งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
คู่มือสำหรับประชาชน ของ อปท. ตาม พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวก ฯ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ คณิตา ราษฎร์นุ้ย ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โทร ต่อ 2331 1

2 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ประโยชน์ที่ได้รับ รัฐกำหนดนโยบายและเป้าหมายการดำเนินงานชัดเจน ส่วนราชการ/ข้าราชการมีแนวทางการปฏิบัติเป็นมาตรฐานชัดเจน โปร่งใส วัดผลการดำเนินงานได้ ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ตรวจสอบการดำเนินงานได้ มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

3 พ. ร. ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ. ศ
พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ มาตรา 52 ให้ อปท. ประยุกต์ใช้อย่างน้อยเรื่อง คือการลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก และตอบสนองความต้องการของประชาชนเป็นหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ความช่วยเหลือแก่ อปท.

4 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1.เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ 2.ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 7 เป้าหมาย 3.มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ 6.อำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน 5.ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ 4.ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น 4 4

5 เป้าหมาย 4. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (=คุ้มค่า โปร่งใส นิติธรรม)
แนวทางปฏิบัติ 1. กระจายอำนาจผู้บริหารมอบอำนาจการตัดสินใจ 2. ควบคุม ติดตาม กำกับ ดูแลการใช้อำนาจ 3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือโทรคมนาคมตามความเหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนบริการ 4. จัดทำแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการ และประชาสัมพันธ์ เปิดเผย 5. บริการเชิงรุก จัดตั้ง/สนับสนุนศูนย์บริการร่วม 5 5

6 แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์
เป้าหมาย 6.การอำนวยความสะดวกและตอบสนอง ความต้องการของประชาชน (= นิติธรรม โปร่งใส มีส่วนร่วม รับผิดชอบ) แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ 1. กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการสาธารณะทุกงาน ประกาศให้ประชาชนทราบ และดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนด 2. กระบวนการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน แจ้งผลการดำเนินการภายใน 15 วัน หรือตามระยะเวลาที่กำหนด 3. จัดให้มีช่องทางสื่อสารที่หลากหลายในการร้องทุกข์ ร้องเรียน แสดงความคิดเห็น 6 6

7 แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ (ต่อ)
เป้าหมาย 6.การอำนวยความสะดวกและตอบสนอง ความต้องการของประชาชน (= นิติธรรม โปร่งใส มีส่วนร่วม รับผิดชอบ) แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ (ต่อ) 4. อำนวยความสะดวก ณ สำนักงานให้แก่ประชาชนที่มารับบริการ ได้แก่ จัดเก้าอื้รองรับประชาชนอย่างเพียงพอ มีป้ายบอกทาง/แผนผังกำหนดผู้รับผิดชอบแต่ละขั้นตอนชัดเจน มีแบบคำร้อง พร้อมตัวอย่างต่าง ๆ 7 7

8 แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ (ต่อ)
เป้าหมาย 6.การอำนวยความสะดวกและตอบสนอง ความต้องการของประชาชน (= นิติธรรม โปร่งใส มีส่วนร่วม รับผิดชอบ) แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ (ต่อ) มีจุดประชาสัมพันธ์และ จนท. ประจำ มีบริการล่วงเวลา/พักเที่ยง/วันหยุดราชการ มีอำนวยความสะดวกผู้พิการ/คนชรา มีมุมอินเตอร์เน็ต/ Free wifi มีจุดบริการน้ำดื่มให้ประชาชน มีห้องน้ำสะอาด รองรับบริการประชาชนอย่างเพียงพอ 8 8

9 พระราชบัญญัติ การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ. ศ
พระราชบัญญัติ การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. 2558

10 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ประกาศใช้เมื่อใด? พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ได้ประกาศใช้ ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2558

11 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร? กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายกลางที่จะกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้มีความชัดเจน เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนตามหลักของ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

12 ระยะเวลาในการใช้บังคับของพระราชบัญญัติฯ มีผลเมื่อใด?
(มาตรา 2 และมาตรา 17) พระราชบัญญัติฉบับนี้ จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 180 วันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา กล่าวคือ จะมีผลใช้บังคับ นับตั้งแต่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป

13 เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร? บังคับให้ใคร? ทำอะไร?
ในเรื่องการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ของการขออนุญาตในแต่ละเรื่อง ซึ่ง พ.ร.บ.ฯ ได้กำหนดให้ผู้อนุญาตตามกฎหมายจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนในเรื่องของการอนุญาตทุกประเภท เพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบและเข้าใจถึงรายละเอียดของเอกสารและหลักฐานที่จำเป็นต้องใช้ยื่น รวมทั้งกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน และประชาชนก็จะต้องยื่นคำขออนุญาตตามคู่มือสำหรับประชาชนในเรื่องนั้นๆ

