ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSébastien Moreau ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แผนงานสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในระดับจังหวัด พ.ศ.2559-2561
แผนงานสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในระดับจังหวัด พ.ศ
2
อุบัติเหตุทางถนน...ความทุกข์ของสังคมไทย
คนไทยตาย จากอุบัติเหตุอันดับ 2 ของโลก ทุกๆ ชั่วโมง มีคนไทยต้องตายบนถนน 3 คน ทุกๆ ชั่วโมง มีคนไทยต้องป่วยหนัก/เจ็บสาหัส 200 คน ทุกๆ ชั่วโมง มีคนไทย 6 คนต้องกลายเป็นผู้พิการ “ตาย” จากอุบัติเหตุ 1 คน สูญเสียสูญทางเศรษฐกิจ = 5.3 ล้านบาท “พิการ” จากอุบัติเหตุ 1 คน สูญเสียทางเศรษฐกิจ = 6.2 ล้านบาท ข้อมูลจาก “รายงานมูลค่าความเสียหายของอุบัติเหตุในประเทศไทย” ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระบุว่า ในแต่ละอุบัติเหตุร้ายแรงที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตนั้น ความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นมีมูลค่าสูงถึง 5,300,000 บาทโดยเฉลี่ย และในแต่ละอุบัติเหตุร้ายแรงที่ทำให้มีผู้พิการนั้น ความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดมีมูลค่าสูงถึง 6,000,000 บาท
3
แนวโน้มการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุของประเทศไทย
4
โครงสร้างการจัดการความปลอดภัยทางถนนของประเทศ
นปถ. ศปถ. ตร. คม. สธ. ฯลฯ 5 เสาหลัก Infrastructure Management Safe vehicle Safe driver Care WHO ประเมิน 5 มาตรการในการแก้ปัญหา พบว่าประเทศไทยสอบตก 4 มาตรการ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ(สคอ.) สอบตก 4 ผ่าน 1 Dr. Etienne Krug (ผู้แทน WHO) กล่าวว่า มาประเทศไทยหลายครั้งแต่ยังไม่พบว่า มีหน่วยงานใดคือหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบหลักของไทย
5
ยุทธศาสตร์ สสส. “สามพลัง” ประสานความร่วมมือกับ
เครือข่ายต่างประเทศ และเอกชน - ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ระดับชาติ-จังหวัด-อำเภอ) กรม ปภ. ก.มหาดไทย - สตช. : กองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 1-9, นครบาล, ศูนย์ปฏิบัติการ ตำรวจชายแดน.ใต้ และกองบังคับการตำรวจทางหลวง - ก.สาธารณสุข (กรม คร., สธฉ.) - ก.คมนาคม (กรมขนส่งทางบก, กรมทางหลวง, สนข.) และอื่นๆ - WHO (HQ, Thailand) - Bloomberg Initiative - GRSP (HQ, Thailand) - AIP (Asia Injury Prevention) - Save the Children - Safer Roads Foundation (SRF) - JAMA และ JARI และอื่นๆ - ภาคเอกชน และหน่วยงานต่างๆ พลัง นโยบาย - สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ และเครือข่ายลดอุบัติเหตุ - มูลนิธิเมาไม่ขับ, เครือข่าย เหยื่อเมาแล้วขับ, ชมรมคนห่วงหัว - สมาคมหมออนามัย - มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค - เครือข่ายสื่อมวลชน - ภาคีรณรงค์ต่างๆ ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทาง ถนน (ศวปถ.) มูลนิธิไทยโรดส์ (ThaiRoads) คณะทำงานสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจรระดับจังหวัด (สอจร.) พลัง ปัญญา พลัง สังคม
