ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548
3
ประเภทของแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2. แผนพัฒนาสามปี แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 สภาพทั่วไป+ข้อมูลพื้นฐานของ อปท. บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา ท้องถิ่น บทที่ 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา บทที่ 5 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา บทที่ 6 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล แผนพัฒนาสามปี ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไป + ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการพัฒนาท้องถิ่นที่ผ่านมา ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์และแนวทางการ พัฒนาในช่วงสามปี ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา ส่วนที่ 6 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล
4
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ อปท. ที่กำหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาของ อปท. ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริการราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด อำเภอ และแผนชุมชน
5
แผนพัฒนาสามปี หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ อปท.ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปีโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี
6
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์ฯ กับแผนพัฒนาสามปี วิสัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พันธกิจ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนา แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา แผนพัฒนาสามปี โครงการ โครงการ โครงการ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม
7
วงรอบการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
๕6 ๕7 ๕8 ๕ แผนยุทธศาสตร์ฯ แผนพัฒนาสามปี ๒๕๕7 - ๒๕60 ๒๕58 - ๒๕61 ๒๕๕9 - ๒๕62 ๒๕60 - ๒๕63
8
องค์กรจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
9
คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (ไม่น้อยกว่า 16 คน)
ภาค อปท. ภาคราชการและหรือรัฐวิสาหกิจ ภาคประชาชน ผู้บริหารท้องถิ่น (ประธาน) ผู้แทนภาคราชการ และหรือรัฐวิสาหกิจ ไม่น้อยกว่า 3 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ผู้แทนประชาคมท้องถิ่น 3 – 6 คน รองนายก อปท.ทุกคน สมาชิกสภาท้องถิ่น 3 คน ปลัด อปท. (กรรมการ/เลขาฯ) หัวหน้าส่วนการบริหาร ที่มีหน้าที่จัดทำแผน (ผู้ช่วยเลขาฯ)
10
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ไม่น้อยกว่า 6 คน)
ภาค อปท. ภาคประชาชน ปลัด อปท. (ประธาน) ผู้แทนประชาคมท้องถิ่น 3 คน หัวหน้าส่วนการบริหารของ อปท. ทุกคน หัวหน้าส่วนการบริหาร ที่มีหน้าที่จัดทำแผน (กรรมการ/เลขาฯ) จนท.วผ.หรือพนักงาน ส่วนท้องถิ่น (ผู้ช่วยเลขาฯ)
11
อำนาจหน้าที่คณะกรรมการ และขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
คกก. พัฒนาท้องถิ่น+ประชาคมฯ + ส่วนราชการ ① กำหนดแนวทาง/ประเด็นการพัฒนา ② จัดทำร่าง คกก. สนับสนุนฯ ③ พิจารณา คกก. พัฒนาท้องถิ่น กรณี อบต. กรณี อบจ. เทศบาล/ เมืองพัทยา สภา อบต.พิจารณาเห็นชอบ ⑤ อนุมัติ ประกาศใช้ ④ อนุมัติ ประกาศใช้ ผู้บริหารท้องถิ่น
12
ความหมายของการวางแผน
กระบวนการในการบริหารงานให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์และนโยบายที่กำหนดไว้ โดยใช้ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ เวลา และการจัดการ มาประสานสัมพันธ์กันอย่างมีระบบเพื่อให้การดำเนินการตามแผนเป็นไปโดยเรียบร้อยสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ
13
การวางแผนเป็นกิจกรรมขั้นแรกของการบริหารงาน ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่ทำให้การทำงานบรรลุเป้าหมายขององค์กร
14
แนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. ใช้หลักการบริหารงานยุคใหม่ 2. ดำเนินการในรูปการมีส่วนร่วม 3. ยึดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและสมดุล 4. มีการบูรณาการในการพัฒนา 5. ใช้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา 6. ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
15
1. ใช้หลักการบริหารงานยุคใหม่
การบริหารยุทธศาสตร์ - แผนยุทธศาสตร์ + นักยุทธศาสตร์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารความเสี่ยง ภาวะผู้นำ + จริยธรรม
16
กำหนดวิสัยทัศน์ SWOT ติดตาม/ประเมินผล ปฏิบัติตามแผน แผนปฏิบัติการ
วิเคราะห์สถานการณ์ ปฏิบัติตามแผน กำหนดและจัดลำดับ ประเด็นการพัฒนา แผนปฏิบัติการ
17
การบริหารยุทธศาสตร์สำหรับ อปท.?