14 มีขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติอย่างไร?
(มาตรา ๓ มาตรา ๔ และมาตรา ๕) พ.ร.บ. ฉบับนี้ใช้บังคับกับการให้บริการของหน่วยงานของรัฐกับประชาชน แต่ไม่ใช้กับการประสานงานบริการระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง โดยกำหนดให้หน่วยงานของรัฐ ได้แก่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกิจการอื่นใดของรัฐ ที่มีภารกิจเกี่ยวกับการพิจารณาการออกใบอนุญาต การอนุมัติ การจดทะเบียน การขึ้นทะเบียน การรับแจ้ง การให้ประทานบัตร และการให้อาชญาบัตร ตามกฎหมายหรือกฎ หน่วยงานของรัฐนั้น โดยผู้อนุญาตตามกฎหมายจะต้องดำเนินการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนทุกงานบริการ

15 องค์ประกอบของคู่มือสำหรับประชาชน
คู่มือสำหรับประชาชนดังกล่าวอย่างน้อยต้องประกอบด้วย (1) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคำขอ (2) ขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาต และ (3) รายการเอกสารหรือหลักฐานที่ผู้ขออนุญาตจะต้องยื่นมาพร้อมกับคำขอ สำหรับการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชนให้ผู้ที่จะมายื่นคำขออนุญาตทราบนั้น เมื่อหน่วยงานของรัฐใดได้จัดทำคู่มือสำหรับประชาชนเสร็จเรียบร้อยแล้ว หน่วยงานของรัฐนั้นจะต้องปิดประกาศคู่มือสำหรับประชาชนไว้ ณ สถานที่ที่กำหนดให้ยื่นคำขออนุญาตในเรื่องนั้นๆ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย ทั้งนี้ หากประชาชนต้องการที่จะได้สำเนาคู่มือดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดทำสำเนาให้โดยอาจจะคิดค่าใช้จ่ายหรือไม่ก็ได้

16 พ. ร. บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ม.ค.58 มีสาระสำคัญเกี่ยวข้องกับ อปท.ได้แก่ (มาตรา 7,17) อปท. ต้องจัดทำคู่มือประชาชนภายใน วัน นับจากประกาศใช้ (21 กค. 58) องค์ประกอบคู่มือประชาชน ต้องมี หลักเกณฑ์+วิธีการ+เงื่อนไข+ขั้นตอน+ระยะเวลา+รายการเอกสาร/หลักฐานที่ต้องใช้ ปิดประกาศ/เผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์

17 คู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่มีภารกิจในการให้บริการประชาชนทั้งภารกิจที่ได้รับมอบหมาย จากส่วนราชการหลักและภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเอง การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงต้องดำเนินการเป็น 2 แนวทาง คือ

18 คู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ มี 2 ส่วน ได้แก่ 1. การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ให้ อปท. พิจารณาจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนสำหรับกระบวนงานที่ อปท. รับผิดชอบออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติขึ้นเองทุกกระบวนงาน

19 คู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 2. การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนที่มีส่วนราชการอื่นรับผิดชอบทำคู่มือกลาง : ให้ อปท. นำคู่มือกลาง ในกระบวนงานที่มีส่วนราชการจัดทำร่างคู่มือกลาง ไปพิจารณาปรับเป็นคู่มือสำหรับประชาชนของ อปท. แต่ละแห่ง

20 พ. ร. บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ม.ค.58 มีสาระสำคัญเกี่ยวข้องกับ อปท.ได้แก่ (มาตรา 7,17) (ต่อ) ทั้งนี้ ส่วนราชการที่รักษาการตามกฎหมายในกระบวนงานบริการต่าง ๆ จะจัดทำคู่มือกลางให้ อปท. ก่อน แล้วจึงให้ อปท. ดึงข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิคส์มาปรับใช้ตามบริบทของ อปท. ตนเองตามความเหมาะสม ส่วนกระบวนงานบริการที่มีบาง อปท.ออกข้อบัญญัติเองต้องดำเนินการจัดทำคู่มือประชาชนในกระบวนงานบริการดังกล่าวเองด้วย

21 พ. ร. บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ม.ค.58 มีสาระสำคัญเกี่ยวข้องกับ อปท.ได้แก่ (มาตรา 7,17) (ต่อ) ก.พ.ร. เป็นหน่วยงานที่ตรวจความถูกต้องของคู่มือ อปท. สถ. จะประสานคู่มือกลางและแนวทางการลงคู่มือประชาชนของ อปท. ผ่านระบบอิเล็กทรอนิคส์ และติดตามการดำเนินการให้เป็นไปตามระยะเวลาและรายละเอียดขั้นตอนตามคู่มือที่ อปท. ประกาศในระยะต่อไป

