ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
กองการพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ 26 สิงหาคม 2559
2
สรุปกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ : e-market, e-bidding
8บันทึกรายชื่อผู้ขอรับ เอกสาร/ซื้อเอกสาร 9 บันทึกรายชื่อ/ ผู้ค้ายื่นเอกสารเสนอราคา ระบบ e-GP 7. ประกาศเชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 10. พิจารณาผลการเสนอราคา (ต่ำสุด/Price Performance) และตรวจสอบผลผู้ชนะ BD,MK 6. ปรับปรุงร่างเอกสาร ประกวดราคา 11. นัดหมายเสนอราคา และแจ้งรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา ซื้อซอง online / BD ยื่นหลักประกัน 5. จัดทำร่างเอกสารประกวดราคา (วิจารณ์หรือไม่วิจารณ์ก็ได้)/ จัดทำ ร่างประกาศเชิญชวน 12. เสนอหัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบและจัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง /แต่งตั้งกรรมการตรวจรับ (optional) BD,MK BD 5. จัดทำเอกสารซื้อจ้าง ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ และประกาศเชิญชวน MK ขั้นตอนในระบบ GFMIS 13. ประกาศรายชื่อผู้ชนะการ เสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 4. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง และแต่งตั้งคณะกรรมการ (optional) ขั้นตอนที่เพิ่มใหม่ในระบบ e-GP 3 ขั้นตอนที่มีอยู่เดิมในระบบ e-GP 2 14. จัดทำร่างสัญญา BD,MK 3. สร้างโครงการ จัดซื้อจัดจ้าง 15. ตรวจสอบหลักประกันสัญญา และจัดทำสัญญา 2. จัดทำแผนการจัดซื้อ จัดจ้างประจำปีงบประมาณ 16. ข้อมูลสาระสำคัญ ในสัญญา 17. บริหารสัญญา นำข้อมูลงบประมาณ จาก GFMIS เข้า e-GP ระบบ GFMIS 1. ได้รับงบประมาณ ประจำปี 18. ลงทะเบียนทรัพย์สิน ตั้งเบิก/เบิกจ่าย นำข้อมูล PO จาก e-GP เข้า GFMIS
3
การเชื่อมโยงกับระบบ GFMIS
ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลหลักผู้ขาย การจัดทำใบ PO การ ตรวจรับ เป็นการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ GFMIS โดยดึงข้อมูลจากระบบ e-GP และการตรวจสอบข้อมูลหลักผู้ขายและเลขที่บัญชีผู้ค้าจากระบบ GFMIS ในขั้นตอนการจัดทำร่างสัญญาในระบบ e-GP (Real Time) ระบบ GFMIS จะส่งข้อมูล พรบ. งบประมาณให้ระบบ e-GP ทุกต้นปีงบประมาณ ทั้งในส่วนของข้อมูลรหัสงบประมาณ และรหัสแหล่งของเงิน การจัดทำ PO ประเภททั่วไป (บส. 01) และการจัดทำ PO ประเภทไม่แน่นอน (บส. 04) โดยดึงข้อมูลสัญญาจากระบบ e-GP มาบันทึกในระบบ GFMIS ผ่านเลขที่โครงการและเลขคุมสัญญาจากระบบ e-GP คือการตรวจรับในระบบ e-GP เมื่อมีการส่งมอบงานและตรวจรับแล้ว จากนั้นเมื่อมีการตรวจรับและสั่งจ่ายในระบบ GFMIS แล้ว ก็จะส่งข้อมูลมายังระบบ e –GP ได้โดยอัตโนมัติ เพื่อนำข้อมูลไปแสดงในระบบ ตรวจรับและเบิกจ่ายต่อไป
4
ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