เป็นการวางแผนเพื่อตอบสนองกับเหตุการณ์ที่คาดว่า จะเกิดขึ้น เป็นการตอบสนองกับปัญหาของชุมชน และประชาชน เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในปัจจุบัน และอาจเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อให้มีการทำงานที่สอดประสานกับชุมชน
18
เหตุใดต้องมีแผนยุทธศาสตร์ในการบริหาร
เพื่อมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ส่งเสริมการทำหน้าที่ร่วมกัน กำหนดการวัดผลของความสำเร็จหรือล้มเหลวที่ชัดเจน แปลงยุทธศาสตร์ไปสูแผนงาน โครงการและผลผลิต เกื้อหนุนให้เกิดความร่วมรับผิดชอบซึ่งกันและกัน
19
การวางแผนฯ และงบประมาณ
ช่วยป้องกันการจัดสรรเงินที่ไม่เหมาะสม สามารถพิจารณาความเชื่อมโยงระหว่างแผนงานและ ข้อจำกัดทางการเงิน ส่งเสริมความโปร่งใสในการทำหน้าที่ ทำให้รัฐบาลรู้ว่าสมควรอุดหนุนช่วยเหลือในด้านใดบ้าง ทำให้มีการบริหารจัดการงบประมาณได้ดีขึ้น
20
ยุทธศาสตร์ ได้แก่ การพัฒนางานประจำ และงานที่เป็นสิ่งใหม่
งานใหม่ ยุทธศาสตร์ การพัฒนางานประจำ งานประจำที่ดำเนินการเป็นปกติ
21
ความเชื่อมโยงของกลยุทธ์ งานประจำ และ งบประมาณ
วิสัยทัศน์และพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ งานที่ต้องดำเนิน การเป็นปกติ เป้าประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนงานประจำ โครงการ กิจกรรม งบประมาณ 21
22
2. การดำเนินการในรูปการมีส่วนร่วม
เสริมอำนาจประชาชน ร่วมมือ เกี่ยวข้อง รับฟังความคิดเห็นของประชาชน ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน
23
3. ยึดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและสมดุล
การสร้างดุลยภาพอย่างรอบด้าน คุณภาพชีวิต การพึ่งพาตนเอง การคำนึงถึงลูกหลาน
24
การพัฒนาที่ยั่งยืนและสมดุล
การสร้างดุลยภาพอย่างรอบด้าน ต้องส่งเสริมให้เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาวัตถุและจิตใจ และการพัฒนาภาคการผลิตภาคเกษตรกรรมและการค้า ภาวะที่ได้ดุล พิจารณาจาก “ผลกระทบ” สภาวะที่การเจริญเติบโตของส่วนราชการไม่ไปบั่นทอนความเจริญเติบโตของส่วนที่เหลือ
25
หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณภาพชีวิต ต้องจำเป็นต่อการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชนด้วย อาจแบ่งคุณภาพชีวิต เป็น 2 ระดับ 1. คุณภาพชีวิตที่จำเป็นต่อการอยู่รอดขั้นพื้นฐาน 2. คุณภาพชีวิตที่จำเป็นต่อการยกระดับชีวิตความ เป็นอยู่ให้สูงขึ้น
26
หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพึ่งพาตนเอง ต้องส่งเสริมให้ชุมชนในท้องถิ่นมีรายได้เพียงพอต่อการหล่อเลี้ยงชุมชนของตนเอง โดยไม่แขวนความอยู่รอดไว้กับรายได้จากภายนอกเพียงอย่างเดียว แต่มิได้หมายความว่าให้ปิดตนเองจากภายนอก จุดเน้นคือ การลดสัดส่วนของรายได้ที่ต้องพึ่งพาภายนอกให้ลดลง แสวงหารายได้จากทรัพยากร หรือเอกลักษณ์ในท้องถิ่น รวมทั้งการแสวงหาตลาดสินค้าที่เปิดกว้างสู่ภายนอก การพึ่งตนเองไม่ได้คำนึงถึงสัดส่วนของรายได้เท่านั้น แต่กินความถึงกิจกรรมที่เอื้ออำนวยใช้กระบวนการผลิต ทรัพยากร และเทคโนโลยีที่ชุมชนมีอยู่และเป็นเจ้าของด้วย
27
หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
การคำนึงถึงลูกหลาน มิได้คำนึงถึงความเจริญที่เกิดขึ้นแก่คนปัจจุบันเท่านั้น แต่จะคำนึงถึงผลดีผลเสีย หรือว่าผลกระทบที่จะเกิดต่อคนรุ่นต่อไปด้วยหรือไม่
28
4. มีการบูรณาการในการพัฒนา
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและการแก้ไขปัญหาร่วมกันเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน “ภาครัฐ + อปท. + เอกชน + ประชาชน”
29
5. ใช้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
การพัฒนาต้องเอาคนเป็นตัวตั้งและยึดหลัก “ผลประโยชน์ของประชาชน” และ “การมีส่วนร่วมของประชาชน”
30
6. ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน ความเพียร แบ่งปัน) นำไปสู่ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม / สิ่งแวดล้อม สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน
31
สรุป...ยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่องค์กรทำเพื่อนำไปสู่ ความสำเร็จ
สรุป...ยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่องค์กรทำเพื่อนำไปสู่ ความสำเร็จ ปัจจุบัน เราอยู่ ณ จุดไหน (Where are we now?) การวิเคราะห์ SWOT ในอนาคต เราต้องการไปสู่ จุดไหน (Where do we want to be?) การกำหนดวิสัยทัศน์และทิศทางขององค์กร เราจะไปจุดนั้นได้อย่างไร (How do we get there?) การกำหนดยุทธศาสตร์ เราจะต้องทำหรือเปลี่ยนแปลง อะไรบ้าง เพื่อไปถึงจุดนั้น (What do we have to do or change in order to get there?) การแปลงยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
32
กำหนดแนวทาง/ ประเด็นการพัฒนา จัดทำร่างแผน พิจารณาร่างแผน
INPUT PROCESS OUTPUT ยุทธศาสตร์ระดับชาติ เศรษฐกิจพอเพียง นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาจังหวัด ภารกิจถ่ายโอน นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น อำนาจหน้าที่ อปท. ความต้องการและศักยภาพ ของชุมชน “แผนชุมชน” กำหนดแนวทาง/ ประเด็นการพัฒนา จัดทำร่างแผน พิจารณาร่างแผน สภาท้องถิ่นให้ความ เห็นชอบ(กรณี อบต.) ผู้บริหารท้องถิ่น พิจารณาอนุมัติ/ ประกาศใช้ แผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสามปี งบประมาณ รายจ่ายประจำปี
33
พันธกิจ วิสัยทัศน์ ปรัชญา ภารกิจ เป้าประสงค์ เป้าหมาย ค่านิยม ยุทธศาสตร์ โครงกร จุดมุ่งหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม
34
สรุปกระบวนการวิเคราะห์เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา
กำหนดทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ (Vision) ภาพในอนาคตที่หน่วยงานต้องการเป็น โดยจะต้องมีทิศทางที่ชัดเจน มีความเป็นไปได้ และเป็นที่ยอมรับ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง Strengths โอกาส Opportunities สิ่งที่หน่วยงานต้องทำเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ซึ่งหน่วยงานจะต้องทราบว่าภารกิจหลักที่องค์กรจะต้องดำเนินการคืออะไรและผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นคืออะไร พันธกิจ (Mission) ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (Goal) วัตถุประสงค์หลักของหน่วยงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่หน่วยงานต้องการบรรลุ จุดอ่อน Weaknesses ภัยคุกคาม Threats สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายหรือไม่ เป็นค่าที่วัดจากผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริงเพื่อแสดงผลสำเร็จ ของการบรรลุตามเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (KPI) นำผลการวิเคราะห์ SWOT มาเป็นปัจจัยในการกำหนด กลยุทธ์ ( SWOT Matrix) เป้าหมาย (Target) ตัวเลข หรือค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง ยุทธศาสตร์การพัฒนา(Strategy) สิ่งที่เป็นประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น เพื่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน สิ่งที่หน่วยงานจะต้องทำเพื่อให้บรรลุ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา แนวทางการพัฒนา
35
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ด้วยเทคนิค SWOT ANALYSIS
เป็นการประเมินองค์กรในเชิงกลยุทธ์ที่จะทำให้ ทราบว่า สภาพปัจจุบันขององค์กรเป็นอย่างไร ซึ่งประกอบด้วย การวิเคราะห์องค์กรอย่างจริงจังถึงปัจจัยภายใน และ ปัจจัยภายนอก ที่มีผลกระทบต่อความเป็นไปขององค์กร
36
SWOT ANALYSIS ปัจจัยภายใน ประกอบด้วย จุดแข็ง : Strength สิ่งที่เกิดขึ้นภายในองค์กรมีผลทำให้องค์กรเข้มแข็ง มีศักยภาพ เอื้อต่อการพัฒนา จุดอ่อน : Weaknesses สิ่งที่เกิดขึ้นภายใน แล้วทำให้องค์กรอ่อนแอ เกิดความเสียเปรียบคู่แข่งขัน อยู่ไม่ได้
