ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเมืองและนโยบายประเทศมาเลเซีย
MPS5403 การเมืองและนโยบาย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเมืองและนโยบายประเทศมาเลเซีย พล.ต.ท.ดร.สัณฐาน ชยนนท์
2
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย ลักษณะภูมิประเทศ 1. มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้ที่ราบ 2 ด้านเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุก 2. มาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิอากาศ ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย พื้นฐานการเมือง มาเลเซีย
อุดมการณ์ชาติมี 5 ประการ 1. ทุกเชื้อชาติต้องเชื่อในพระเจ้า 2. จงรักภักดีต่อประมุขของชาติ 3. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด 4. ยึดหลักนิติธรรม 5. ประพฤติตามหลักศีลธรรมจรรยา (สัญลักษณ์ดอกชบา 5 กลีบ) พื้นฐานการเมือง มาเลเซีย สภาพภูมิศาสตร์ สภาพสังคม พื้นที่บนทะเล พื้นที่บนบก พื้นที่ออกนอกภูมิภาค มีเชื้อชาติ 17 กลุ่ม ภาษา รับเอกราชแล้วมีการรวมกลุ่ม เริ่มระบบพรรคการเมือง - จีน - อินเดีย - สหรัฐ - ภาษาอังกฤษ - มลายู เชื่อมอาเซียนด้วยกัน - มาเลเซีย - จีน - อินเดีย - UMNO มาเลย์ - MCA จีน - MIC อินเดีย ในทางกายภาพ วัฒนธรรมทางการเมือง ซ้ายมือคือคาบสมุทร ประกอบด้วย 11 รัฐ มีพื้นที่ติดกับไทย ขวามือคือตรงกลางเชื่อมด้วยทะเลจีน มีป่าไม้มาก คนมลายู - ผู้นำทางการเมือง - ปกครองประเทศ คนจีน - ผู้นำด้านเศรษฐกิจ คนอินเดีย - ฝ่ายสนับสนุน - ใช้แรงงาน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
4
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย เพลงชาติ เนการากู เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์ ภาษาทางการ ภาษามาเลย์ การปกครอง สหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ผู้ปกครองสูงสุด สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซะก์ เอกราช อังกฤษ (เฉพาะมาลายา) 31 สิงหาคม พ.ศ.2500 รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
5
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้ปกครองสูงสุด สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 (พระนามเดิม เติงกู มูฮัมมัด ฟาริส เปตรา; พระราชสมภพ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นยังดีเปอร์ตวนอากงพระองค์ที่ 15 และพระองค์ปัจจุบันของมาเลเซีย และสุลต่านแห่งรัฐกลันตัน พระองค์ได้รับการราชาภิเษกเป็นสุลต่านแห่งกลันตันเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ สืบราชบัลลังก์จากสมเด็จพระราชบิดาของพระองค์ สุลต่านอิสมาอิล เปตราแห่งกลันตัน ผู้ซึ่งถือว่าไร้ความเจ็บป่วย พระองค์ได้รับการประกาศให้เป็นยังดีเปอร์ตวนอากง (ประมุขแห่งรัฐมาเลเซีย) เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6
พระชนมชีพในวัยเด็กและการสำเร็จราชการ
ผู้ปกครองสูงสุด พระชนมชีพในวัยเด็กและการสำเร็จราชการ ติงกู มูฮัมมัด ฟาริส เปตราเป็นพระโอรสของสุลต่านอิสมาอิล เปตรา พระราชสมภพที่โกตาบารู พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นมกุฎราชกุมาร (Tengku Mahkota) ในเดือนตุลาคม พ.ศ พระองค์เข้ารับการศึกษาที่วิทยาลัยเซนต์ครอสส์ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และศูนย์อิสลามศึกษาออกซ์ฟอร์ด เพื่อการศึกษาทางการทูต และจบการศึกษาในปีพ.ศ. 2534 ในเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ พระราชบิดาของพระองค์ สุลต่านอิสมาอิล เปตรา ได้รับบาดเจ็บสาหัส สุลต่านอิสมาอิล เปตราทรงเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเมาท์ เอลิซาเบธ ในสิงคโปร์และพระองค์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซะก์ ดาโต๊ะซรี ฮัจญี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตน ฮัจญี อับดุล ราซะก์ (มลายู: Haji Mohammad Najib bin Tun Haji Abdul Razak) หรือ นาจิบ ราซะก์ เป็นนักการเมืองมาเลเซียจากพรรค อัมโน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี โดยดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่ พ.ศ ต่อจากอับดุลละห์ อะห์มัด บาดาวี เขาเป็นบุตรชายของอับดุล ราซะก์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 เป็นหลานของนายกรัฐคนที่ 3 (ฮุซเซน) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งมาเลเซียคนที่ 6 และคนปัจจุบัน ก่อนที่จะมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอับดุลละห์ บาดาวี อีกด้วยในตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เยาวชน และกีฬา และในที่สุดวันที่ 3 เมษายน 2552 เขาก็ได้ก้าวเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 6 ของมาเลเซีย นาจิบ ราซะก์ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
8
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซะก์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม 2556 นายนาจิบ ราซัค นายกรัฐมนตรีจากพรรคอัมโน และพรรคแนวอีก 12 พรรคที่เรียกตัวเองว่า Barisan Nasional หรือ BN สามารถคว้าชัยชนะ ในการเลือกตั้งกลับมามีอำนาจอีกครั้งหนึ่ง โดยได้ที่นั่งในสภาถึง 133 ที่นั่ง เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 6 ของประเทศอีกหนึ่งสมัย นับเป็นพรรคที่มีการผูกขาดอำนาจมาตั้งแต่ปลดแอกจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษเมื่อ 50 ปีก่อน การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นสมัยที่ 2 ของเขาในการเข้ามาบริหารประเทศมาเลเซีย นาจิบ ราซะก์ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
9
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย ประชากร ประเทศมาเลเซียมีจำนวนประชากร ล้านคน มีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ในอดีตเคยเกิดสงครามกลางเมือง เนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติ ประเทศมาเลเซียมีประชากรส่วนใหญ่ดังนี้ ชาวมลายู (Bumiputra) ร้อยละ 67.4 ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน ร้อยละ 24.6 ชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย ร้อยละ 7.3 อื่น ๆ ร้อยละ 0.7 รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
10
ความแตกต่าง ของชาติพันธ์
