ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เอกสารประกอบการสอนกฎหมายปกครอง1 ครั้งที่ 3
อ.ศรุต จุ๋ยมณี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
2
เนื้อหาการนำเสนอ (Out line presentation)
วิวัฒนาการของการบริการสาธารณะ ประเภทของการบริการสาธารณะ ผลทางกฎหมายของการแบ่งบริการสาธารณะ วิธีการจัดทำบริการสาธารณะ วิธีการมอบให้เอกชนทำบริการสาธารณะ เครื่องมือของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ
3
วิวัฒนาการของการบริการสาธารณะ
การบริการสาธารณะในต่างประเทศ การบริการสาธารณะในประเทศไทย
4
การบริการสาธารณะในต่างประเทศ
5
การบริการสาธารณะในประเทศไทย
6
ป้องกันประเทศ บำบัดทุกข์ บำรุงสุข ไม่เก็บค่าบริการ
กษัตริย์ เวียง นา วัง คลัง
7
เอกชนที่ได้รับมอบหมาย
บำบัดทุกข์ บำรุงสุข การพาณิชย์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อาจเก็บค่าบริการ รัฐบาล เอกชนที่ได้รับมอบหมาย ราชการส่วนกลาง หน่วยงานอื่นของรัฐ ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ
8
ประเภทของการบริการสาธารณะ
ข้อแตกต่าง 1 บริการสาธารณะทางปกครอง 2.บริการสาธารณะเชิงอุตสาหกรรมและการพาณิชย กรรม 3.การบริการสาธารณะทางสังคมและวัฒนธรรม
9
ผลทางกฎหมายของการแบ่งบริการสาธารณะ
1 นิติสัมพันธ์ บริการสาธารณะทางปกครอง นิติสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานกับผู้ใช้บริการ อยู่ภายใต้ระบบกฎหมายปกครองและคดีที่เกี่ยวกับบริการสาธารณะประเภทนี้อยู่ในอำนาจการพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมนิติสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและผู้ใช้บริการบุคลากร และบุคคลภายนอกจะอยู่ภายใต้ระบบกฎหมายเอกชนและคดีเกี่ยวกับบริการสาธารณะประเภทนี้ อยู่ในอำนาจการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรม
10
2 กรณีผู้ใช้บริการของบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครอง
สถานภาพของผู้ใช้บริการจะถูกกำหนดโดยกฎ ข้อบังคับ ทั้งหมดตั้งแต่การกำหนดองค์กร การจัดองค์กรและการปฏิบัติงาน การใช้บริการสาธารณะประเภทนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการกับผู้ให้บริการจะมีลักษณะเป็นนิติกรรมเงื่อนไขมิใช่สัญญา ความรับผิดของฝ่ายปกครองสำหรับความเสียหายที่เนื่องจากการปฏิบัติงานที่บกพร่องของการบริการสาธารณะนั้น จึงเป็นความรับผิดจากมูลละเมิดไม่ใช่ความรับผิดตามสัญญา ส่วนสถานภาพของผู้ใช้บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมจะมีลักษณะเป็นสัญญาตามกฎหมายเอกชนจึงมีผลให้ความรับผิดของหน่วยงานบริการสาธารณะประเภทนี้มีต่อผู้ให้บริการ จึงเป็นความรับผิดตามสัญญา
11
วิธีการจัดทำบริการสาธารณะ
บริการสาธารณะที่ฝ่ายปกครองจัดทำเอง มี 4 แบบ 1การจัดทำบริการสาธารณะในรูปแบบของราชการ ราชการส่วนกลาง ได้แก่กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน กิ่งอำเภอ ราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่เทศบาล อบตง อบจ. กทม. เมืองพัทยา
12
2.การจัดทำบริการสาธารณะในรูปรัฐวิสาหกิจ
3.การจัดทำบริการสาธารณะในรูปแบบองค์การมหาชน 4.บริการสาธารณะที่มอบให้เอกชนทำ
13
วิธีการมอบให้เอกชนจัดทำบริการสาธารณะ
14
เครื่องมือของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ
มาตรการทางกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายไม่มีอำนาจ) บุคลากรของรัฐ ทรัพย์สินของฝ่ายปกครอง อำนาจพิเศษของฝ่ายปกครอง นิติกรรมทางปกครอง สัญญาทางปกครอง
15
ภาค 2 การจัดระเบียบการปกครองรัฐ
16
1.หลักการจัดระเบียบการปกครองรัฐ
