งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม

2 ตัวชี้วัดหลัก KPI( primary outcome) อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมงในระดับ F2 ขึ้นไป ตัวชี้วัดรอง KPI( secondary outcome) 1. ร้อยละรพ. F2 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์ ECS คุณภาพ > 70% 2. ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตมาโดยระบบ EMS > 60% 3. อัตราการรอดชีวิตผู้ป่วย OHCA 4. อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มี Ps>0.75 น้อยกว่า 1% 5. อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injury < 40% 6. ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง

3 ผลงานปี 2561 (ตค.-ธค.60) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ER
อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง ในรพ.F2ขึ้นไป >12% 2.03 ROSC OHCA >30% 18.75 (S) Survive to Admission >15% 16.67 (F2,M) Survive to Refer 100 ECS ECS คุณภาพ >70% 54.57% อัตราการตาย มี Ps score > 0.75 <1% 0.58% (7/1,198) Traumatic Brian Injury <40% 39.66

4 (Emergency severity index :ESI triage)
ผลงานปี 2560 จ.มหาสารคาม บุคลากร FTE EP (0.24 :แสน ปชก = 21 คน) : มี 3 EN/ENP (4.1 :แสน ปชก = 40 คน) : มี 10 Paramedic (4.1 :แสน ปชก = 40 คน) : มี 5 (รพมหาวิทยาลัย) ประเภทผู้ป่วย (ESI triage) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ( ตค – ธค 60) เฉลี่ย ราย/วัน Resuscitation 3,578 (7.37%) 3,981 (8.03%) 4,591 (9.52%) 1,504 16.71 Emergency 12,808 (26.37%) 15,011 (30.27%) 16,177 (33.53%) 4,802 53.35 Urgency 21,767 (44.82%) 20,415 (41.17%) 19,042 (39.47%) 4,883 54.25 Less Urgency 7,435 (15.31%) 6,400 (12.91%) 4,958 (10.28%) 805 8.94 Non Urgency 2,978 (6.13%) 3,777 (7.62%) 3,477 (7.21%) 798 8.87 TOTAL 48,566 49,584 48,245 12,792 เฉลี่ย/วัน(ราย) 133.06 135.84 132.17 142.13 (Emergency severity index :ESI triage)

5 อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง
ปี งบประมาณ Triage Level 1+2 Triage Level 1 Triage Level 2 เสียชีวิต (ราย) ทั้งหมด ( ราย) ร้อยละ ( ราย ) 2560 450 20,768 2.17 424 4,591 9.23 26 16,177 0.16 ตค59 -ธค59 122 3,864 3.16 114 1,146 9.94 8 2,718 0.29 2561 ตค60-ธค60 128 6,303 2.03 118 1,504 7.84 10 4,802 0.21 โรคที่เป็นสาเหตุ การเสียชีวิต จำนวน ร้อยละ Suspect MI 20 38.46 อุบัติเหตุจราจร 12 23.08 หายใจล้มเหลว 6 11.54 ติดเชื้อในกระแสเลือด 5 9.62 โรคพิษสุราเรื้อรังและตับแข็ง 2 3.85 Miss diagnosis 2 ราย Inappropriate treatment 5 ราย ระบบไม่มีประสิทธิภาพ ราย การพัฒนา

6 อัตราการมี ROSC , Surv.to Refer, Surv.to Admit ในผู้ป่วย OHCA
เดือน ROSC > 30% Surv.to Refer > 15 % Surv.to Admit > 15% OHCA Surv.to admit ต.ค. 60 4 16 1 (STEMI) 10 พ.ย. 60 5 22 ธ.ค. 60 รวม 9 ร้อยละ 18.75 48 1 ร้อยละ 100 8 ร้อยละ 16.67 5 สาเหตุ อันดับโรค จากผู้เสียชีวิต 52 ราย 1. Suspect MI ราย ร้อยละ 2. โรค อุบัติเหตุจราจร 12 ราย ร้อยละ 23.08 3. โรค หายใจล้มเหลว 6 ราย ร้อยละ 11.54 4. โรค ติดเชื้อในกระแสเลือด 5 ราย ร้อยละ 9.62 5. โรคพิษสุราเรื้อรังและตับแข็ง 2 ราย ร้อยละ 3.85 การทบทวน สาเหตุของการเสียชีวิต Miss diagnosis 2 ราย Inappropriate treatment 5 ราย System inadequate 1 ราย

7 Emergency Care Data Set & System
ER Crowding Emergency Care Data Set & System ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา ผู้รับบริการจำนวนมาก 1. พัฒนาศักยภาพ Node 2. พัฒนาระบบปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ Medical director Consult case refer Case EMS Dispatch-Assited CPR 3. Triage ระยะเวลา รอคอยการ รักษานาน ในกลุ่ม Urgent 1. พัฒนาระบบคัดกรองTriage 2. ขยาย OPD นอกเวลา น 3. Nurse Co-ordinator / Manager ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา พัฒนาระบบข้อมูล จัดทำคู่มือการจัดบริการและพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในห้องฉุกเฉิน การถ่ายทอดนโยบาย บูรณาการฐานข้อมูล IS/PHER/ITEMS Refer/HDC พัฒนามาตรฐาน TEA Unit จัดตั้ง TEA Unit ให้ครอบคลุ่ม โรงพยาบาล S พัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. แพทย์ EP 2. พยาบาล EN/ENP 3. ไม่มี Paramedic