จุดเริ่มต้นการหว่านเมล็ดพันธ์แห่งเหินห่างและไม่ไว้วางใจกัน เกิดความแตกต่างของชาติพันธ์ ด้วยวิถีการดำเนินชีวิต ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม ระหว่างมลายู (มุสลิม) กับชาวจีน อินเดีย อังกฤษใช้หลักการแบ่งแยกแล้วปกครอง (Divide and Rule) ส่งผลให้ชาวจีนและอินเดีย เข้ามาอยู่ปะปนกับชาวมลายู ความแตกต่าง ของชาติพันธ์ ก่อกำเนิด พรรคคอมมิวนิสต์มลายู ค.ศ.1930 อังกฤษเข้าปกครองคาบสมุทรธมลายู สืบต่อจากฮอลันดา ค.ศ. 1824 ส่งเสริมชาวจีน อินเดีย ให้มีอำนาจทางเศรษฐกิจ มลายูทำการเกษตร และเป็นเจ้าของที่ดิน เกิดจากคนจีนบางส่วนเห็นว่า อังกฤษปกครองโดยกดขี่มลายู จึงต้องการขับไล่อังกฤษ ค.ศ.1941 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นครอบครองดินแดนมลายู และอินโดจีน อังกฤษคับขันทำข้อตกลงปล่อยตัวสมาชิกคอมมิวนิสต์มลายูเพื่อต่อต้านญี่ปุ่น กองกำลังชื่อ MPAJA (Malayan Peoples' Anti-Japanese Army) MPAJA ประสานงานใกล้ชิดกับอังกฤษ นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น สงคราม สิ้นสุดลง ทำให้ MPAJA มีอำนาจมากขึ้น เกิดความระหวาดระแวงระหว่างชาวมาเลย์ ชาวจีน มลายู ด้านการศึกษา ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน และความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ เน้นผู้เรียน สอนภาษามลายู และภาษาอังกฤษ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ส่งเสริมการเรียนภาษามลายู ทำให้ความเป็นเชื้อชาติอื่นลดลง ชาวจีนรู้สึกว่าอาจไม่ได้รับความเป็นธรรมจากมลายูเจ้าของที่ดิน ชาวมลายูไม่พอใจชาวจีน ที่เห็นแก่ตัว ด้อยสิทธิทางกฎหมาย หรือประชาชนชั้นสอง รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
11
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์ เมืองราชการ ปุตราจายา ศาสนา ร้อยละ 60 นับถือศาสนาอิสลาม ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ยางพารา เหล็ก แร่บ็อกไซด์ดีบุก ปาล์มน้ำมัน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
12
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย พื้นที่ 329,847 ตร.กม. ประชากร 31,020,000 ความหนาแน่น 82 คน/ตร.กม. สกุลเงิน ริงกิต จีดีพี รวม พันล้านดอลลาร์ ต่อหัว 10,345 ดอลลาร์สหรัฐ MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
13
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เศรษฐกิจของประเทศมาเลเซีย สินค้าส่งออกที่สำคัญ : วงจรรวมก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน น้ำมันปาล์ม น้ำมันดิบ คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ และส่วนประกอบ สินค้านำเข้าที่สำคัญ : วงจรรวม (integrated circuits) น้ำมัน คอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ตลาดส่งออกที่สำคัญของมาเลเซีย : สิงคโปร์ (14%) จีน (12%) ญี่ปุ่น (10.8%)สหรัฐฯ (8.4%) ไทย (5.3%) ตลาดนำเข้าที่สำคัญของมาเลเซีย : จีน(17%) สิงคโปร์ (13%) ญี่ปุ่น (8%) สหรัฐฯ (7.7%) ไทย (5.8%) มาเลเซียมีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และปริมาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิก รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
14
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทั่วไปของประเทศมาเลเซีย วัฒนธรรม มีสภาพคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นหมู่เกาะอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ได้แพร่เข้ามาในแหลมมลายู ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม 55% ศาสนาพุทธ 25% ศาสนาคริสต์ 13% ศาสนาฮินดู 7% และลัทธิศาสนาพื้นเมือง 4% แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทางภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูล ทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณะสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพตามนโยบาย ภูมิบุตร. รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
15
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์ ชื่อของประเทศมาเลเซียถูกตั้งขึ้นเมือ พ.ศ โดยมีความหมายรวมเอาสหพันธรัฐมาลายา สิงคโปร์ ซาบาห์ ซาราวัก และบรูไนเข้าด้วยกัน คำว่ามาเลเซียนี้เดิมเคยถูกใช้เป็นชื่อเรียกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนที่เป็นหมู่เกาะมาก่อน ซึ่งปรากฏหลังฐานจากแผนที่ที่ตีพิมพ์ในชิคาโกเมื่อปี พ.ศ ในการตั้งชื่อประเทศมาเลเซียนั้นมีการนำเสนอชื่ออื่นๆ มากมายก่อนที่จะได้ผลสรุปให้ใช้ชื่อมาเลเซีย ปรากฏความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นระหว่างหลายชนเผ่าพันธุ์และหลายวัฒนธรรมของประเทศ นอกจากชาวมาเลย์และกลุ่มชนพื้นเมืองแล้ว ยังมีผู้อพยพมาจากจีน อินเดีย อินโดนีเซียและส่วนอื่นของโลก ซึ่งรวมเข้าเป็นพลเมืองของมาเลเซีย รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
16
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์ (ต่อ) มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมอย่างน่าสนใจ อาจเนื่องมาจากการติดต่อสัมพันธ์นานปี กับภายนอกและการปกครองโดย ชาวโปรตุเกส ดัตช์ และ อังกฤษ ผลที่เกิดตามมาคือ การวิวัฒน์ของประเทศกับภายนอกและการปกครองโดย ชาวโปรตุเกส ดัตช์ และ อังกฤษ ผลที่เกิดตามมาคือการวิวัฒน์ของประเทศจนเปลี่ยนรูปของวัฒนธรรมดังจะได้เห็น การผสมผสานได้อย่างวิเศษของ ศาสนา กิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีการแต่งกาย ภาษาและอาหาร ประเทศมาเลเซียได้รับเอกราชคืนจากอังกฤษมาเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ปี ค.ศ เป็นสหพันธ์มาเลเซีย ต่อมาเมื่อรวมรัฐซาบาห์ และ รัฐซาราวัดเข้าด้วยแล้ว ประเทศมาเลเซียจึงได้ถือกำเนิดขึ้น รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
17
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์แบ่งตามยุคต่าง ๆ ยุคสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ชาวมาเลย์ในยุคแรก ๆ ตั้งถิ่นฐานรวมตัวกันอยู่ในหมู่บ้านเล็ก ๆ กระจัดกระจายอยู่ทางตอนเหนือของแหลมมลายู เมื่อประมาณ 1,500 ปีมาแล้ว ในช่วง 1,000 ปีแรก มีรายละเอียดเกี่ยวกับแหลมมลายูไม่มากนัก เรื่องราวของแหลมมลายู และดินแดนแถบนี้ ได้มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานครั้งแรก เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 ดังปรากฏในบันทึกของ ผู้แสวงบุญชาวจีนสองคนที่เดินทางโดยเรือจากจีนไปยังพุทธภูมิในอินเดีย รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