“การจัดระเบียบการปกครองของรัฐ” คือ เป็นการกำหนดขอบเขต อำนาจหน้าที่ และจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของรัฐ โดยหลักในการจัดระเบียบการปกครองของรัฐที่ใช้กันอยู่ในประเทศต่างๆ มีอยู่ 3 หลัก คือ หลักการรวมอำนาจปกครอง (Centralization) หลักการแบ่งอำนาจปกครอง (Deconcentralization) แล หลักการกระจายอำนาจปกครอง (Decentralization)
17
หลักการรวมอำนาจปกครอง (Centralization)
หลักการรวมอำนาจมีความหมายได้ 2 ทาง คือ 1.หลักการรวมอำนาจในทางการเมือง และ 2.หลักการรวมอำนาจในทางการปกครอง
18
หลักการรวมอำนาจปกครอง มีลักษณะดังนี้ 1)มีการรวมกำลังทหารตำรวจให้ขึ้นกับส่วนกลาง
19
2)มีการรวมอำนาจในการวินิจฉัยสั่งการไว้ที่ส่วนกลาง
20
3)มีลำดับชั้นในการบังคับบัญชากล่าวคือความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรเจ้าหน้าที่ต่างๆเป็นไปตามระบบการบังคับบัญชา
21
อำนาจบังคับบัญชา คือ อำนาจในการที่จะสั่งการให้องค์กรเจ้าหน้าที่กระทำการใดๆ ตลอดจนแก้ไขเพิกถอนการกระทำขององค์กรเจ้าหน้าที่ต่างๆ ซึ่งเป็นอำนาจในการให้คุณให้โทษแก่ตัวบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเป็นองค์กรเจ้าหน้าที่ด้วย กล่าวคือ มีลักษณะเป็นทั้งอำนาจเหนือการกระทำ และอำนาจเหนือตัวบุคคลผู้กระทำ
22
ข้อดีและข้อเสียของหลักการรวมอำนาจปกครอง
มีข้อดีหลายประการ ประการที่สำคัญ คือ ทำให้ประเทศมีเสถียรภาพมั่นคงครอบคลุมอาณาเขตของประเทศแ เป็นการจัด การปกครองที่ประหยัด เพราะดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่และเครื่องมือเครื่องใช้ส่วนกลาง เป็นวิธีการปกครองที่ทำให้ผู้อยู่ใต้การปกครองได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาคไม่มีการเลือกปฏิบัติพิเศษในท้องที่ใด
23
หลักการรวมอำนาจปกครองก็มีข้อเสีย
คือ ทำให้การวินิจฉัยสั่งการเป็นไปโดยล่าช้า เพราะต้องดำเนินการตามขั้นตอนและระเบียบแบบแผนตามลำดับการบังคับบัญชา และไม่สามารถจัดทำบริการสาธารณะตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นต่างๆ ได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว คือ การรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย
24
หลักการแบ่งอำนาจปกครอง (Deconcentralization
หลักการแบ่งอำนาจปกครอง จึงเป็นหลักการที่นำมาเสริมเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยราชการบริหารส่วนกลางจะมอบอำนาจวินิจฉัยสั่งการบางส่วนให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้แทนราชการบริหารส่วนกลางซึ่งส่งไปประจำปฏิบัติการตามเขตการปกครองต่างๆ ของประเทศ แต่เจ้าหน้าที่เหล่านั้นยังคงเป็นผู้ที่ราชการบริหารส่วนกลางแต่งตั้งทั้งสิ้น และอยู่ในบังคับบัญชาของราชการบริหารส่วนกลาง หลักการแบ่งอำนาจปกครองนี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักการรวมอำนาจปกครอง ไม่ใช่เป็นการกระจายอำนาจปกครอง
25
ลักษณะสำคัญของการแบ่งอำนาจปกครอง
1) มีการแบ่งอำนาจวินิจฉัยสั่งการในกิจการบางอย่างให้ราชการบริหารส่วนภูมิภาค 2) ราชการส่วนภูมิภาคยังคงอยู่ภายใต้”ควบคุมบังคับบัญชา”ของราชการส่วนกลางอย่างใกล้ชิดโดยเจ้าหน้าที่ของราชการส่วนภูมิภาคมาจากการแต่งตั้งของราชการส่วนกลาง จากแนวคิดของหลักการแบ่งแยกอำนาจปกครองนี้ จึงเกิดการจัดการปกครองที่เรียกว่าราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัดและอำเภอนั้นเอง
26
ข้อดีและข้อเสียของหลักการแบ่งอำนาจปกครอง
ข้อดีของหลักการแบ่งอำนาจปกครอง คือ มีการส่งเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถมาปกครอง ให้กับประชาชนในพื้นที่ที่ยังไม่มีความสามารถในการปกครองตนเองจะช่วยสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้มากขึ้น ทั้งยังเป็นหลักการที่นำไปสู่หลักการกระจายอำนาจทางปกครองในพื้นที่ที่ประชาชนมีความรู้ความสามารถในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