6
แผนงานสนับสนุนการดำเนินงานป้องกัน อุบัติเหตุจราจรในระดับจังหวัด (สอจร
แผนงานสนับสนุนการดำเนินงานป้องกัน อุบัติเหตุจราจรในระดับจังหวัด (สอจร.) เป็นการรวมตัวผู้คนที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลง เน้นการประสานงานทั้งแนวราบและแนวดิ่ง (Matrix) นำแนวคิด INN คือ การพัฒนาศักยภาพแกนนำ (Individual) การสร้างกลุ่มคนทำงาน (node) การขยายตัวเป็นเครือข่าย (Net work) หลักการและแนวทางในการดำเนินงาน แบบ 5ส. 5ช. 5ส. (จากบทเรียนการทำงาน WHO) ได้แก่ 1) สารสนเทศ 2) สุดเสี่ยง/ระบุปัญหาความเสี่ยง 3) สหสาขาวิชาชีพ 4) สุดคุ้ม 5) ส่วนร่วม 5ช. ได้แก่ 1) ชงข้อมูล 2) ชักชวน/เชื่อม 3) ชื่นชม/เชียร์ 4) ช้อน แผนงาน/โครงการ 5) เช็ค ติดตามกำกับ
7
กลไกการทำงาน
8
กรอบแนวคิด (Conceptual Framework)
กลไก จังหวัด - แผนจังหวัดแบบ มีส่วนร่วม - นวัตกรรม - ฐานข้อมูล - ความร่วมมือจาก อปท. - มาตรการองค์กร - สื่อสารสาธารณะ ผลลัพธ์ระดับ จังหวัด - การลดอุบัติเหตุ จราจรในจังหวัด - พฤติกรรมการ ขับขี่ปลอดภัยดี ขึ้น - ใช้อุปกรณ์ที่ ปลอดภัยได้ มาตรฐาน(หมวก เข็มขัด) มากขึ้น แกนนำ ประเทศ ภาค จังหวัด แผนงาน สอจร.
9
ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน
10
กระบวนการขับเคลื่อนงาน สอจร.
พัฒนาข้อมูล พัฒนาคน พัฒนาเครือข่าย พัฒนานวัตกรรมเพื่อลดอุบัติเหตุ เชื่อมโยงภาคี ผลักดันข้อเสนอนโยบายสู่จังหวัด
11
โครงสร้างการทำงาน ของ สอจร.
ประธาน สอจร.อีสานตอนบน พี่เลี้ยง จังหวัด แกนนำ สอจร.อีสานตอนล่าง สอจร.เหนือตอนบน สอจร.เหนือตอนล่าง สอจร. ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ รองประธาน กองเลขาฯ ทีมประเมินภายใน ทีมประเมินภายนอก ทีมสื่อประชาสัมพันธ์ สอจร.ระดับภาค 7 ภาค สอจร.กลาง
12
เชื่อมประสาน สนับสนุน ผลักดัน สร้างการเรียนรู้ให้เกิดการขับเคลื่อนงาน
วิสัยทัศน์ เสริมพลังเครือข่าย สร้างจังหวัดถนนปลอดภัย พันธกิจ: พัฒนาศักยภาพทีมงาน หนุนเสริมพลังเครือข่าย มุ่งพัฒนาระบบข้อมูล สนับสนุนให้เกิดมาตรการองค์กร สื่อสารสาธารณะ ผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะ 1.สร้างและขยายทีมงาน ภาคีเครือข่ายเก่า/ใหม่ ทีมสนับสนุน/พี่เลี้ยง 2.พัฒนาระบบข้อมูล - ถอดบทเรียน - จัดการความรู้ - ประเมิน จัดลำดับ Ranking 3.มาตรการองค์กร - ร่วมสนับสนุนให้เกิดปลอดภัย หมวก เมา ฯลฯ 4.สื่อสารสาธารณะ -ประชาสัมพันธ์ -สร้างกระแสสังคม 5.ข้อเสนอเชิงนโยบาย -ระดับพื้นที่ จังหวัด ยุทธศาสตร์ ปฏิบัติการ สอจร.ส่วนกลาง เชื่อมประสาน สนับสนุน ผลักดัน สร้างการเรียนรู้ให้เกิดการขับเคลื่อนงาน ลดการบาดเจ็บ ตาย สังคมปลอดอุบัติเหตุ ขับเคลื่อนงาน เชิงประเด็น เชิงพื้นที่ เชื่อมประสานภาคี สอจร.ภาค หมวก เมา เร็ว ฯลฯ ขับขี่ปลอดภัย ลด ละพฤติกรรมเสี่ยง ทีมสนับสนุน/พี่เลี้ยง ทีมติดตามประเมินผลเสริมพลัง จังหวัด 12
13
วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์เฉพาะ
พัฒนาศักยภาพจังหวัด ให้เกิดกลไกในการลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดการบาดเจ็บสาหัส และการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. พัฒนาศักยภาพเสริมพลังให้คณะทำงาน สอจร. / เครือข่าย 2. กระตุ้น สนับสนุนเครือข่ายในจังหวัด ให้ดำเนินการป้องกันอุบัติเหตุจราจร และผลักดันให้เกิดการสร้างมาตรการองค์กรในทุกหน่วยงาน 3. จัดการความรู้ จากการถอดบทเรียน นำไปสู่การขยายผล 4. พัฒนาสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านความปลอดภัยทางถนนของประชาชน
14
และขยายภาคีเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมศักยภาพ และขยายภาคีเครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย ภาคีเชิงยุทธศาสตร์ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง คณะทำงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยง /Node ภาค ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ สนับสนุนคณะทำงานสหสาขาเกิดกระบวนการมีส่วนร่วม พัฒนาศักยภาพแกนนำ/พี่เลี้ยง/ภาคีเครือข่ายที่มีคุณภาพ เสริมพลังการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมการสวมหมวกฯแก้ปัจจัยเสี่ยงอื่น กิจกรรม จัดเวที เชื่อมร้อย ค้นหาภาคีเครือข่ายภาควิชาการและประชาสังคม เสริมศักยภาพทีมพี่เลี้ยง สอจร. ผนึกพลังร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนให้เกิดยุทธศาสตร์จังหวัด เชื่อมกับท้องถิ่น/สื่อมวลชนในการขับเคลื่อน อบรมการสืบสวนสอบสวนอุบัติเหตุฯ
15
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมศักยภาพและขยายภาคีเครือข่าย
สหสาขาวิชาชีพ เพิ่ม เดิม หน่วย สาธารณสุข 20 62 คน สรรพสามิต 1 ตำรวจ 26 36 ประกันสังคม 75 6 คมนาคม 17 13 ยุติธรรม สถานศึกษา 14 22 คุมประพฤติ ท้องถิ่น 30 3 นักวิชาการอิสระ 21 8 ภาคเอกชน 70 5 ปภ. 18 ภาคประชาชน 15 - พระ รูป สื่อมวลชน(ส่วนกลางภูมิภาค) 27 สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จป.ประธานและเลขาฯ 76 /152 รวมทั้งสิ้น 543 200 แผน สอจร. ระยะนี้ มุ่งเน้นเพิ่มภาคีเชิงนโยบาย และขยับการดำเนินการที่ท้องถิ่น/ชุมชนมากขึ้น
16
การพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสาร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสาร กลุ่มเป้าหมาย คณะทำงานจังหวัด พี่เลี้ยง/ทีมคณะทำงาน Nodeภาค ภาคีเครือข่ายหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้อง สอจร. มุ่งสู่ Knowledge and Information for change วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบข้อมูลสามารถนำมาแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนได้จริง สรุปบทเรียน กระบวนการทำงาน ที่ผ่านมาและจัดการความรู้ ขยายผลอย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 1. อบรมจัดทำ program เพื่อทำฐานข้อมูลจังหวัด 2. จัดเวทีให้ความรู้ ระบบข้อมูล 3. สนับสนุน วิเคราะห์ข้อมูลนำข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาใช้เครื่องมือ Ranking 4. สนับสนุน จัดการกับปัญหาในระดับพื้นที่ ตำบล อำเภอ โดยนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ เช่น การจัดการจุดเสี่ยงที่เกิดเหตุบ่อย และพฤติกรรมเสี่ยงสุด