37
SWOT ANALYSIS ปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย
โอกาส : Opportunities สิ่งภายนอกองค์กรที่มีผลต่อการสนับสนุนและการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร อุปสรรค : Threat สิ่งที่คุกคามองค์กร ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาองค์กรและทำให้องค์การขาดประสิทธิภาพ
38
การกำหนดกลยุทธ์ (แนวทางการพัฒนา) ด้วยเทคนิค SWOT MATRIX
สร้างกลยุทธ์ที่เป็นไปได้และเหมาะสมขององค์กร ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W) โอกาส (O) SO (นำจุดแข็งไปเพิ่มโอกาส) สร้างกลยุทธ์หลัก WO (นำโอกาสไปแก้จุดอ่อน) สร้างกลยุทธ์เพื่อการพัฒนา อุปสรรค์ (T) ST (นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค) สร้างกลยุทธ์เพื่อการ ขยายงาน WT (ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค) ปรับปรุงองค์กร
39
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา
วิสัยทัศน์ ...“เป็นองค์กรที่ให้บริการสาธารณะเป็นเลิศ” พันธกิจ 1. พัฒนาองค์กรเพื่อการบริการที่มีประสิทธิภาพ จุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย ปี 54-58 54 55 56 57 58 1. ประชาชนได้รับการบริการสะดวก รวดเร็วและถูกต้อง 1) ร้อยละของผู้ใช้บริการที่ได้รับความรวดเร็ว ผู้ใช้บริการได้รับความรวดเร็ว ร้อยละ 40 ร้อยละ 100 60 70 80 90
40
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงการ ผู้รับผิดชอบ 1. ด้านเสริมสร้างการบริหารจัดการให้มีคุณภาพ 1) พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บข้อมูลเป็นให้ระบบ และปรับปรุงสถานที่ให้สะดวกแก่ผู้มาติดต่องานและเจ้าหน้าที่ (1) จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญวางระบบประมวลผล (2) จัดจ้างซ่อมแซมครุภัณฑ์สำนักงาน สำนักปลัด 2) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้การบริการมีประสิทธิภาพ (1) อบรมเจ้าหน้าที่เพื่อจัดเก็บและลงข้อมูลในระบบประมวลผล (2) อบรมการเพิ่มศักยภาพการให้บริการ
41
การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ
แผนพัฒนาสามปี
42
ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี
เป็นการแปลงแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนา ไปสู่การปฏิบัติ เป็นแผนพัฒนาแบบหมุนเวียน เป็นแผนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ งบประมาณ
43
เป้าหมายการ ให้บริการ
วิสัยทัศน์ เป้าหมายการ ให้บริการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ แนวทาง โครงการ กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน งบประมาณสำหรับผลผลิตตามยุทธศาสตร์
44
แนวคิดในการกำหนดโครงการ/กิจกรรม
แนวคิดเชิงการตัดสินใจ เป้าหมาย แนวทาง/โครงการ/กิจกรรม วิธีการทำงาน 4 Ms ผลลัพธ์ ผลผลิต กระบวนการ ทรัพยากร
45
ผลจากการทำงาน ผลกระทบ ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลสัมฤทธิ์ RB impact outcome
output
46
ตัวอย่างรายละเอียดโครงการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ด้านเสริมสร้างการบริหารจัดการให้มีคุณภาพ แนวทางที่ 1: พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บข้อมูลเป็นให้ระบบ และปรับปรุงสถานที่ ให้สะดวกแก่ผู้มาติดต่องานและเจ้าหน้าที่ ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุ ประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณและที่ผ่านมา ตัวชี้วัด KPI ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้รับ ผิดชอบ ปี 2558 2559 2560 1. จ้างเหมาผู้เชี่ยวชาญวางระบบประมวลผล เพื่อให้การบริการมีประสิทธิภาพ เครื่องคอมฯขนาด จำนวน.....เครื่องพร้อมอุปกรณ์ 200,000 (ปี 57 งบประมาณ 150,000 บาท ร้อยละของความพึงพอใจของประชนที่มาติดต่อราชการ ประชาชนได้รับการบริการรวดเร็วและถูกต้อง สำนักปลัด