27
ข้อเสียของหลักการแบ่งอำนาจปกครอง คือ เป็นอุปสรรคในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยเนื่องจากไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นปกครองดูแลผลประโยชน์ของตนและก่อให้เกิดความล่าช้าเพราะมีขั้นตอนการดำเนินการ 2 ระดับ ภูมิภาคและ ระดับส่วนกลาง
28
หลักการกระจายอำนาจทางปกครอง (Decentralization)
หลักการกระจายอำนาจปกครองเป็นวิธีที่รัฐมอบอำนาจปกครองบางส่วนให้องค์กรอื่นนอกจากองค์กรราชการบริหารส่วนกลาง จัดทำบริการสาธารณะบางอย่างโดยมีความเป็นอิสระตามสมควร ไม่ขึ้นอยู่กับการบังคับบัญชาของราชการบริหารส่วนกลาง เพียงแต่อยู่ในกำกับเท่านั้น
29
อำนาจควบคุมในการบังคับบัญชา หมายถึง อำนาจที่หัวหน้าหน่วยปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา โดยมีอำนาจทั้งในแง่ความเหมาะสมของการดำเนินงานและในแง่ของการควบคุมให้การทำงานเป็นไปอย่างถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด
30
อำนาจในการกำกับดูแล หมายถึง อำนาจที่องค์กรที่มีหน้าที่ในการกำกับดูแลองค์กรอื่นใช้ในการกำกับดูแลองค์กรนั้นๆ ทำงานภายใต้กรอบของกฎหมาย
31
ลักษณะของการกระจายอำนาจทางปกครอง
1) มีการแยกหน่วยงานออกไปเป็นองค์การนิติบุคคลอิสระจากองค์การของราชการบริหารส่วนกลาง นิติบุคคลเหล่านี้มีฐานะเป็นนิติบุคคลในกฎหมายมหาชน 2) มีการเลือกตั้ง 3) มีความเป็นอิสระที่จะดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ได้เอง โดยไม่ต้องรับคำสั่งหรืออยู่ใต้บังคับ งบประมาณและเจ้าหน้าที่ของตนเอง ซึ่งไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของราชการบริหารส่วนกลาง
32
ประเภทของการกระจายอำนาจทางปกครอง อาจทำได้ 2 ลักษณะ คือ
1)การกระจายอำนาจทางพื้นที่ หรือที่เรียกว่า การกระจายอำนาจทางเขตแดน 2)การกระจายอำนาจทางบริการ หรืออาจเรียกว่าการกระจายอำนาจทางเทคนิค (Decentralisation par service ou technique)
33
1) การกระจายอำนาจทางพื้นที่ หรือที่เรียกว่า การกระจายอำนาจทางเขตแดน
คือ การที่รัฐมอบอำนาจในการจัดทำบริการสาธารณะหลายประการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำ ทั้งนี้การจัดทำบริการสาธารณะที่ได้รับมอบหมายจะถูกจำกัดขอบเขตโดยพื้นที่หรืออาณาเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ การจัดระเบียบราชการบริหารลักษณะนี้เรียกว่า “การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” โดยมีองค์ประกอบสำคัญดังนี้
34
โดยมีองค์ประกอบสำคัญดังนี้
ปัจจัยทางด้านพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีขอบเขตอำนาจหน้าที่ของตนเองในกิจการท้องถิ่น ตามกฎหมาย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีองค์เจ้าหน้าที่ของตนเอง ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยเสรี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีอำนาจในการกำหนดนโยบายและมีอำนาจวินิจฉัยสั่งการโดยอิสระในขอบอำนาจหน้าที่ของตน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีการคลังของตนเอง
35
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องอยู่ภายใต้อำนาจกำกับดูแลทางปกครอง ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ประการดังนี้ คือ
(1) อำนาจกำกับดูแล เป็นอำนาจควบคุมในเรื่องความชอบด้วยกฎหมาย (2) อำนาจกำกับดูแลเป็นอำนาจที่มีอยู่อย่างจำกัดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ (3) เป็นการกำกับดูแลโดยส่วนกลาง (4) เป็นการกำกับดูแลเหนือองค์กรและการกระทำขององค์กรกระจายอำนาจกล่าวคืออำนาจกำกับดูแลเหนือองค์กรหรือตัวเจ้าหน้าที่และเหนือการกระทำการกำกับดูแลมีขึ้นเพื่อผลประโยชน์ทั่วไปของรัฐ
