งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Safe Anesthesia in One Day Surgery

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Safe Anesthesia in One Day Surgery"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Safe Anesthesia in One Day Surgery
พ.ญ. ณัฏฐิรา ปินทุกาศ กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาล ลำพูน 17 มกราคม 2562

2 ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จตามแผนการรักษาแบบ ODS
การเลือกหัตถการหรือการผ่าตัดที่เหมาะสม การคัดเลือกผู้ป่วยมาทำการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ วิธีการทางวิสัญญีที่เหมาะสม ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จตามแผนการรักษาแบบ ODS

3 การคัดเลือกหัตถการหรือการผ่าตัดที่เหมาะสม
ไม่มีการเสียเลือดมาก ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสารน้ำในร่างกายมาก ระดับความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดไม่มาก สามารถควบคุมได้ด้วยการรับประทานยาแก้ปวด การดูแลหลังผ่าตัดไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้เร็ว ระยะเวลาการผ่าตัดไม่เกิน 2 ชั่วโมง การคัดเลือกหัตถการหรือการผ่าตัดที่เหมาะสม

4 การคัดเลือกผู้ป่วย ผู้ป่วยสมัครใจเข้ารับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ
ประเมินโรคประจำตัวของผู้ป่วย, ถ้ามี จะต้องสามารถควบคุมได้และอยู่ในสภาวะคงที่ ไม่มีโรคประจำตัวที่อาจทำให้ต้องใช้เวลาในการเฝ้าระวังการดูแลหลังผ่าตัด/หลังระงับความรู้สึกเป็นเวลานาน เช่น เป็น Obstructive Sleep Apnea ประเมินความเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงระหว่างและหลังการผ่าตัด/ระงับความรู้สึก เช่น มีประวัติช่วยหายใจยาก, ประวัติแพ้ยาที่จำเป็นต้องใช้ในการผ่าตัด/ระงับความรู้สึก ประเมินความแข็งแรงและความเสี่ยงของผู้ป่วยโดยใช้เกณฑ์ของ American Society of Anesthesia Physical Status classification ซึ่งมี 6 ระดับ ที่โรงพยาบาลลำพูนอนุญาตให้ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ ODS จะต้องมี ASA classification I, II และ III เท่านั้น ผู้ป่วยสมัครใจเข้ารับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ ผู้ป่วยมีผู้ดูแลรับส่งในวันผ่าตัด และมีผู้ดูแลต่อที่บ้าน

5 วิธีการทางวิสัญญี

6 วิธีการทางวิสัญญี วิธีการทางวิสัญญี หัตถการผ่าตัด
Monitored Anesthetic Care (MAC) ไส้เลื่อนขาหนีบ, ริดสีดวงทวาร (ทำร่วมกับ LA) Topical Anesthesia ส่องกล้องกระเพาะอาหาร Local Anesthesia (LA) ไส้เลื่อนขาหนีบ, ริดสีดวงทวาร (ทำร่วมกับ MAC, Sedation) Regional Anesthesia (RA) การฉีดยาชาเข้าช่องน้ำไขสันหลังไม่ค่อยเป็นที่นิยมใน OPD case แนะนำให้ใช้วิธีฉีดยาที่กลุ่มประสาทหรือที่เส้นประสาทเลี้ยงเดี่ยวส่วนปลาย Sedation ส่องกล้องลำไส้ใหญ่ General Anesthesia (GA) ทุกหัตถการ

7 ขั้นตอนการส่งผู้ป่วยเพื่อประเมินและเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัด
ผู้ป่วยมีแผนที่จะเข้ารับการผ่าตัด นัดวันผ่าตัด แพทย์ผ่าตัดซักประวัติ ตรวจร่างกาย และส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น ไม่ ส่งตรวจเพิ่มเติมหรือส่งปรึกษาอายุรแพทย์ ปรึกษาทีม ใช่ วิสัญญีแพทย์ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย รับไว้รักษาแบบผู้ป่วยใน

8 วิสัญญีพยาบาล/ พยาบาล ศูนย์ส่องกล้องโทรเยี่ยมไข้ สอบถามอาการทั่วไป ตอบข้อ ซักถามของผู้ป่วย และเตือน ผู้ป่วยถึงนัดหมายในการ รักษากับแพทย์ ก่อนผ่าตัด 1 วัน