8 2. 2P- ER Safety Goal ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา การให้ข้อมูลผู้รับบริการ
สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย 1. ประตูห้องฉุกเฉิน Safety 2. พนักงานรักษาความปลอดภัย 3. กล้องวงจรปิด 4. การจัดการ Violence in ER 5. Ambulance Safety 6. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ อัตรากำลัง 1. ทบทวนความเหมาะสมของ Work load 2. ทบทวนความเหมาะสมของค่าตอบแทน(เสี่ยง) การจัดการความเสี่ยง 1. อบรมการบริหารจัดการความเสี่ยง 2. Rapid Team คุณภาพการรักษา 1. ER Fast track 2. ATEC หลักสูตรแพทย์ ทบทวนคุณภาพการรักษา 1. Audit / Peer Review 2. วิจัย / นวัตกรรม 3. Mortality Conference

9 ผู้มารับบริการ ER จำแนกตามระดับความเร่งด่วน (ตค.-ธค.61)
พบว่า ผู้มารับบริการ ที่เป็นภาวะวิกฤตฉุกเฉิน ร้อยละ และฉุกเฉินปานกลาง ร้อยละ 40.16

10 ผลการดำเนินงาน ER ปี 2561 ไตรมาส 1

11 2P ER Safety Goal การให้ข้อมูลผู้รับบริการ ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข
1. สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย 1. ประตูห้องฉุกเฉิน Safety 2. พนักงานรักษาความปลอดภัย 3. กล้องวงจรปิด 4. การจัดการ Violence in ER 5. Ambulance Safety 6. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ ตัวอย่างรพ.ชลบุรี การให้ข้อมูลผู้รับบริการ

12 2P ER Safety Goal อัตรากำลัง 1. ทบทวนความเหมาะสมของ Work load
2. ทบทวนความเหมาะสมของค่าตอบแทน(เสี่ยง) รายงานผลการทบทวนอัตรากำลังการให้บริการ ER การจัดการความเสี่ยง 1. อบรมการบริหารจัดการความเสี่ยง 2. Rapid Team คุณภาพการรักษา 1. ER Fast track Stoke case STEMI case Head injury case Multiple trauma case High risk pregnancy case New born case Sepsis case ( ผลงาน ตค – ธค ๖๐) 2. แพทย์ผ่านอบรมหลักสูตร ATEC จำนวน ท่าน ทบทวนคุณภาพการรักษา 1. Audit / Peer Review 2. วิจัย / นวัตกรรม 3. Mortality Conference Audit ครั้ง วิจัย / นวัตกรรม ครั้ง Mortality Conference ครั้ง ผลการพัฒนาจาก Audit

13 ผลการประเมินตนเอง ECS คุณภาพ รพ.มหาสารคาม

14 ผลการประเมินตนเอง ECS คุณภาพ (ตค.-ธค.60)
คณะกรรมการวิจัย * โรงพยาบาล *กลุ่มการพยาบาล วิจัย - Facilitator - Cop วิจัย แนวปฏิบัติ/คู่มือ ครอบคลุมภัยตามความเสี่ยง MCI AAR HIS WI-MERT Mini MERT เฉลี่ย 52.4

15 การดำเนินงาน Disaster ปี 2561
1. การประเมินความเสี่ยงโดยใช้ Hospital Safety Index 2. จัดทำแผนสาธารณภัยในโรงพยาบาล 3. การซ้อมแผนและประเมินผลการซ้อม ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา 1.ไม่มีคู่มือ การจัดการสาธารณภัย ระดับ โรงพยาบาลและระดับจังหวัด 2. บุคลากร 1. จัดทำคู่มือ 2. แนวทางปฏิบัติ EOC 3. พัฒนาบุคลากร ความรู้ ทักษะ ความเพียงพอ (ทีมMERT /mini MERT) ผลการดำเนินงาน ประเด็นปัญหา แผนพัฒนา การเตรียมความพร้อม Hospital Safety 1. ประเมิน Hospital Safety Index ผลการดำเนินงาน อยู่ระหว่างการจัดทำคู่มือการประเมิน Hospital Safety Index (กรมการแพทย์) ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา การสื่อสาร ความรู้ความเข้าใจ ระดับปฏิบัติ/ บริหาร 1. ฝึกซ้อมสถานการณ์ / EOC 2. ทบทวน/ปรับปรุงคู่มือ 3. การบูรณาการแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลการดำเนินงาน ปฏิบัติจริง 3 ครั้ง - กลุ่มชน - อุทุกภัย - เทศกาลปีใหม่ (กล่องการแพทย์ฉุกเฉิน) 2. AAR ความรู้ ความเข้าใจ หน้าที่ การสื่อสาร – การใช้ระบบการสื่อสาร ตามแนวทางที่วางแผนไว้