47
ข้อควรคำนึงในการคัดเลือกโครงการและกิจกรรม
1. สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ฯ 2. โครงการจะต้องแสดงให้เห็นถึงบทบาทความรับผิดชอบของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างชัดเจน และไม่ซ้ำซ้อน 3. เป็นโครงการที่ดำเนินการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. เป็นโครงการเชิงสร้างสรรค์ อาทิ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม สินค้าและบริการ 5. เป็นโครงการเกี่ยวกับการฟื้นฟูและพัฒนา 6. ความจำเป็นของโครงการ หากไม่ดำเนินการจะเกิดความเสียหาย 7. ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ ทั้งทางด้านเทคนิค กายภาพ งบประมาณ ระยะเวลา และการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบในการดำเนิน โครงการ ที่มา : ปรับปรุงจากแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด)
48
การนำแผนไปปฏิบัติ แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ (สภาฯ , กบจ. , อบจ. อำเภอ ,หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) และประกาศให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบ ภายใน 15 วัน และปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่า 30 วัน ใช้แผนพัฒนาสามปี เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี จัดทำแผนการดำเนินงาน เพื่อให้ทราบกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ในปีงบประมาณ คณะกรรมการสนับสนุนฯ นำแผนการดำเนินงานเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น แล้วเสนอผู้บริหารท้องถิ่นประกาศเป็นแผนการดำเนินงานภายในเดือนธันวาคมของปีงบประมาณนั้น
49
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
เป็นการประเมินตนเอง สามารถมอบให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกดำเนินการ/ร่วมดำเนินการได้ การติดตาม เป็นการตรวจสอบในระหว่างการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ การประเมินผล เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นจริงเมื่อดำเนินโครงการแล้วเสร็จ เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
50
คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
ภาค อปท. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการมาจากการคัดเลือกกันเองของคณะกรรมการ และให้ประธานกรรมการเลือกปลัด อปท.เป็นเลขานุการ
51
ข้อจำกัดของการติดตามและประเมินผล
ขาดความสนใจ ไม่เห็นความสำคัญ เกรงว่าผลที่ออกมาจะแสดงถึงความล้มเหลวของโครงการ เพราะโครงการหลายโครงการยังขาดการวางแผนที่รัดกุม มีโครงการเป็นจำนวนมากที่กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการไม่ชัดเจน หรือกว้างมากเกินไปไม่สามารถนำไปสร้างตัวชี้วัดความสำเร็จได้ การกำหนดโครงการที่แยกย่อยเกินไปทำให้ไม่เห็นภาพรวมของความสำเร็จ
52
ข้อจำกัดของการติดตามและประเมินผล
4. ขาดระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี หลายหน่วยงานยังไม่ทราบว่าข้อมูลที่ควรจัดเก็บมีอะไรบ้าง 5. ยังขาดเจ้าหน้าที่หรือนักวิชาการที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการประเมินผล จึงทำการติดตามประเมินผลอยู่ในขอบเขตจำกัด
53
สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น
โทรศัพท์ ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น ต่อ ส่วนยุทธศาสตร์และงบประมาณ ต่อ – 2114 ส่วนติดตามและประเมินผล (E – Plan) ต่อ – 2104 ส่วนวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ต่อ
54
ว่าที่ร้อยโทกมลกาจ รุ่งปิ่น
ว่าที่ร้อยโทกมลกาจ รุ่งปิ่น โต๊ะทำงาน ต่อ 2122 มือถือ อีเมล์ kamolkajru.dla.go.th
55
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.