18
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์แบ่งตามยุคต่าง ๆ ปลายพุทธศตวรรษที่ 14 อาณาจักรฮินดูบนเกาะชวา คือ อาณาจักรมัชปาหิต และอาณาจักรสุโขทัยได้แผ่อำนาจเข้ามาแทนที่ แหลมมลายูจึงเป็นดินแดนแห่งพุทธศาสนา และศาสนาฮินดูมาก่อน ต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ.1944 อาณาจักรที่ถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของมาเลเซียปัจจุบัน มีผู้ปกครองคนแรกชื่อเจ้าชายปรเมศวร์ ได้สร้างหมู่บ้านประมงเล็ก ๆ ให้กลายเป็นอาณาจักรและศูนย์การค้าระหว่างอาณาจักรมีชื่อว่า มะละกา (Malacca) ทำการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับราชวงศ์หมิง (Ming) ของจีน และได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม เพื่อรับความคุ้มครอง และประโยชน์ทางการค้าจากบรรดาอาณาจักรต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ตามชายฝั่งตอนเหนือของเกาะสุมาตรา เพื่อให้พ้นจากอิทธิพลของอาณาจักรอยุธยา และมัชปาหิต ความรุ่งเรืองของมะละกา ดำรงอยู่ได้ประมาณเกือบร้อยปีก็ตกไปอยู่ในการปกครองของโปรตุเกส เมื่อปี พ.ศ. 2054 รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
19
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์แบ่งตามยุคต่าง ๆ สมัยสุโขทัย ในสมัยพ่อขุนรามคำแหง ฯ ราชอาณาจักรสุโขทัยได้แผ่ออกไปอย่างกว้างขวางใหญ่ไพศาล แผ่นดินในแหลมมลายูทั้งหมด รวมอยู่ในราชอาณาจักรไทย ดังหลักฐานที่ปรากฏในจดหมายเหตุของจีน แห่งราชวงศ์หงวน ซึ่งกล่าวไว้ว่า เมื่อปี พ.ศ.1838 อันเป็นปีที่ 18 ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง ฯ นั้น พระองค์ได้เสด็จยาตราทัพลงไประงับการจลาจล ในแหลมมลายูทางภาคใต้ สำหรับหลักฐานของไทยเราในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงได้กล่าวถึงอาณาเขตของกรุงสุโขทัยว่าครอบคลุมไปตลอดแหลมมลายู จากหลักฐานในจดหมายเหตุของจีน และหลักฐานในศิลาจารึก พ่อขุนรามคำแหง ฯ สมัยสมัยสุโขทัย แสดงให้เห็นว่า มลายูอยู่ในการปกครองของอาณาจักรไทย มาเป็นเวลาเกือบ 800 ปีมาแล้ว รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
20
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์แบ่งตามยุคต่าง ๆ สมัยอยุธยา มลายูยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรไทยในฐานะประเทศราชเช่นเดียวกับ ในสมัยสุโขทัย ซึ่งมีหลักฐานปรากฏอยู่ในพระราชพงศาวดารของไทย และพระราชพงศาวดารของจีน คือ ในสมัยอยุธยาตอนต้น พระราชพงศาวดารในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ได้กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่าเมืองมลายู และเมืองมะละกาเป็นประเทศราชของไทย ผู้ครองนครได้ถวายดอกไม้เงินดอกไม้ทองแก่ไทยเป็นประจำทุกปี ในพระราชพงศาวดารจีนสมัยราชวงศ์เหม็ง เมื่อปี พ.ศ.1940 ได้กล่าวถึงการที่พระเจ้าจักรพรรดิจีนได้ส่งขันทีที่ชื่อยันฉิ่ง เป็นทูตมายังเมืองมะละกา ได้กล่าวว่า "ประเทศนี้ ไม่มีกษัตริย์และไม่เรียกอาณาจักร แต่เป็นเมืองขึ้นของราชอาณาจักรไทย ซึ่งต้องส่งทองคำเป็นบรรณาการแก่ไทยเป็นประจำปี ๆ ละ 40 ตำลึง รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
21
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์แบ่งตามยุคต่าง ๆ สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ แหลมมลายูคงอยู่ในราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกับสมัยอยุธยา แต่ดินแดนบางส่วนของแหลมมลายู เริ่มถูกอิทธิพลของชาวตะวันตกหลายชาติ เข้ามายึดครองไปอยู่ในอำนาจของตน ตามลำดับเรื่อยมา จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ แหลมมลายูในส่วนที่เป็นประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ ในปัจจุบัน ได้ตกไปอยู่ในการปกครองของชาติตะวันตก ไทยเสียดินแดนมลายู และการเข้ายึดครองมลายูของอังกฤษ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
22
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประวัติศาสตร์ของประเทศมาเลเซีย ประวัติศาสตร์แบ่งตามยุคต่าง ๆ ไทยเสียมะละกาให้โปรตุเกส ปี พ.ศ.2062 ไทยเสียเกาะหมากหรือปีนังให้อังกฤษ ปี พ.ศ.2329 อังกฤษได้สิงคโปร์และดินดิงส์ ปี พ.ศ.2369 อังกฤษตั้งเสตรต เซ็ตเติลเมนต์ (Straits Settlement) ปี พ.ศ.2401 ไทยเสียสี่รัฐมลายู ครั้งสุดท้ายให้อังกฤษ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
23
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รูปแบบการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซีย จากการที่มาเลเซียเคยเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ ในที่สุด จึงได้มีการลอกเลียนแบบโครงสร้างการเมืองการปกครองของอังกฤษมาใช้เป็นอย่างมาก ยกเว้นระบบรัฐสภาซึ่งมาเลเซียมีทั้งรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลสหพันธรัฐ (Federal Government) และรัฐบาลแห่งรัฐ (State Government) รัฐธรรมนูญ ในช่วง 15 ปีแรก รัฐธรรมนูญของสหพันธ์มลายา อาศัยรูปแบบของข้อตกลง สหพันธ์มลายาของปี ค.ศ.1948 (Federation of Malaya Agreement) ในปี ค.ศ.1963 ได้มีการแก้ไขเล็กน้อย และทำการเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐมาเลเซีย เพื่อรองรับการเข้าร่วมเป็นประเทศ เดียวกันของสิงคโปร์ ซาบาห์ และซาราวัค แต่เมื่อสิงคโปร์ได้แยกประเทศออกไปในอีก 2 ปีต่อมา ก็ต้องมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญกันอีกครั้ง รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
24
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รูปแบบการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซีย รัฐธรรมนูญ (ต่อ) และหลังจากนั้นรัฐธรรมนูญก็ได้รับการแก้ไขในวาระต่าง ๆ เพื่อ ตอบรับต่อสถานการณ์ ทางการเมืองในยุคนั้น ๆ ระหว่างปี ค.ศ ถึงปี ค.ศ ได้มีการออก พระราชบัญญัติแก้ไขรัฐธรรมนูญถึง 34 ฉบับ แต่ละฉบับจะมีมาตราและพระราชกำหนดแก้ไขในประเด็นย่อย ๆ อยู่อีกหลายเรื่องด้วยกัน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
25