22 พ. ร. บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ผู้อนุญาตต้องดำเนินการ (มาตรา 8-13) ตรวจสอบความถูกต้องของคำขอและเอกสาร หากไม่ครบ/ไม่ถูกต้อง ต้องแก้ไขทันทีหรือลงนามในบันทึกรับรู้ทั้ง 2 ฝ่าย กรณีถูกต้องแล้วจะเรียกเอกสารเพิ่มอีกไม่ได้ หากปฏิเสธคำขอโดยอ้างว่าเอกสารไม่ครบ/คำขอไม่สมบูรณ์ไม่ได้ ยกเว้นเป็นความประมาท/ทุจริตของ จนท. ซึ่งต้องรับโทษทางวินัย/ดำเนินคดี

23 พ. ร. บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ผู้อนุญาตต้องดำเนินการ (มาตรา 8-13) (ต่อ) ต้องดำเนินการภายในระยะเวลาตามคู่มือฯ และแจ้งให้ทราบภายใน 7 วัน หลังจากแล้วเสร็จ กรณีล่าช้าต้องแจ้งเป็นหนังสือถึงผู้ยื่นฯ สำเนาถึง ก.พ.ร. และส่งแจ้งทุก 7 วันจนแล้วเสร็จ หากไม่แจ้งทั้งกรณีแล้วเสร็จ/ล่าช้า มีโทษเท่ากับกระทำ/ละเว้นกระทำการ ทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น

24 พ. ร. บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ. ศ
พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ผู้อนุญาตต้องดำเนินการ (มาตรา 8-13) (ต่อ) ก.พ.ร. พิจารณาว่าการให้บริการขาดประสิทธิภาพ/ล่าช้าเกินเหตุ ต้องรายงานต่อ ค.ร.ม.และเสนอแนะข้อปรับปรุง หากใบอนุญาตมีอายุ อาจกำหนดโดยมติ ครม. ให้ถือว่าการชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุเท่ากับการต่อ/การยื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาต

25 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ แจ้งเรื่อง การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ (รายละเอียดตามหนังสือที่ มท /ว 351 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 เรื่อง การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. 2558)

26 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ แจ้ง อปท. ทุกแห่งในพื้นที่รับผิดชอบ ได้ทราบถึง การประกาศใช้ พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ และศึกษาเนื้อหาสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ฯ ดังกล่าว

27 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ ให้ อปท. สำรวจภารกิจต่างๆ อันเกี่ยวกับการอนุญาตเพื่อเตรียมความพร้อมจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนฯ ให้สอดคล้องกับ แนวทางการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนของสำนักงาน ก.พ.ร. รายละเอียดปรากฏตามเอกสารสิ่งที่ส่งมาด้วย (สามารถดาวน์โหลด ได้จากเว็บไซต์ สถ. เมนู หนังสือราชการ)

28 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ ส่งเสริมช่วยเหลือให้คำแนะนำ อปท. ในการดำเนินการ ตาม พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. 2558

29 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ แจ้งเรื่อง ซักซ้อมแนวทางการดำเนินงานเพื่อจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนของ อปท. ตาม พ.ร.บ.การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ (รายละเอียดตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท /ว ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการดำเนินงานเพื่อจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติ การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558)

30 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ โดยขอความร่วมมือจังหวัดดำเนินการ ดังนี้ การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ให้ อปท. พิจารณาจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนสำหรับกระบวนงานที่ อปท. รับผิดชอบออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติขึ้นเองทุกกระบวนงาน

31 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนที่มีส่วนราชการอื่นรับผิดชอบทำคู่มือกลาง : ให้อปท. นำคู่มือกลางในกระบวนงานที่มีส่วนราชการจัดทำร่างคู่มือกลางไปพิจารณาปรับเป็นคู่มือสำหรับประชาชนของ อปท. แต่ละแห่ง ทั้งนี้ สถ. ได้รับประสานคู่มือกลางของ อปท. ที่ส่วนราชการภายในสังกัด มท. จัดทำขึ้น เพื่อให้ อปท. นำไปปรับใช้ในชั้นต้น โดยสามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ของ มท.