1. กรณีขั้นตอนร่างสัญญา ส่วนราชการไม่สามารถจัดทำสัญญาได้ สาเหตุอาจเนื่องมาจากส่วนราชการยังไม่บันทึกข้อมูลรหัสงบประมาณ/รหัสแหล่งของเงิน ดังนั้น ส่วนราชการจึงจำเป็นต้องเข้าไปบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน โดยกดปุ่ม “ข้อมูลงบประมาณโครงการ” ในขั้นตอนจัดทำร่างสัญญา ส่วนราชการต้องการเปลี่ยนเลขที่บัญชีของผู้ขาย กรณีนี้ ส่วนราชการจำเป็นต้องเข้าไปแก้ไขสัญญาก่อน โดยคลิกที่เมนู “แก้ไขสัญญา” จากนั้นเลือก “แก้ไขสัญญารายละเอียดอื่นๆ” และเลือกหัวข้อ “ค่าจ้างและการจ่ายเงิน” ส่วนราชการแก้ไขสัญญาได้แล้ว แต่เมื่อกดปุ่มบันทึก ระบบแสดง Pop up ขึ้นเตือนให้ติดต่อ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และไม่สามารถคลิกปุ่ม “ดำเนินการขั้นตอนต่อไป” โดยปุ่มเป็นสีเทา กรณีนี้เกิดจาก bug ของโปรแกรม ส่วนราการต้องส่งแบบแจ้งมายังกรมบัญชีกลาง เพื่อแจ้งให้เจ้าหน้าที่ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ แก้ไขให้ ซึ่งที่ผ่านมากรณีนี้แก้ได้ทุกกรณี
5
ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
2. กรณีการรวมซื้อรวมจ้าง - กรณีส่วนราชการเลือกเมนู “เพิ่มโครงการรวมซื้อรวมจ้าง” แต่ส่วนราชการยังไม่สามารถแตกสัญญาย่อยเองได้ สาเหตุดังกล่าวเกิดจากส่วนราชการยังดำเนินการไม่ถึงข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา ดังนั้น ส่วนราชการต้องบันทึกข้อมูลสาระสำคัญให้เป็นสถานะบันทึกก่อน จึงจะดำเนินการแตกสัญญาย่อยเองได้ - กรณีส่วนราชการเลือกเมนู “เพิ่มโครงการ” ส่วนราชการจะไม่สามารถแตกสัญญาเองได้ต้องส่งให้กรมบัญชีกลางดำเนินการให้ กรณีนี้ ส่วนราชการต้องกรอกแบบแจ้ง กรณีรวมซื้อรวมจ้างพร้อมทั้งส่งรายละเอียดโครงการทั้งสัญญาใหญ่และสัญญาย่อยตามที่ระบุในแบบแจ้งมายัง กพภ. ให้ถูกต้องครบถ้วน และเมื่อกรมบัญชีกลางโดย กพภ. ได้รับข้อมูลเรียบร้อย จะแจ้งให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินการให้โดยด่วนต่อไป
6
ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
3. กรณีค้าร่วม Consortium ส่วนราชการไม่สามารถสร้าง PO ได้ กรณีผู้ชนะเป็นกิจการค้าร่วม และเป็นการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีอื่นๆ ที่ไม่ใช่วิธี e-bidding โครงการที่เป็นลักษณะนี้ก่อนส่วนราชการจะดำเนินการสร้าง PO ในระบบ GFMIS ได้จำเป็นต้องแยกรายการสัญญาในระบบ e-GP เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลบัญชีธนาคารให้กับผู้ค้าร่วมแต่ละรายได้ ซึ่งหน่วยงานต้องดำเนินการดังนี้ 1. หลังจากประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ให้ส่งแบบแจ้งปัญหาการใช้งานในระบบ e-GP ระบุเลขที่โครงการ และระบุรายละเอียดแจ้งขอให้เปลี่ยนวิธีการเบิกจ่ายเงินจากเป็นผ่าน GFMIS เป็น ผ่านและไม่ผ่านระบบ GFMIS มายัง กพภ. ทาง ที่กำหนดในแบบแจ้งฯ ( เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลรายละเอียดสัญญาหลักในระบบ e-GP ได้โดยยังไม่ต้องระบุธนาคาร ผู้รับเงิน)
7
ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
3. กรณีค้าร่วม Consortium (ต่อ) 2. เมื่อกรมบัญชีกลางดำเนินการปลดล็อกการเบิกจ่ายเงินในระบบ e-GP แล้ว ให้ส่วนราชการบันทึกข้อมูลสัญญา จนถึงขั้นตอนสาระสำคัญในสัญญา เป็นสถานะบันทึก (เพื่อให้ทาง ศทส. มีข้อมูลรายละเอียดสัญญาเป็นข้อมูลตั้งต้นในการแยกสัญญา) โดยขั้นตอนการทำงานในระบบ e-GP ตั้งแต่ขั้นตอนจัดทำร่างสัญญา ถึง ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญาเป็นสีเหลืองมีสัญญาลักษณ์แผ่นดิสค์ติดอยู่ ดังตัวอย่างด้านล่าง
8
การติดต่อสอบถาม ติดต่อ : เรื่องรวมซื้อรวมจ้าง ต่อ 6704 เรื่องสัญญา ต่อ 6928 , 6777 อื่นๆ ต่อ 6979 , 4647
9
? Q & A
10
Thank You What’s Your Message?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.