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รูปแบบการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซีย การสร้างชาติ ในยุคแรกของสหพันธ์มลายา (Federation of Malaya) ที่ประกอบขึ้นจากรัฐต่าง ๆ บนคาบสมุทรมลายู รวม 11 รัฐ รัฐสภาเป็นองค์กรหลักทำหน้าที่นิติบัญญัติของสหพันธ์ ประกอบด้วย สมาชิกสภาที่เป็นข้าราชการและบุคคลอื่น ๆ จำนวน 76 คน โดยมีข้าหลวงใหญ่อังกฤษ (British High Commissioner) เป็นประธานสภา แต่ต่อมาในปี ค.ศ.1955 สมาชิกสภาได้เพิ่มจำนวนขึ้นเป็น 98 คน โดย มีสมาชิก 52 คน มาจากการเลือกตั้ง ส่วนที่เหลือมาจากการเสนอชื่อ อย่างไรก็ตามสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติได้ยกเลิกไปภายหลังที่สหพันธ์มลายาได้รับ เอกราชเพียง 2 ปี รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
26
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รูปแบบการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซีย การสร้างชาติ (ต่อ) ภายหลังจากที่สหพันธ์ฯ ได้รับเอกราชแล้ว จึงได้มีการยกเลิกคำประกาศนั้นไปในปี ค.ศ.1960 ขณะเดียวกันการที่อังกฤษพยายามสอนชาวมลายูให้เข้าใจการปกครองประเทศด้วยการให้เข้ามารับราชการและจัดการเลือกตั้งในหลายระดับ ล้วนแต่มีผลต่อการที่สหพันธ์มลายูได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ในปี ค.ศ และจากความพยายามที่จะสร้าง แนวร่วมและความมั่นคง ให้กับโลกของชาวมลายูที่เคยเป็นและที่ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ รวมถึง แรงผลักดันของรัฐบาลที่ลอนดอนด้วย สหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia) ก็ได้ก่อกำเนิดขึ้นมา ในวันที่ 16 กันยายน 1963 ด้วยการรวมเอาสิงคโปร์ ซาราวัค และบอร์เนียวเหนือ เข้าไว้ภายใต้รัฐบาลเดียวกัน โดยมีกรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) เป็นเมืองหลวง รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
27
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รูปแบบการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซีย วิวัฒนาการทางการเมือง นับแต่นี้ไปจนถึงต้นศตวรรษที่ 21 มีประเด็นที่น่าสนใจอยู่เพียง 3 เรื่องด้วยกัน คือ ประเด็นที่ 1 เกี่ยวกับการส่งเสริมชาวมลายูตามลัทธิภูมิบุตร (Bumiputerism) ที่จะให้มีสถานภาพพิเศษและเข้าครอบงำทางการเมืองอย่างเด็ดขาด ประเด็นที่ 2 เกี่ยวกับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่รัฐพยายามนำเอานโยบายเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Policy:NEP) มาใช้ระหว่างปี ค.ศ และการประกาศวิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) ในปี ค.ศ.1991 ที่จะทำให้มาเลเซียเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในอีก 30 ปีข้างหน้า ประเด็นที่ 3 เกี่ยวกับการเมืองโดยตรง ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าพรรคอัมโนพยายามรักษาความเป็นผู้นำของกลุ่มหรือพรรคพันธมิตร (Alliance Party) หรือองค์การพันธมิตร (Alliance Organization) รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
28
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเมืองการปกครองของมาเลเซียในปัจจุบัน มาเลเซียปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ การปกครองเป็นแบบสหพันธรัฐ มีรัฐบาลกลางแห่งสหพันธรัฐ และรัฐบาลของแต่ละรัฐ โดยรัฐบาลกลางตั้งอยู่ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของมาเลเซีย ส่วนรัฐบาลแห่งรัฐตั้งอยู่ในแต่ละรัฐ รวมทั้งสิ้น 13 รัฐ โดยมีประมุขของรัฐเป็นสุลต่านหรือผู้ว่าการรัฐดังนี้ รัฐที่มีสุลต่านเป็นประมุข จำนวน 9 รัฐ ได้แก่ เปรัค ปาหัง เซลัง-งอร์ เปอร์ลิส เคดาห์ เนกรีเซมบิลัน ยะโฮร์ กลันตัน และตรังกานู รัฐที่มีผู้ว่าการรัฐเป็นประมุข จำนวน 4 รัฐ ได้แก่ ปีนัง มะละกา ซาราวัค และ ซาบาห์ นอกจากนี้ยังมีเขตสหพันธรัฐ (Federal Territory) อีก 2 เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ซึ่งเป็นเมืองหลวงและเกาะลาบวน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
29
ข้อที่ 1 ข้อตกลงสหพันธรัฐมาลายา Federation of Malaya
รัฐมลายูภายใต้การปกครองรัฐบาล สหพันธรัฐมาลายา (รัฐบาลกลาง) ข้อที่ 1 รัฐท้องถิ่นภายใต้อำนาจสุลต่านของแต่ละรัฐ - เประ (Perak) - ปะลิส (Perlis) - สลังงอร์ (Selangor) - ยะโฮร์ (Johor) - ปาหัง (Pahang) - ปีนัง (Penang) - เคดาห์ (Kedah) - มะละกา (Malacca) - กลันตัน (Kelantan) - ตรังกานู (Terengganu) ไม่ได้เกิด แต่อาศัยอยู่อย่างน้อย 15 ปี ใช้ภาษามลายู และอังกฤษได้ดี ข้อตกลงสหพันธรัฐมาลายา Federation of Malaya ไม่ได้อยู่ภายใต้การปกครอง สหพันธรัฐมาลายา เกิดและอาศัย 10 – 15 ปี ต้องอยู่ภายใต้การปกครอง สหพันธรัฐมาลายา ภูมิบุตร (Bumiputera) สิทธิความเป็นพลเมืองแต่กำเนิด รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
30
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเมืองการปกครองของมาเลเซียในปัจจุบัน (ต่อ) การแบ่งเขตการปกครองในปัจจุบัน ในปัจจุบันประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐและปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรูปแบบในการปกครองคล้ายอังกฤษกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประมุขแห่งรัฐมีตำแหน่ง เป็นพระราชาธิบดี รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
31
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
32
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเมืองการปกครองของมาเลเซียในปัจจุบัน (ต่อ) วันที่ได้รับเอกราช 31 สิงหาคม พ.ศ.2500 จากสหราชอาณาจักร รัฐธรรมนูญ ฉบับวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2500 แต่มีการแก้ไขหลายครั้ง โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.2550 ฝ่ายบริหาร มาเลเซียมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดี (Yang di-Pertuan Agong) เป็นประมุข ซึ่งมาจากการเลือกตั้งเจ้าผู้ปกครองรัฐ 9 แห่ง (ยะโฮร์ ตรังกานู ปะหัง สลังงอร์ เกดะห์ กลันตัน เนกรีเซมบิลัน เประและปะลิส) และผลัดเปลี่ยนหมุดเวียนกันขึ้นดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
33
