งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การติดตาม (Monitoring)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การติดตาม (Monitoring)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การติดตาม (Monitoring)
หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบว่าการ ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้หรือไม่ หมายถึง การเฝ้าสังเกต, วิธีประเมินโครงการ, การเฝ้าระวังสังเกตอย่างใกล้ชิด, เฝ้าสังเกต, ตรวจสอบวัดระดับความเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด

3 Monitoring และวิธีดำเนินการ
Care manager จำเป็นต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน ความสำคัญอยู่ที่การจับตามองความเปลี่ยนแปลงของผู้รับบริการแม้ในช่วงหลังจัดทำ Care plan ควรมีการประเมินเยี่ยมบ้านอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ตามสภาพผู้สูงอายุ และความจำเป็น Monitoring จะต้องพยายามประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง

4 เนื้อหาประเด็น Monitoring
หัวข้อ ประเด็น ผลการกำกับดูแล 1 ระดับความพึงพอใจของผู้รับการช่วยเหลือกับคนในครอบครัว 2 ระดับการบรรลุเป้าหมาย 3 ใช้บริการตาม Care plan หรือไม่ อย่างไร 4 มีการเสนอบริการ หรือบริการอื่นๆที่ส่งผลให้บรรลุเป้าหมายหรือไม่อย่างไร

5 จับประเด็นเนื้อหา ข้างต้น และวินิจฉัยว่าจำเป็นต้องเปลี่ยน Care Plan หรือไม่
สำหรับการบันทึกผลของ monitoring นั้น ตามพื้นฐานให้บันทึกไว้ในเอกสารบันทึก บันทึกโดยเรียบเรียงเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ ไม่ใช่บันทึกเป็นข้อสรุปโดยรวม

6 แบบฟอร์มการกำกับดูแล
วัน เดือน ปี ชื่อ – สกุล Care mamger…………………………………….. เป้าหมายการดำรงชีวิต (เป้าหมายการดูแลช่วยเหลือ) ผลการกำกับดุแล/สภาวะปัจจุบัน ประเมิน มาตรการรองรับ ในอนาคต (แผนการแก้ปัญหา)

7 ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมการให้การดูแล
ตัวอย่างการบันทึกการทำงานของCare Giver ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลผู้สูงอายุ……………………………………. ที่อยู่ โทรศัพท์ วัน เดือน ปี ที่ปฏิบัติงาน ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมการให้การดูแล ระยะเวลาในการดูแล การประเมินผลการดูแล หมายเหตุ

8 ตัวอย่างแบบฟอร์มต่างๆ

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19 แบบบันทึกการพยาบาลดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ให้การพยาบาลดูแลวันที่ เดือน พ.ศ ครั้งที่ ผู้ป่วย / ผู้สูงอายุ ชื่อ - สกุล อายุ ที่อยู่ โรค / ปัญหาสุขภาพ ประเมิน ADL ได้ คะแนน ชีพจร ครั้ง/นาที หายใจ ครั้ง/นาที อุณหภูมิ องศาเซลเซียส ความดันโลหิต / มม.ปรอท ค่าน้ำตาลในเลือด(เจาะปลายนิ้ว) มิลลิกรัม/เดซิลิตร ปัญหาสุขภาพที่พบ การพยาบาลดูแล ประเมินผลการพยาบาลดูแล ปัญหาด้านเศรษฐกิจ □ ไม่มี □ มี เรื่อง การดูแลช่วยเหลือ ปัญหาด้านครอบครัว สังคม □ ไม่มี □ มี เรื่อง การดูแลช่วยเหลือ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม □ ไม่มี □ มี เรื่อง การดูแลช่วยเหลือ ผู้ให้การพยาบาลดูแล

20 แบบประเมินตนเองของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver)
ชื่อ – สกุล ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ อายุ เลขบัตรประชาชน ที่อยู่ วัน เดือน พ.ศ. ที่ได้รับการฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ สถานที่ จำนวนผู้สูงอายุที่เคยให้การพยาบาลดูแลจนถึงปัจจุบัน คน ในปัจจุบันมี คน ชื่อ - สกุล ผู้สูงอายุที่ให้การพยาบาลดูแล อายุ ที่อยู่ โรค / ปัญหาสุขภาพ ระยะเวลาที่ผู้ช่วยเหลือดูแล ให้การพยาบาลดูแล ปัจจุบันผู้สูงอายุ □ มีชีวิตอยู่ คะแนน ADL ……………… คะแนน TAI ………………………. □ เสียชีวิต การประเมินตนเอง ส่วนที่ 1 ด้านทั่วไปของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ ให้ร้อยละ 20 ได้ร้อยละ ส่วนที่ 2 ด้านการพยาบาลดูแลผู้สูงอายุ ให้ร้อยละ 80 ได้ร้อยละ รวมร้อยละ 100 ได้ร้อยละ ระดับผลการประเมิน □ ดีเด่น (90-100%) □ ดีมาก (80-89%) □ ดี (70-79%) □ พอใช้ (60-69%) □ ต้องปรับปรุง (ต่ำกว่า 60%)

21

22 แบบประเมินผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver)
ชื่อ – สกุล ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ อายุ เลขบัตรประชาชน ที่อยู่ วัน เดือน พ.ศ. ที่ได้รับการฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ สถานที่ จำนวนผู้สูงอายุที่เคยให้การพยาบาลดูแลจนถึงปัจจุบัน คน ในปัจจุบันมี คน ชื่อ - สกุล ผู้สูงอายุที่ให้การพยาบาลดูแล อายุ ที่อยู่ โรค / ปัญหาสุขภาพ ระยะเวลาที่ผู้ช่วยเหลือดูแล ให้การพยาบาลดูแล ปัจจุบันผู้สูงอายุ □ มีชีวิตอยู่ คะแนน ADL ……………… คะแนน TAI ………………………. □ เสียชีวิต การประเมิน ส่วนที่ 1 ด้านทั่วไปของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ ให้ร้อยละ 20 ได้ร้อยละ ส่วนที่ 2 ด้านการพยาบาลดูแลผู้สูงอายุ ให้ร้อยละ 80 ได้ร้อยละ รวมร้อยละ 100 ได้ร้อยละ ระดับผลการประเมิน □ ดีเด่น (90-100%) □ ดีมาก (80-89%) □ ดี (70-79%) □ พอใช้ (60-69%) □ ต้องปรับปรุง (ต่ำกว่า 60%)

23

24 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การติดตาม (Monitoring)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google