36
การกระจายอำนาจทางบริการ หรืออาจเรียกว่าการกระจายอำนาจทางเทคนิค (Decentralisation par service ou technique) คือการที่รัฐมอบอำนาจในการจัดทำบริการสาธารณะในบางเรื่องบางอย่างให้แก่องค์กรของรัฐที่จัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะเป็นผู้จัดทำการกระจายอำนาจทางบริการนี้มิใช่เป็นการกระจายอำนาจปกครองแต่เป็นการ “มอบ” ให้องค์การของรัฐไปจัดทำบริการสาธารณะโดยแยกออกมาเป็นนิติบุคคลต่างหากจากรัฐ มีทรัพย์สินของตนเองและมีผู้บริหารของตนเองโดยนิติบุคคลกระจายอำนาจนี้จะต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐเช่นกันซึ่งมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน เช่นการมอบอำนาจให้การประปาส่วนภูมิภาคจัดทำบริการสาธารณะโดยให้บริการน้ำประปาแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาค, การมอบอำนาจให้มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐจัดทำบริการสาธารณะด้านการศึกษา เป็นต้น
37
ความแตกต่างระหว่างหลักการแบ่งอำนาจปกครองกับหลักการกระจายอำนาจปกครอง
38
ความแตกต่างระหว่างหลักการกระจายอำนาจทางปกครองกับหลักการกระจายอำนาจทางการเมืองแบบสหพันธรัฐ
39
ข้อดีและข้อเสียของหลักการกระจายอำนาจทางปกครอง
40
ข้อดีและข้อเสียของหลักการกระจายอำนาจทางปกครอง
46
คำถามท้ายบท 1. การบริการสาธารณะคืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
2. การบริการสาธารณะต้องมีลักษณะอย่างไร 3. เครื่องมือที่ฝ่ายปกครองใช้จัดทำบริการสาธารณะมีอะไรบ้าง 4.ให้นิสิตอธิบาย พร้อมยกตัวอย่าง ข้อแตกต่างระหว่างบริการสาธารณะทางปกครองกับบริการสาธารณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม 5.ให้นิสิตอธิบายผลทางกฎหมายของการแบ่งบริการสาธารณะ 6.เครื่องมือของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะมีอะไรบ้าง ให้อธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
52
เทคนิคการนำเสนอ พูดชัดถ้อยชัดคำ เสียงดังพอ ยิ้มด้วยความมั่นใจ
ไม่พูดเร็วหรือช้าจนเกินไป ให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด จุดที่สำคัญอาจเน้นเสียง หรือหยุดให้เกิดความน่าสนใจ ไม่เล่นมุขตลกที่ไม่แน่ใจ (กลุ่มผู้ฟัง บรรยากาศ โอกาส) ใช้ไม้ชี้ หรือ Pointer จะช่วยให้ผู้ฟังติดตามได้ง่าย ไม่หันหลังให้ผู้ฟัง และพูดกับกระดานหรือจอภาพ
53
เทคนิคการนำเสนอ กวาดสายตาไปทั่วห้อง สังเกตสีหน้าและบรรยากาศ
กำหนดจุดที่จะยืนนำเสนอ ไม่บังจอภาพ ไม่เคลื่อนไหวไปมาบ่อยมาก จนทำให้ผู้ฟังสับสน สังเกตอากัปกิริยาของผู้ฟัง ฝึกใช้อุปกรณ์ที่จะใช้ และมาถึงห้องก่อนเวลานำเสนอ ให้มีความมั่นใจว่าผู้ฟังมีความสนใจในเรื่องที่จะนำเสนอ
54
เทคนิคการเตรียมสื่อ ขนาดตัวอักษรเหมาะสม มองเห็นได้ชัดเจนจากหลังห้อง
จำนวนอักษรต่อหน้าไม่แน่นเกินไป ไม่ควรเกิน 7 บรรทัด เรียบเรียงข้อมูลเป็นข้อๆ หากสามารถทำได้ ใช้ภาพช่วยในการสร้างความเข้าใจ นำเสนอภาพรวมก่อนนำเสนอรายละเอียดปลีกย่อยเสมอ ใช้สีช่วยในการจัดกลุ่มข้อมูล เน้นความสำคัญ สร้างการเคลื่อนไหว ช่วยดึงความสนใจ แต่ไม่มากจนเด่นกว่าข้อมูลที่นำเสนอ
55
เทคนิคการเตรียมสื่อ ใช้ฉากหลังช่วยในการแบ่งส่วนเนื้อหา
เลือก Slide Design & Background เลือกใช้ Slide Layout ที่กำหนดใน MS Power Point ให้มากที่สุด ไม่ควรใช้กล่องข้อความที่สร้างเอง พิมพ์ข้อความและใส่รูปภาพ จัดรูปแบบ ใส่ลำดับ และรูปแบบการนำเสนอ ดูซ้ำเพื่อทดสอบลำดับการนำเสนอ
56
เทคนิคการเตรียมสื่อ ใช้เส้นแนวโน้มช่วยเพื่อสร้างความเข้าใจ
ใช้รูปร่างจุดข้อมูลและสีให้เกิดความแตกต่างชัดเจน พร้อมแสดงสัญลักษณ์ให้เห็น แสดงข้อมูลเท่าที่จำเป็นและมีความสำคัญ ควรมีชื่อและลำดับที่กำกับรูปภาพและตาราง
