบเรื่องรายงานขออนุมัติซื้อ/จ้าง สป. โดย วิธี FMS และวิธี G TO G กองประสาน การช่วยเหลือทางทหาร สกบ.กบ.ทบ. รับผิดชอบเรื่องรายงานขออนุมัติซื้อ/จ้างเกี่ยวกับ งานก่อสร้าง/ซ่อมแซมอาคาร สิ่งก่อสร้าง และสาธารณูปโภค กองการก่อสร้างและสาธารณูปโภค สกบ.กบ.ทบ.

37 ตอบข้อซักถาม ?


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินการจัดหาของ ทบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google