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเมืองการปกครองของมาเลเซียในปัจจุบัน (ต่อ) ฝ่ายนิติบัญญัติ ระบบ 2 สภา (Bicameral Parliament หรือ Parliament) ประกอบด้วยวุฒิสภา (Senate หรือ Dewan Negara) ซึ่งมีสมาชิก 70 ที่นั่ง กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้ง 44 ที่นั่ง อีก 26 ที่นั่งมาจากการเลือกตั้งของตัวแทน 13 รัฐวาระ 3 ปีและสามารถดำรงตำแหน่งได้เพียง 2 วาระเท่านั้น และสภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives หรือ Dewan Rakyat) สมาชิกจำนวน 222 ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ฝ่ายตุลาการ ศาลแพ่งประกอบด้วยศาลสหพันธรัฐ (Federal Court) ศาลอุทธรณ์ และศาลสูงสำหรับศาลของซาบาห์ และซาราวัคบทเกาะบอร์เนียวประกอบด้วยศาลฎีกา ซึ่งผู้พิพากษาได้รับแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ โดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
34
โครงสร้างการปกครองของมาเลเซียแบ่งเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่
โครงสร้างการเมืองการปกครอง ระบบรัฐบาลของมาเลเซียมีทั้งรัฐบาลกลางหรือสหพันธ์ (Federal Government) และรัฐบาลแห่งรัฐ (State Government) แต่ละรัฐมีสุลต่านปกครอง และสุลต่านร่วมกันเลือกสมเด็จพระราชาธิบดี หรือ ยังดี เปอร์ตวน อากง (Yang di-pertuan Agong) เป็นกษัตริย์ปกครองประเทศ โดยมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันระหว่างสุลต่านทั้ง 9 รัฐ เพื่อเป็นประมุของค์ละ 5 ปี การปกครองเป็นแบบรัฐสภา (Parliament System) ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกมาจากการเลือกตั้ง และวุฒิสภา ที่สมาชิกมาจากการแต่งตั้ง อำนาจทางการเมืองขึ้นอยู่กับสภาผู้แทนราษฎร โครงสร้างการปกครองของมาเลเซียแบ่งเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ 1. ฝ่ายนิติบัญญัติ 2. ฝ่ายบริหาร 3. ฝ่ายตุลาการ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
35
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงสร้างการเมืองการปกครอง 1. ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายนิติบัญญัติประกอบด้วย 2 สภาคือ วุฒิสภา หรือสภาสูง (Senate หรือ Dewan Negara) จำนวน 70 ที่นั่ง มาจาก 2 ส่วนคือ ส่วนแรก มาจากการแต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี จำนวน 44 ที่นั่ง และส่วนที่สอง อีก 26 ที่นั่ง มาจากการเลือกโดยสภานิติบัญญัติของทั้ง 13 รัฐ จำนวนรัฐละ 2 คน มีวาระ 6 ปี สำหรับสภาผู้แทนราษฎร มาจากการเลือกตั้งเขตละ 1 คน รวม 219 คน มีหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมายที่รัฐบาลหรือวุฒิสภาเป็นผู้เสนอ ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 5 ปี รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
36
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงสร้างการเมืองการปกครอง 1. ฝ่ายนิติบัญญัติ (ต่อ) พรรคร่วมรัฐบาล (Barisan Nasional : BN) มีอำนาจและอิทธิพลต่อรัฐบาลมาเลเซีย ประกอบด้วยสมาชิกจากพรรคการเมืองต่างๆ ทั้งสิ้น 14 พรรค รวมตัวกันเป็นรัฐบาล พรรคการเมืองใหญ่ที่สำคัญ เช่น United Malays National Organization (UMNO), Malaysian Chinese Association (MCA), Parti Pesaka Bumiputra Bersatu (PBB), Gerakan Rakyat Malaysia Party (PGRM) และ Malaysian India Congress (MIC) และพรรคอื่น ๆ เป็นต้น พรรคฝ่ายค้าน ประกอบด้วยสมาชิกจากพรรคการเมือง 4 พรรค คือ Democratic Action Party (DAP), Parti Islam Se-Malaysia (PAS), Keadilan และ Bebas รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
37
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงสร้างการเมืองการปกครอง 2. ฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหารตามระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า พรรคการเมืองที่สมาชิกได้รับเลือกเข้ามาในสภามากสุด หรืออาจเป็นหัวหน้าพรรคที่เป็นแกนนำในสภาผู้แทนราษฎร โดยประมุขของประเทศจะเป็นผู้แต่งตั้ง คณะรัฐมนตรี (Cabinet) เป็นกลุ่มผู้กำหนดนโยบายอันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้านายกรัฐมนตรีจะเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเข้ามาดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ 3. ฝ่ายตุลาการ อำนาจตุลาการใช้ระบบกฎหมายของอังกฤษคือ Common Law ยกเว้นศาสนาอิสลามอยู่ภายใต้ระบบสหพันธ์ ทำให้อำนาจตุลาการมีความอิสระมาก เพราะไม่ถูกควบคุมโดยฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
38
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงสร้างการเมืองการปกครอง พรรคฝ่ายรัฐบาล UMNO United Malays National Organization พรรคองค์การร่วมแห่งชาติมาเลย์ MCA Malaysian Chinese Association สมาคมจีนแห่งมลายู MIC Malaysian Indian Congress สภาชาวอินเดียมลายู BN Barisan Nasional แนวร่วมพรรครัฐบาล มีอำนาจและอิทธิพลต่อรัฐบาลมาเลเซีย รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
39
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงสร้างการเมืองการปกครอง พรรคฝ่ายค้าน DAP Democratic Action Party พรรคกิจประชาธิปไตยของชาวจีน เน้นประชาธิปไตย สังคมนิยม เป้าหมายพรรคคือ ประชาธิปไตย สังคมนิยมที่สงบรุ่งเรือง เชื้อสายจีนเป็นหลัก MCA Malaysian Chinese Association สมาคมจีนแห่งมลายู MIC Malaysian Indian Congress สภาชาวอินเดียมลายู PR Pakatan Rakyat แนวร่วมพรรคฝ่ายค้าน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
40
ประเด็นปัญหาการเมือง ผลการเลือกตั้งปี 2004 และ 2008
1. พรรครัฐบาลเข้มแข็งมาก 2. เปลี่ยนตัวผู้นำทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน 3. พรรครัฐบาลบริหารประเทศด้วยความมั่นใจ 4. ผลการเลือกตั้งทำให้มาเลเซียเกิดคนรุ่นใหม่ สังคมใหม่ 4.1 กระแสแห่งเทคโนโลยี สังคมไซเบอร์ สื่อ อินเทอร์เน็ต 4.2 จำนวนประชากรลดลง 4.3 จำนวนหญิงมากกว่าชาย (ส่งผลคุณภาพประชากร) 1. พรรครัฐบาลเสียงไม่ถึง 2/3 ในรัฐสภาจึงไม่สามารถ ออกกฎหมายได้ 2. มีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้นำพรรค UMNO, MCA และ MIC 3. พรรครัฐบาลบริหารประเทศโดยลดขนาดคณะรัฐมนตรีและใช้ คนรุ่นใหม่มากขึ้น (แก้ปัญหาช่องว่างระหว่างวัย เพราะมาเลเซีย ต้องเปลี่ยนแปลงประเทศเป็นยุค 2020 ประเทศที่พัฒนาแล้ว) 4. ค.ศ.1997 ไทยเกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง มาเลเซียไม่กระทบ และ ปลายปี อันวาร์ รัฐมนตรีคลังถูกปลดออกจาก พรรค UMNO แต่คนรุ่นใหม่ชื่นชอบก็ลาออกจาก UMNO มาเข้าพรรคอันวาร์จำนวนมาก มีกระแสความตื่นตัวทาง การเมืองสูง ทำให้สอบตก กลายเป็นปัญหาของรัฐ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