57
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
58
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
59
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
60
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
61
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
62
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
63
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
64
ตัวอย่าง Slide ที่สีพื้นกับสีตัวหนังสือ
65
STD PPT STD PPT
66
STD PPT STD PPT
67
STD PPT STD PPT
68
STD PPT STD PPT
69
STD PPT STD PPT
70
STD PPT STD PPT
71
STD PPT STD PPT
72
STD PPT STD PPT
73
STD PPT STD PPT
74
STD PPT STD PPT
75
STD PPT STD PPT
76
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม
อ.ธีทัต ดลวิชัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
77
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม อ.ธีทัต ดลวิชัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
78
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม อ.ธีทัต ดลวิชัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
79
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม อ.ธีทัต ดลวิชัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
80
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม
ตัวอย่างหน้าแรก การนำเสนอโครงงานทางวิศวกรรม อ.ธีทัต ดลวิชัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
81
OUT LINE PRESENTATION ABCD EFGH IJKL MNOP QRST UVWX YZ
82
ABCD STD PPT
83
เปิดโอกาสสำหรับข้อซักถาม
หน้าก่อนสุดท้าย เปิดโอกาสสำหรับข้อซักถาม
84
หน้าสุดท้าย ขอบคุณครับ
85
ตัวอย่าง (ไม่ดี) การวิจัยและแก้ปัญหาพลศาสตร์ของไหล (Computational Fluid Dynamics: CFD) ในเมืองไทยช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีการนำความรู้ทางพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง เนื่องจากมีความสะดวก อีกทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและต้นทุนในการดำเนินการ อย่างไรก็ตาม เนื้องานส่วนใหญ่เป็นไปในเชิงประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์มากกว่าการพัฒนาซอฟต์แวร์ เหตุผลหนึ่งที่งานด้านพัฒนาซอฟต์แวร์ไม่ค่อยได้รับความสนใจจากนักวิจัยรุ่นใหม่เท่าที่ควรนั้น อาจเป็นเพราะลักษณะงานต้องการความละเอียดรอบคอบในการจัดการ เนื้องานมีความยุ่งยากและใช้เวลานาน
86
Homogeneity in wire drawing
ตัวอย่าง (a) 3A (c) 9A (b) 6A (c) 12A
87
ตัวอย่าง รูปที่ 1 แสดงการเปลี่ยนรูปของเส้นลวดขณะผ่าน Die
88
ตัวอย่าง รูปที่ 2 แสดงการเปลี่ยนรูปของเส้นลวดขณะผ่าน Die 3 pass
89
ตัวอย่าง โมดูล ชื่อโมดูล จำนวนชั่วโมง ร้อยละ 1
นโยบายและมาตรการส่งเสริม SMEs 3 1.78 2 การเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการใหม่ การวิเคราะห์โอกาสการลงทุนทางธุรกิจ 18 10.71 กลยุทธ์ทางการตลาด 12 7.14 4 การบริหารจัดการธุรกิจ ( การผลิต / บริการ ) 8.92 5 การบริหารองค์กรและบุคลากร 6 การบริหารทางการเงิน / การบัญชี 24 14.28 7 การจัดทำแผนธุรกิจและการเสนอแผนธุรกิจรายบุคคล รวม Module 1-7 ( ชม. ) 102 60.71 8 การให้คำปรึกษาเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดตั้งธุรกิจ 60 35.71 9 การศึกษาดูงาน 3.57 รวม Module 1-9 ( ชม. ) 168 100
90
จำแนกตามสถานะภาพการทำงาน
ตัวอย่าง จำแนกตามเพศ จำแนกตามช่วงอายุ จำแนกตามวุฒิการศึกษา จำแนกตามสถานะภาพการทำงาน
91
ผลสัมฤทธิ์การใช้สื่อ
92
ข้อซักถาม
93
จบ ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.