16 GAP และ แผนพัฒนา รพ.มหาสารคาม
Work Gap บริหาร การกำกับติดตาม กำหนดแผนการติดตามการดำเนินงาน การรักษาพยาบาล Under Triage / ขาดการ re-evaluation พัฒนาสมรรถนะ /ทบทวนกระบวนการ re-evaluation พัฒนานวัตกรรม ทบทวน สื่อสารให้สหวิชาชีพเข้าใจตรงกันและมีการปฏิบัติตามแนวทาง มีหลักฐานการทบทวน ระบบบริหารจัดการ ไม่มีECS ในแผนยุทธศาสตร์ รพ. มีในแผนย่อยของหน่วยงาน Information system ขาดการวิเคราะห์ข้อมูล non trauma วิเคราะห์ข้อมูล non trauma นำข้อมูลด้านความพึงพอใจมาวิเคราะห์ แก้ไข สื่อสาร มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล ECS และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลประชากรแฝงในพื้นที่ Referral system ระบบส่งต่อ น้ำ อากาศ แพทย์ประจำศูนย์ ระบบการส่งต่อผู้ป่วย น้ำ อากาศ

17 แผนการดำเนินงาน EMS + Refer ปี 2561
2. Referral System ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไข EMS คุณภาพ (ผู้ป่วยสีแดง/Fast track) การเข้าถึงบริการ 48.78% วิเคราะห์สาเหตุเชิงลึก ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ อปท.ประชาชน พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม 2. คุณภาพ การดูแลผู้ป่วย ณ จุดเกิดเกตุ 1. Real time Online Medical Direction 2. Ambulance Operation Center ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข พัฒนาระบบRefer Back พัฒนา node พัฒนาระบบสารสนเทศ โปรแกรม refer/บูรณาการ Ambulance safety พัฒนาบุคลากร Ambulance Operation Center

18 ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตมาโดยระบบ EMS
อำเภอเมืองมหาสารคาม ไตรมาสที่ 1 ข้อมูล ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๐ Triage EMS Refer มาเอง % มาโดยระบบ EMS ALS BLS FR Level 1 167 18 871 131 58.54 Level 2 376 3 384 1,339 2,229 25.50 รวม 543 402 2,210 2,360 28.66 Fast track ทั้งหมด มาโดยEMS ร้อยละ Stroke 64 32 50 STEMI 56 31 55.36 Head Injury 9 100 Multiple Injury 7 6 85.71 รวม 136 78 57.35 ลำดับ สาเหตุ จำนวน ร้อยละ 1 รีบ 1,165 35.22 2 มีรถส่วนตัว 894 27.03 3 บ้านใกล้ 592 17.90 4 กังวลเรื่องไม่มีรถกลับ 393 11.88 5 ไม่อยากรบกวน รพ. 168 5.08 6 ไม่กล้าขึ้นรถ 96 2.90  รวม 3,308 100.00

19 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มี Ps > 0.75 น้อยกว่า 1%
PSPs > 0.75 เดือน เสียชีวิต Admit อัตราเสียชีวิต ตุลาคม 4 372 1.08 พฤศจิกายน 2 445 0.45 ธันวาคม 1 381 0.26 รวม 7 1,198 0.58

20 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injury
GCS 13-15 9-12 3-8 เสียชีวิต ทั้งหมด ตค 124 4 10 22 พย 129 5 7 16 ธค 123 6 20 รวม 376 15 23 39.66% 58

21 “พัฒนาคน ข้อมูล คุณภาพ”
TEA unit รพ.มหาสารคาม “พัฒนาคน ข้อมูล คุณภาพ” มีแพทย์ผู้อำนวยการศูนย์ (EP) 1 คน มีพยาบาล nurse coordinator Full-time1คน นักจัดการงานทั่วไป 1 คน มีผอ. TEA unit TEA Nurse Coordinator นักจัดการงานทั่วไป มีสำนักงาน มี Soft ware มีกิจกรรมคุณภาพ รพ.มหาสารคาม (S) / มีชั่วคราว อยู่ระหว่างการก่อสร้าง แนวทางการพัฒนาปี 2561 พัฒนาระบบข้อมูล ฐานข้อมูล ความสมบูรณ์ ทบทวนคุณภาพการบริการ Trauma Audit พัฒนาระบบประสานงานโดย case manager เชื่อม Software TEA unit กับ Hospital Information System (HIS) ส่งออกข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT วิเคราะห์ ผลการดำเนินงาน TEA unit ยังไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ (มีบุคลากร Full Time,1คน / มีสำนักงานชั่วคราว อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนา /ก่อสร้าง) ส่งออกข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT ยังไม่สมบูรณ์ (คุณภาพของข้อมูล) ผล


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google