41
ประเด็นปัญหาการเมือง ผลการเลือกตั้งปี 2004 และ 2008
ปัญหาของพรรครัฐบาล บทบาทที่เพิ่มขึ้นของฝ่ายค้าน 1. การยื้อแย่งตำแหน่งกันภายในพรรค UMNO, MCA 2. การทุจริต คอรัปชั่นของพรรค UMNO 3. การเมืองภายใต้อำนาจเงินตรา (Money Polities) 1. จัดตั้งกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า Pakatan Rakyat (PR) 2. ประเทศจุดยืนทางการเมืองคือ การยกเลิกกฎหมาย ที่ไม่เป็นธรรม การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม และ การแก้ปัญหาคอรัปชั่น 3. การแบ่งสัดส่วนการบริหารท้องถิ่น 4. ได้คะแนนการเลือกตั้งซ่อมในพื้นที่พรรครัฐบาล 5. ท้าทายรัฐบาล ด้วยการประกาศยึดปุตราจายา เป็นที่ตั้ง สำนักรัฐบาลและกระทรวงต่าง ๆ 6. การชุมนุมสาธารณะ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
42
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ที่มาแห่งความฮึกเหิม 1. ฝ่ายค้านเริ่มฉายแสงและความโดดเด่น จากที่เคยเป็นเพียงพรรคกลุ่มเล็ก ๆ ตั้งแต่ ค.ศ.1957 ที่พรรค UMNO แกนนำแนวร่วมพรรครัฐบาล (BN) ครองเสียงส่วนมากเด็ดขาด เมื่อ อัลวาร์ อิบราฮิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี หวนคืนสู่เวทีเลือกตั้งในนามพรรคฝ่ายค้าน 2. อดีตนายกรัฐมนตรี นายอับดุลลาห์ อาหมัด บาดาวี บริหารงานผิดพลาดทำให้การเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ พรรคร่วมรัฐบาลได้เพียง 140 ที่นั่ง จากจำนวน 222 สูญเสีย 58 ที่นั่ง ขณะที่ฝ่ายค้าน (PR) ได้ 82 ที่นั่ง มากกว่าเดิม 3 เท่าตัว แม้ว่าพรรคร่วมรัฐบาลจะได้จัดตั้งรัฐบาล แต่นายอับดุลลาห์ อาหมัด บาดาวี แสดงความรับผิดชอบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยมีนายนาจิบ ราซะก์ ขึ้นมาแทน 3. นายอัลวาร์ สามารถเจรจาพรรคฝ่ายค้านอื่น ๆ ที่จะไม่ส่งผู้สมัครเข้าแข่งขันในเขตพื้นที่เดียวกัน ผลงานนี้ทำให้การเลือกตั้ง ค.ศ.2008 ฝ่ายค้านได้ที่นั่งในสภาเพิ่มมากขึ้น รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
43
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ที่มาแห่งความฮึกเหิม 4. แนวร่วมฝ่ายค้าน (PR) เข้มแข็งขึ้น มีการปรับปรุงโครงสร้างพรรคและรวมตัวกัน เข้มแข็งกว่าเดิม มุ่งมั่นที่จะได้เสียงข้างมากและเป็นฝ่ายจัดตั้งรัฐบาล ทำลายประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 56 ปี มีการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต อย่างมีประสิทธิภาพและมืออาชีพ เสนอข้อมูลให้ประชาชนทราบอีกด้านหนึ่งที่แต่เดิมฝ่ายรัฐบาลพยายามปกปิดข้อมูล และยึดสื่อกระแสหลักเป็นเครื่องมือรัฐบาล 5. พรรคฝ่ายค้านโดยเฉพาะนายอัลวาร์ เสนอนโยบายประชานิยมหลายประการ เช่น รัฐจะอุดหนุนราคาน้ำมัน ไฟฟ้า น้ำประปา การให้เรียนฟรีระดับอุดมศึกษา อันวาร์ อิบราฮิม รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
44
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิเคราะห์ภาพรวมและสรุป 1. พรรคร่วมรัฐบาล (BN) พยายามปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องจากบทเรียนที่ผิดพลาดมาก่อน หวังได้ที่นั่งคืนมา 2. แนวร่วมฝ่ายค้าน (PR) มีจุดยืนแตกต่างกัน คือมาจากพรรคที่มีเชื้อชาติ ค่านิยมที่แตกต่างกัน ทำให้มีเป้าหมาย แตกต่างกัน ตัวอย่าง DAP : พรรคคนเชื้อสายจีนเป็นหลัก ต้องการต่อสู้เรียกร้องความเท่าเทียมในสิทธิต่าง ๆ PAS : กลุ่มมุสลิม ต้องการให้ประเทศใช้กฎหมายลงโทษแบบอิสลาม จึงเกิดข้อขัดแย้งกับพรรค DAP 3. สื่ออินเทอร์เน็ต จำกัดเฉพาะคนบางกลุ่ม ส่วนใหญ่เป็นคนรุ่นใหม่ แต่จะสามารถเพิ่มจำนวนฐานเสียงได้แค่ไหน 4. นโยบายประชานิยม ถูกโจมตีว่ารัฐบาลต้องนำภาษีมาแจกประชาชน ทำให้รัฐเป็นหนี้จำนวนมาก ตั้งขึ้นอัตราภาษี เมื่อฝ่ายค้านหันมาปูนโยบายประชานิยมเช่นกันกับที่เคยโจมตีรัฐบาล กลายเป็นว่านโยบายประชานิยมของใคร ดีกว่า และแนวร่วมฝ่ายค้านจะได้คะแนนเพิ่มแค่ไหน 5. อย่างไรก็ตามในมุมมองฝ่ายค้านเห็นว่าถ้าได้ที่นั่งเพิ่มมากขึ้นก็เชื่อว่าก้าวสำเร็จขึ้นอีกขั้น แต่หากได้เสียงข้างมาก เสมือนหนึ่งปฏิวัติการเมืองประเทศเลยทีเดียว รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
45
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเมืองการปกครองของมาเลเซียในปัจจุบัน (ต่อ) ระบบกฎหมาย กฎหมายจารีตประเพณีอังกฤษ (English Common Law) โดยมีการใช้กฎหมายอิสลาม (Islamic Law) ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชาวมุสลิม (ครอบครัวและศาสนา) ไม่ยอมรับเขตอำนาจโดยบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) นโยบายต่างประเทศ เดิมนโยบายต่างประเทศของมาเลเซียมีเป้าหมายหลักอยู่ที่การปกป้องและส่งเสริม ผลประโยชน์แห่งชาติด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ และผลประโยชน์ที่สำคัญอื่น ๆ แต่เมื่อดาโต๊ะ ซรี ดร.มหาธีร์ บิน โมฮัมหมัด ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมาเลเซียเมื่อปี 2524 นโยบายต่างประเทศมาเลเซียได้เน้นความสำคัญด้านเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังส่งเสริมความเป็นชาตินิยมอย่างเข้มแข็ง (strong and nationalistic defense) เพื่อรักษาผลประโยชน์ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
46
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นโยบายหลักในการปฏิรูปและพัฒนามาเลเซีย มีแนวคิดและนโยบายเป็น 4 เสาหลัก (Pillars) ดังนี้ 1. หนึ่งมาเลเซีย ประชาชนมาก่อน และปฏิบัติทันที (One Malaysia, People First, Performance Now) เป็นแนวคิดเพื่อส่งเสริมความเป็นเอกภาพของประเทศชาติ การยอมรับชาวมาเลเซียต่างเชื้อ และรัฐบาล ที่มีประสิทธิภาพ โดยจะส่งเสริมคุณค่า 8 ประการในสังคมมาเลเซีย ได้แก่ 1) ความมานะบากบั่น 5) ระบบสังคมที่เชื่อในการทำความสำเร็จด้วยตนเอง 2) การยอมรับ 6) ความอ่อนน้อมถ่อมตน 3) การศึกษา 7) ความจงรักภักดี 4) ความซื่อตรง 8) วัฒนธรรม ด้านความเป็นเลิศ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
47