9 หลังจากผ่าตัดเสร็จ ผู้ป่วยที่ใช้บริการวิสัญญีจะได้รับการดูแลต่อในห้องพักฟื้นจนกว่า จะครบเกณฑ์การจำหน่ายผู้ป่วย รับไว้สังเกตอาการต่อเมื่อมีเหตุจำเป็น เช่น มีภาวะแทรกซ้อน ขณะ/หลังผ่าตัด โดยจะย้ายผู้ป่วยไปสังเกตอาการต่อที่หอผู้ป่วย ที่จัดเตรียมไว้ 1 วันหลังผ่าตัด วิสัญญีพยาบาล/พยาบาลศูนย์ส่องกล้องโทร เยี่ยมอาการ 7 วันหลังผ่าตัด พยาบาล COC ติดตามเยี่ยมอาการที่บ้าน 2 สัปดาห์หลังผ่าตัด ผู้ป่วยมาตรวจตามนัดที่โรงพยาบาลลำพูน

10 ปัญหาที่มักพบในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ไม่ทราบชนิดของยารักษาโรคประจำตัวของผู้ป่วย ไม่สามารถสืบค้นชนิดของยารักษาโรคประจำตัวของผู้ป่วย สืบค้นชนิดของยาได้ แต่ไม่สามารถสื่อสารให้ผู้ป่วยเข้าใจได้ว่าให้งดยาชนิดใดและงดเป็นระยะเวลาเท่าใดก่อนผ่าตัด ผู้ป่วยขับรถมาโรงพยาบาลพร้อมกับผู้ดูแลซึ่งขับรถไม่เป็น ผู้ป่วยและผู้ดูแลใช้ยานพาหนะสองล้อ ปัญหาที่มักพบในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด

11 ตัวอย่างยาบางกลุ่มที่ผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องหยุดก่อนผ่าตัด
ยาต้านเกร็ดเลือด Aspirin และ Clopidogrel ควรหยุดอย่างน้อย 7 วัน และ Ticlopidine ควรหยุด วัน ยาต้านการแข็งตัวของเลือด Coumadin (Warfarin) ควรหยุดอย่างน้อย 5 วัน ยารักษาโรคซึมเศร้า Monoamine Oxidase Inhibitor ควรหยุด 2-3 สัปดาห์ ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงกลุ่ม ACEI เช่น Enalapril หยุดในเช้าวันผ่าตัด ยารักษาโรคเบาหวาน หยุดในเช้าวันผ่าตัด ตัวอย่างยาบางกลุ่มที่ผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องหยุดก่อนผ่าตัด

12 ตัวอย่างบันทึกข้อความการรับประทาน/งดยารักษาโรคประจำตัว
ผู้ป่วยไม่ได้นำยามา ถ้ารับยาที่ รพ. ลำพูน จะสืบค้นผ่านระบบ IT ถ้ารับยาจากที่อื่นที่มิใช่ รพ. ลำพูน เภสัชกรเป็นผู้ประสานการสืบค้นยาที่ผู้ป่วยใช้เป็นประจำจากแหล่งที่รักษา เมื่อได้ข้อมูลยา เภสัชกรจะแจ้งให้แพทย์ทราบ แพทย์พิจารณาสั่งงด/ให้ทานต่อ ขึ้นกับชนิดของยา แพทย์เขียนบันทึกข้อความเพื่อให้ผู้ป่วยนำยาที่ใช้รับประทานเป็นประจำไปขอคำแนะนำการใช้ยาก่อนผ่าตัดจาก รพช. หรือ รพ.สต. ที่เกี่ยวข้อง พยาบาลผู้ให้คำแนะนำเซ็นชื่อกำกับ พร้อมให้ผู้ป่วยนำใบบันทึกข้อความนี้กลับมายื่นกับเจ้าหน้าที่ในวันนัดผ่าตัด

13 ตัวอย่างการลงข้อมูลในระบบ Thai COC
ติดตามหลังผ่าตัดครบ 7 วัน หรือ ก่อนนั้นตามดุลพินิจของแพทย์

14

15

16

17 จากผู้ป่วยในในโรคเดียวกัน
การเตรียมและการให้บริการการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยในโครงการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ ไม่ต่าง จากผู้ป่วยในในโรคเดียวกัน

18


ดาวน์โหลด ppt Safe Anesthesia in One Day Surgery

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google