32 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ การใช้งานระบบสารสนเทศของสำนักงาน ก.พ.ร. : ให้ศึกษาจากคู่มือ การใช้งานที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำขึ้น

33 สถ. ได้ส่งเสริมการดำเนินงานจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ ดังนี้ สำนักมาตรฐานการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สน.มถ.) ได้ประสาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศท้องถิ่น (ศส.) จัดทำแบนเนอร์คู่มือกลางของ อปท. ตาม พ.ร.บ.ฯ เพื่อลิงค์ร่างคู่มือกลางของทุกส่วนราชการที่จัดทำให้ อปท. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับใช้ในชั้นต้น ทั้งนี้ ศส. ได้ดำเนินการดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว สามารถเข้าไปดูที่หน้าเว็บ สถ.  Links น่าสนใจ  เลือกแบนเนอร์

34 สถ. ได้เพิ่มช่องทางการเข้าถึงคู่มือกลางฯ
รวบรวมไว้ที่หน้าเว็บไซต์กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

35 Links ที่น่าสนใจ  แบนเนอร์
“คู่มือกลางฯ ของ อปท. ตาม พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกฯ”

36 โดยให้ดำเนินการดังนี้
1) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเลือกคู่มือกลางไปปรับใช้เฉพาะกระบวนงานที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านมีบริการอยู่เท่านั้น งานบริการบางกระบวนงานอาจมีในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่ง เช่น การให้สัมปทานโดยการประมูลเงินอากรรังนกอีแอ่น, การขอต่ออายุใบอนุญาตจัดตั้งตลาด ฯลฯ 2) เมื่อเลือก download คู่มือกลางแล้วให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเปลี่ยนข้อความในหัวข้อ ดังนี้ 2.1) หน่วยงานที่รับผิดชอบ : เปลี่ยนเป็นชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่าน 2.2) ช่องทางการให้บริการ : เปลี่ยนเป็นสถานที่ให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ สำนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่าน เบอร์โทรศัพท์/โทรสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระยะเวลาเปิดให้บริการ 2.3) ช่องทางการร้องเรียน : ใส่ที่อยู่สำนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเบอร์โทรศัพท์ หรือช่องทางร้องเรียนอื่นๆ

37 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเลือกคู่มือกลาง
จากกระบวนงานที่มีเครื่องหมาย  กำกับว่าตรวจสอบแล้ว

38 เมื่อเลือกแล้วจะปรากฏหน้าต่าง ให้ดาวน์โหลดและ
กดบันทึกไฟล์ดังกล่าว

39 เมื่อเปิดไฟล์จะเป็นเอกสาร MS-Word
ให้เลือกเปลี่ยนข้อความในหัวข้อ ดังนี้ 2.1) หน่วยงานที่รับผิดชอบ : เปลี่ยนเป็นชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่าน

40 2.2) ช่องทางการให้บริการ : เปลี่ยนเป็นสถานที่ให้บริการของ อปท.
สนง. อปท. ของท่าน เบอร์โทรศัพท์/โทรสารของ อปท. ระยะเวลาเปิดให้บริการ

41 2.3) ช่องทางการร้องเรียน : ใส่ที่อยู่สำนักงาน อปท. เบอร์โทรศัพท์
หรือช่องทางร้องเรียนอื่นๆ

42 การจัดทำคู่มือกลางสำหรับประชาชนของ อปท.
ข้อมูลความคืบหน้า การจัดทำคู่มือกลางสำหรับประชาชนของ อปท. ณ 10 สิงหาคม 2558 ทั้งหมด 264 ตรวจสอบแล้ว 240 อยู่ในระหว่างตรวจสอบ 24

43 ชื่อกระบวนงานที่เพิ่ม
ลำดับ กระทรวง กรม ชื่อกระบวนงานที่เพิ่ม 1 พลังงาน ธุรกิจพลังงาน ออกใบรับแจ้งการประกอบสถานีบริการน้ำมัน (ค ลักษณะ ที่ ๑,ง และ จ ลักษณะที่ ๑) 2 ออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการสถานที่เก็บรักษาน้ำมัน ลักษณะที่ ๒ 3 การทดสอบถังครบวาระ ระยะที่ ๑ : แจ้งทดสอบและตรวจสอบ 4 การทดสอบถังครบวาระ ระยะที่ ๒: เห็นชอบผลการทดสอบและตรวจสอบ 5 มหาดไทย กรมการปกครอง ขอตรวจหลักฐาน รายการหรือข้อมูลเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน 6 การขอเปลี่ยนแปลงสถานะในเอกสารการทะเบียนราษฎรสำหรับคนไทยพลัดถิ่น 7 การตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดก 8 การขอรับใบแทนหนังสือสำคัญเกี่ยวกับทะเบียนชื่อบุคคลกรณีชำรุดในสาระสำคัญ หรือสูญหาย 9 การรับชำระภาษีบำรุงท้องที่

44 ขอขอบคุณถาม-ตอบ

45 e-mail : dlasupport@info.go.th
ช่องทางติดต่อ สำนักงาน ก.พ.ร. /สรอ.

46 ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
คณิตา ราษฎร์นุ้ย ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โทร ต่อ 2331 46


ดาวน์โหลด ppt ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google