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นโยบายหลักในการปฏิรูปและพัฒนามาเลเซีย 2. โปรแกรมการปฏิรูปการปกครอง (Government Transformation Program - GTP) เป็นนโยบายปรับปรุงและปฏิรูปการทำงาน และการให้บริการของภาครัฐให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบสนอง ความต้องการของประชาชน โดยกำหนดประสิทธิผลสำคัญระดับชาติ (National Key Result Areas - NKRA) 7 ประการ คือ 1) ลดอาชญากรรม 5) อัตราค่าครองชีพที่สูงขึ้น 2) ต่อต้านการคอรัปชั่น 6) ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ชนบท 3) ปรับปรุงผลการศึกษาของนักเรียน 7) ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนในเมืองใหญ่ 4) ยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรที่มีรายได้ต่ำ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
48
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นโยบายหลักในการปฏิรูปและพัฒนามาเลเซีย 3. แนวคิดต้นแบบเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Model – NEM) เป็นส่วนประกอบที่เป็นพื้นฐานสำหรับนโยบายการปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ (Economic Transformation Program – ETP) ทั้งเป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งนายกรัฐมนตรีราจิบได้มอบหมายให้สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจแห่งชาติ (National Economic Advisory Council – NEAC) เป็นผู้ศึกษาและเสนอต่อรัฐบาล โดยมีจุดประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) การเพิ่มรายได้ 2) การกระจายรายได้และผลประโยชน์ให้ครอบคลุมทุกภาคส่วน และ 3) การพัฒนาอย่างยั่งยืน 4. แผนมาเลเซียฉบับที่ 10 (10 Malaysia Plan – 10MP) เป็นแผนพัฒนาประเทศระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ โดยมีเป้าหมายหลักคือ การพัฒนามาเลเซียให้ก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง (High Income Country) รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
49
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) มาเลเซียเริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจระยะ 5 ปี ตั้งแต่ปี 2499 (Fist Malayan Plan) ซึ่งเป็นช่วงก่อนที่จะได้รับเอกราชจากอังกฤษ หลังจากได้รับเอกราชแล้ว มาเลเซียยังคงจัดทำแผนพัฒนาฯ ระยะ 5 ปีตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจที่อังกฤษได้ริเริ่มไว้ โดยเริ่มทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกในปี 2509 (First Malaysia Plan) ต่อมาในปี 2514 มาเลเซียได้กำหนดกรอบนโยบายการพัฒนาประเทศระยะยาวออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ นโยบายเศรษฐกิจใหม่ ( ) นโยบายพัฒนาใหม่ ( ) และนโยบายวิสัยทัศน์การพัฒนา ( ) จากปี จนถึงปัจจุบัน มาเลเซีย มีแผนพัฒนาฯ รวม 11 แผน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
50
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) มาเลเซียเริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจระยะ 5 ปี ตั้งแต่ปี 2499 (Fist Malayan Plan) ซึ่งเป็นช่วงก่อนที่จะได้รับเอกราชจากอังกฤษ หลังจากได้รับเอกราชแล้ว มาเลเซียยังคงจัดทำแผนพัฒนาฯ ระยะ 5 ปีตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจที่อังกฤษได้ริเริ่มไว้ โดยเริ่มทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกในปี 2509 (First Malaysia Plan) ต่อมาในปี 2514 มาเลเซียได้กำหนดกรอบนโยบายการพัฒนาประเทศระยะยาวออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ นโยบายเศรษฐกิจใหม่ ( ) นโยบายพัฒนาใหม่ ( ) และนโยบายวิสัยทัศน์การพัฒนา ( ) จากปี จนถึงปัจจุบัน มาเลเซีย มีแผนพัฒนาฯ รวม 11 แผน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
51
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) วิสัยทัศน์ 2020 ของมาเลเซีย คือ มาเลเซียจะเป็นประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมที่พึ่งพาตนเองได้ภายในปี มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ มีความเป็นอยู่ที่ดี มีการศึกษาระดับมาตรฐานสากล มีความมั่นคงทางการเมืองและประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ 2020 รัฐบาลมาเลเซียทุกรัฐบาลจะต้องทำงานต่อเนื่องให้ได้ ตามเป้าหมาย คือ เศรษฐกิจเติบโตร้อยละ 7 ต่อปี (ตามค่าจริง) ทุกปีตลอด 30 ปี จากปี 2533 ถึงปี 2563 และเศรษฐกิจที่เข้มแข็งเป็น 8 เท่า จากปี 2533 โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือจีดีพีจะเพิ่มจาก 115,000 ล้าน ริงกิต เป็น 920,000 ล้านริงกิต (คิดตามค่าเงินจริงในปี 1990) ภายในปี 2563 โดยได้กำหนด 9 ยุทธศาสตร์สำหรับ เป็นแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1.สร้างชาติให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความสำนึกและมุ่งหมายร่วมกัน เป็นชาติที่มีความสงบ มีบูรณาการด้านดินแดน มีความสามัคคี มีความรักและเสียสละต่อชาติบ้านเมือง รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
52
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) 2.สร้างสังคมที่มีความอิสระ มั่นคง และพัฒนา มีความเชื่อมั่นและศรัทธาและมั่นใจในตัวเอง มีความภาคภูมิใจในสิ่งที่เป็นอยู่และความสำเร็จที่ได้รับมีความแข็งแกร่งพอที่จะเผชิญกับปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ แสวงหาความเป็นเลิศ ตระหนักในศักยภาพของตน ไม่ตกอยู่ในอำนาจของผู้ใดและเป็นที่ยอมรับนับถือจากประชาคมนานาชาติ 3.สร้างสังคมประชาธิปไตยที่สมบูรณ์เต็มรูปแบบ เสริมสร้างและพัฒนาประเทศให้เป็นสังคมประชาธิปไตย ที่มีความเจริญก้าวหน้าแบบมาเลเซียที่ยึดถือชุมชนเป็นสำคัญและเป็นแบบอย่างให้กับประเทศอื่น ๆ 4.เสริมสร้างสังคมที่มีความเจริญงอกงามทั้งด้านคุณธรรมและจริยธรรม เป็นพลเมืองที่เคร่งครัดต่อศาสนาและค่านิยม 5.สร้างสังคมที่มีเสรีภาพและความอดทน ให้ชาวมาเลเซียทุกเชื้อชาติและศาสนามีอิสระที่จะปฏิบัติและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมและความเชื่อทางศาสนา โดยมีจิตสำนึกในความเป็นชาติเดียวกัน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
53
