งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการตรวจคัดกรองTB/HIV

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการตรวจคัดกรองTB/HIV"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการตรวจคัดกรองTB/HIV
ผกาวัลย์ แดหวา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่11จังหวัดนครศรีธรรมราช 15 พ.ค. 61

2 เป้าหมายและการดำเนินงานของ สคร. ปีงบประมาณ 2561
Total 249,523 ราย DM uncontrolled (63,796 ราย) 28,022=43.92% migrant (77,649 ราย) 64,813= 83.47% elderly ( 20,586 ราย) 30,153 = % 7 4 5 6 Close contact (7,638 ราย) 7,867=103% 2 TB in Prison (26,402 ราย) 2,603=9.86% 1 HCW (27,497 ราย) 29,881 = % 3 TB/HIV (25,955 ราย) 8,257 = 31.81% ข้อมูล ณ 7 พ.ค

3 ร้อยละผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (P,EP) ปี 2561
ที่มา: TBCMTHAILAND.NET 8 May 2018

4 ร้อยละการดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ ปี ไตรมาส 1-2 / 2561
ร้อยละการดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ ปี ไตรมาส 1-2 / 2561 ที่มา: TBCMTHAILAND.NET 8 May 2018

5 ร้อยละการดำเนินงานการทดสอบความไวต่อยาวัณโรค (DST) ในผู้ป่วย retreatment (ปอด) ไตรมาส 1-2/61
ที่มา: TBCMTHAILAND.NET 8 May 2018

6 ผลการรักษาในผู้ป่วยวัณโรค all form ไตรมาส 2/2560
ที่มา: TBCMTHAILAND.NET 8 May 2018

7 จำนวนผู้ป่วยวัณโรค (PN)
สรุปข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ไตรมาสที่ 1/2561 (PA) จังหวัด จำนวนผู้ป่วยวัณโรค (PN) กำลังรักษา Success เสียชีวิต ล้มเหลว ขาดยา โอนออก เปลี่ยนการรักษา เปลี่ยนวินิจฉัย RR/MDR ก่อนเดือนที่ 5 นครศรีธรรมราช 300 214 38 31 1 3 6 กระบี่ 75 54 25 5 พังงา 57 36 16 2 ภูเก็ต 148 102 24 10 สุราษฎร์ธานี 185 119 13 ระนอง 49 32 12 4 ชุมพร 99 70 14 11 รวมทั้งหมด 913 627 154 79 7 เสียชีวิต = 79 ราย (ร้อยละ 8.78) การรักษาล้มเหลว = 2 ราย (ร้อยละ 0.22) ขาดยา = 7 ราย (ร้อยละ 0.78) โอนออก (กำลังรักษา) = 31 ราย (ร้อยละ 3.44) ร้อยละ 13.22 ข้อมูล ณ 7 พ.ค

8 กลุ่มผู้ป่วยมีโรคหรือภาวะเสี่ยงต่อวัณโรค (clinical risk groups)
เป็นผู้ที่มีโรคประจำตัวที่มีภูมิต้านทานต่ำถ้าติดเชื้อวัณโรคมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคได้ง่าย -คนทั่วไปซึ่งติดเชื้อวัณโรคมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคร้อยละ 10 ตลอดช่วงชีวิต - ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ติดเชื้อวัณโรคร่วมด้วย จะมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคได้ร้อยละ 10 ต่อปี - ผู้ป่วยเบาหวานป่วยเป็นวัณโรคสูงกว่าบุคคลทั่วไปถึง 3 เท่า

9 แบบคัดกรองอาการสงสัยวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ใหญ่และเด็ก
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเด็ก 1) ไอผิดปกติ ที่อธิบายสาเหตุไม่ได้ 2) ไข้ภายใน 1 เดือนที่ผ่านมา 3) น้ำหนักตัวลดลงอย่างน้อย 5 % ของ น้ำหนักเดิมใน 1 เดือน 4) มีเหงื่อออกผิดปกติกลางคืนติดต่อกัน 3 สัปดาห์ใน 1 เดือน 1) ไอผิดปกติ (โดยเฉพาะนานกว่า 2 สัปดาห์) 2) ไข้นานกว่า 1 สัปดาห์ที่ไม่มีสาเหตุอื่น 3) น้ำหนักตัวลดลงหรือน้ำหนักไม่เพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์* 4) มีประวัติสัมผัสวัณโรคปอด ผู้ติดเชื้อทั้งเด็กและผู้ใหญ่ที่มีอาการตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป ให้ตรวจหาวัณโรคปอดและนอกปอด

10

11

12 หัตถาครองพิภพ

13


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการตรวจคัดกรองTB/HIV

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google