17
สร้างมาตรการองค์กร กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม วัตถุประสงค์
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างมาตรการองค์กร กลุ่มเป้าหมาย คณะทำงานจังหวัด พี่เลี้ยง/ทีมคณะทำงาน Node ภาค ภาคีเครือข่ายหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน สร้างมาตรการความ ปลอดภัยทางถนนภายใน องค์กร กิจกรรม 1. จัดทำคู่มือจาก Best Practice 2. อบรม/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. ประสานภาคี เครือข่ายสร้างมาตรการ 4. องค์กรที่มีมาตรการองค์กรสู่ขยายผล 5. ผลักดันให้องค์กรทุกระดับมีมาตรการ ความปลอดภัย 6. เชื่อมประสานทีมประเมินผล สะท้อน ข้อมูลผลลัพธ์ สื่อสารประชาสัมพันธ์ องค์กรที่มีมาตรการเห็นผลชัดเจน
18
สอจร. จะเน้นการขยายฐาน High volume High Impact / M&E
19
ยุทธศาสตร์ที่ 4 สื่อสารสาธารณะ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย
ภาคีเครือข่ายเชิงนโยบาย พี่เลี้ยง/ทีมคณะทำงาน Nodeภาค ภาคีเครือข่ายหน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้อง เครือขายสื่อมวลชน วัตถุประสงค์ สื่อสารประชาสัมพันธ์ให้เกิด กระแสสังคม ร่วมกัน ดำเนินการป้องกันแก้ไขปัญหา อุบัติเหตุกับประชาชนทั่วไป พัฒนาขยายเครือข่ายสื่อสาร สาธารณะ กิจกรรม ประสานเชื่อมกับองค์กร ภาคี บุคคล/เหตุการณ์สำคัญ เพื่อสร้างโอกาสในการปชส. พัฒนา สร้างทีม นักประชาสัมพันธ์ ใน การเผยแพร่ข่าวสาร ร่วมกัน ประชาสัมพันธ์งานเวทีต่างๆ เพื่อสร้างกระแสนโยบาย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สื่อมวลชน สร้างช่องทางในการสื่อสาร เช่น Social Media ฯลฯ
20
ยุทธศาสตร์ที่ 5 นโยบายสาธารณะ วัตถุประสงค์ กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย ภาคีเชิงนโยบาย พี่เลี้ยง/ทีมคณะทำงาน Nodeภาค ภาคีเครือข่ายหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันให้เกิดข้อเสนอ เชิงนโยบายในระดับพื้นที่ จังหวัด ภาค ในประเด็นความ เสี่ยงหลักที่ส่งผลให้อัตราการ ตายจากอุบัติเหตุจราจรลดลง กิจกรรม ร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ผลักดันให้เกิดการจัดการกับปัญหา สนับสนุนให้เกิดเวทีระดับจังหวัด /ภูมิภาค จัดเวที กระตุ้นให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว สนับสนุนให้จังหวัดมีนโยบายสาธารณะ สร้างช่องทางในการสื่อสาร Social website
21
สอจร. จะร่วมผลักดันกับภาคีนโยบาย ระดับประเทศและระดับพื้นที่
เชิงประเด็น เช่น การจัดการเรื่องรถปลอดภัย/รถโรงเรียนปลอดภัย, Road Safety Audit, ความเร็ว เป็นต้น เชิงองค์กรเช่น ศาลจราจร, สถาบันด้านความปลอดภัยทางถนน เชิงพื้นที่เช่น วาระจังหวัด วาระท้องถิ่นปลอดภัย
22
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.