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิสัยทัศน์ 2020 (Vision 2020) 6.สร้างมาเลเซียให้เป็นสังคมวิทยาศาสตร์และมีความก้าวหน้า มีนวัตกรรมและรู้จักการมองไปในอนาคต มิใช่เพียงแต่เป็นผู้บริโภคเทคโนโลยีเท่านั้น แต่ร่วมเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับอนาคต 7.สร้างสังคมที่เอาใจใส่ซึ่งกันและกัน คำนึงถึงส่วนรวมมากกว่าสร้างสวัสดิการทางสังคมที่มิใช่แค่การให้แต่ มุ่งสร้างสังคมให้แข็งแกร่งและฟื้นฟูสภาพสังคมให้ดีขึ้น 8.สร้างสังคมที่มีความเที่ยงธรรมทางเศรษฐกิจ มีความยุติธรรมและความเท่าเทียมในกระจายความมั่งคั่งของประเทศ ให้ทุกคนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมที่ระบบเศรษฐกิจไม่มีการแบ่งแยกเชื้อชาติ 9.สร้างสังคมให้มีความมั่งคั่ง มีการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจ มีการแข่งขัน มีความแข็งแกร่งและยืดหยุ่น รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
54
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำไมมาเลเซียเจริญกว่าไทย (1) มีผู้นำวิสัยทัศน์ 1. มหาธีร์ มูฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 (ตรงกับยุค พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ) ช่วงที่ ประเด็นปัญหา - นโยบาย New Economic Policy (ฉบับที่ 6-7) 1. ความเหลอมล้ำทางเศรษฐกิจ - นโยบาย Look East Policy 2. เชื้อชาติ - นโยบาย Buy British Last รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
55
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำไมมาเลเซียเจริญกว่าไทย ช่วงที่ - นโยบาย Vision วิกฤติเศรษฐกิจเอเชีย 1997 (ต้มยำกุ้ง) 2. การเรียกร้องปฏิรูปการเมืองของกลุ่ม Reformasi > คนรุ่นใหม่ การรวมตัวของพรรคฝ่ายค้าน - แผนพัฒนา 10 ปี ระยะที่ 1 (ฉบับที่ 8) 3. การก่อการร้าย 4. การเป็นรัฐอิสลาม 5. ปัญหาประชากร 6. สังคมเปิดกว้างมากขึ้น รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
56
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำไมมาเลเซียเจริญกว่าไทย 1.1 ขณะนั้น (ยุค พล.อ.ชาติชาย) มาเลเซียยังตามหลังไทย ไม่มีแผนพัฒนาความก้าวหน้า มหาธีร์ กล่าวว่า “ไทยไปไหน มาเลย์ตาม” 1.2 จากปี 1990 มาเลย์วางแผน (สงครามเย็นยุติลง) มองภูมิภาคว่าควร เป็นอย่างไร แต่ถูกนโยบาย APAE ของสหรัฐ ทำให้ไม่ต้องการให้สหรัฐครอบงำ เกิดมุมมองทางเศรษฐกิจ 2020 เกิดมิติทางเศรษฐกิจและการเมือง 1.3 ผู้นำมาเลย์ ขายความคิดเกี่ยวกับภูมิภาค มองไปข้างหน้า 30 ปี มหาธีร์ มูฮัมหมัด รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
57
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำไมมาเลเซียเจริญกว่าไทย (2) นโยบายไทยหากเทียบกับมาเลเซีย เรายังไม่เริ่ม และมีการเปลี่ยนผู้นำตลอด แผนพัฒนาเศรษฐกิจก็หวังไม่ได้ มีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ไม่รู้ทิศทางที่จะไปแน่นอน แต่มาเลเซียมีนโยบายที่ต่อเนื่อง ห้ามเปลี่ยน เพราะถูกวางแผน เศรษฐกิจของประเทศ 2. นายนาจิบ ราซะก์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 (2009-ปัจจุบัน) 1. การมีส่วนร่วมภาคประชาชนต้องการทำให้เป็น One Malaysia ที่ไม่มีเชื้อชาติจีน มาเลเซีย อินเดีย และชนชาติอื่น ๆ ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด อยู่บนพื้นแผ่นดินมาเลย์คือคนมาเลย์ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
58
รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำไมมาเลเซียเจริญกว่าไทย (3) สถาบันพระมหากษัตริย์ มีบทบาทเสริม ในทางการเมืองไม่มีบทบาทอะไร แต่มีสถานะสูงสุดของประเทศ เพื่อไปงานต่าง ๆ มีอำนาจลงพระปรมาภิไธย (4) ทำไมมาเลเซียจึงไม่มีการปฏิวัติ จากทหารคงเป็นไปไม่ได้ เพราะทหารไม่มีบทบาทอะไรในโครงสร้างทางการเมืองของมาเลเซีย แต่ละหมู่เกาะจะมีกองทหารของตนเองสมัยดั้งเดิม ต่อมาอังกฤษให้ความช่วยเหลือ ทหารจึงเป็นทหารเกินขึ้นใหม่ภายใต้การปกครองแบบรัฐ แต่อาจจะเป็นการปฏิวัติโดยประชาชน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
59
การเมืองมาเลเซีย: พัฒนาการทางการเมืองและประเด็นปัญหา
1. สมัยก่อนอาณานิคม - รัฐจารีต 2. สมัยอาณานิคม – การบริหารจัดการในรูปแบบขององค์กรการเมือง และเศรษฐกิจและใหม่ 1. การอพยพเข้ามาของคนต่างชาติ 2. การเปลี่ยนแปลงของสังคมท้องถิ่นและประเพณีของรัฐมลายู 3. การจัดสรรปันส่วนเส้นแบ่งเขตแดน 3. สมัยประชาธิปไตย ( ปัจจุบัน) 3.1 ตนกู อับดุล เราะห์มาน (1957 – 1971) นโยบาย Bumiputera แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ – 1960 ฉบับที่ – 1965 ฉบับที่ – 1970 ภาคเกษตร 1. การสร้างชาติ 2. การสร้างสังคมแบบใหม่ รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
60
การเมืองมาเลเซีย: พัฒนาการทางการเมืองและประเด็นปัญหา
3.2 ตนกู อับดุล รอซัก (1971 – 1976) นโยบาย New Economic Policy (ฉบับที่ 4) ภาคอุตสาหกรรม – โรงงาน เทคโนโลยี ประเทศกำลังพัฒนา 3.3 ตนกู ฮุสเซ็น ออนน์ (1976 – 1981) นโยบาย New Economic Policy (ฉบับที่ 5) 1. ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ 2. เชื้อชาติ 3.4 ตนมหาธีร์ มูฮัมมัด ช่วงที่หนึ่ง – 1989 นโยบาย New Economic Policy (ฉบับที่ 6 - 7) นโยบาย Look East Policy . นโยบาย Buy British Last รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
61
การเมืองมาเลเซีย: พัฒนาการทางการเมืองและประเด็นปัญหา
3.4 ตนมหาธีร์ มูฮัมมัด (ต่อ) ช่วงที่สอง 1990 – 2003 นโยบาย Vision 2020 แผนพัฒนา 10 ปี ระยะที่หนึ่ง (ฉบับที่ 8) 1. วิกฤตเศรษฐกิจเอเชีย 1997 2. การเรียกร้องปฏิรูปการเมืองของกลุ่ม Reformasi (คนรุ่นใหม่) การรวมตัวของพรรคฝ่ายค้าน 3. การก่อการร้าย 2001 – 2002 4. การเป็นรัฐอิสลาม 5. ปัญหาประชากร 6. สังคมที่เปิดกว้างมากขึ้น รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
62
การเมืองมาเลเซีย: พัฒนาการทางการเมืองและประเด็นปัญหา
3.5 ตน อับดุลลอฮ์ อะห์มัด บาดาวี (2003 – 2009) บริหารงาน “work with me, not for me” นโยบาย Islam Hadhari แผนพัฒนา 10 ปี ระยะที่สอง (ฉบับที่ 9) “เศรษฐกิจการเมืองภูมิภาค” 1. ภาพลักษณ์ของประเทศมุสลิม 2003 2. ฝ่ายค้านได้ที่นั่งในรัฐสภามากขึ้นอย่างมีนัย ในการเลือกตั้งปี 2008 3.6 ดาโต๊ะ ศรี นาจิบ ตน รอซัก ( ปัจจุบัน) คำขวัญ People First, Performance Now นโยบาย One Malaysia (Key Performance Now) แผนพัฒนา 10 ปี ระยะที่สาม (ฉบับที 10) 1. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน รายวิชา MPS5403 การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.