ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
หลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษา รุ่นที่ ๓ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗
2
สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น – สพบ.
อาคารสาโรช และอาคารคัชมาตย์ ซ.คลองหลวง ๘ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทร.๐ ๒๕๑๖ ๔๐๘๐
3
ประวัติผู้บรรยาย พันเอก ยุทธ์นเรศ พัทธะเศรษฐี
การศึกษา รร.ตท. รุ่นที่ ๑๖ รร.นายร้อย จปร. รุ่นที่ ๒๗ หลักสูตรชั้นนายร้อย เหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๖๓ หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๔๗ หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่าทหารราบ ทบ.ออสเตรเลีย (IOAC) หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่าทหารราบ ทบ.สหรัฐ (IOAC) (ดีเด่น) หลักสูตรนายทหารปฏิบัติการรบพิเศษ สหรัฐ (SODOQC) (ได้รับโล่ดีเด่น) หลักสูตรหลักประจำ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก สบส. ชุดที่ ๖๘ หลักสูตรหลักประจำ วิทยาลัยการทัพบก สบส. ชุดที่ ๔๕ หลักสูตรหลักประจำ วิทยาลัยการทัพบก สหรัฐฯ (USAWC) ปริญญาโทด้านการทหาร สาขายุทธศาสตร์ศึกษา (Strategic Studies) สหรัฐฯ หลักสูตรการพูดในที่ชุมชน (Toastmaster) สหรัฐฯ หลักสูตรการอบรม ผู้สอนวิชากฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ หลักสูตร กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law 2009) สำหรับเจ้าหน้าที่ทางทหาร ณ สถาบัน IIHL สาธารณรัฐอิตาลี
4
ประวัติผู้บรรยาย พันเอก ยุทธ์นเรศ พัทธะเศรษฐี
ตำแหน่งหน้าที่ที่สำคัญ มี.ค.๒๕๒๖ ผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๑๗ (ร.อ.) ส.ค.๒๕๒๙ อาจารย์ แผนกวิชายุทธวิธี (ร.อ.) ก.ค.๒๕๓๒ อาจารย์ แผนกวิชารบพิเศษ รร.ร.ศร. (พ.ต.) ตค.๒๕๓๓ อาจารย์ กองวิชายุทธการ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (พ.ท.) มี.ค.๒๕๓๖ ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๙ (พ.ท.) มี.ค.๒๕๔๑ อจ.หัวหน้ากอง ยุทธร่วมยุทธผสม โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (พ.อ.) ธ.ค.๒๕๔๑ อจ. หัวหน้ากอง กองวิชายุทธศาสตร์ทหาร วิทยาลัยการทัพบก (พ.อ.)
5
ประวัติผู้บรรยาย พันเอก ยุทธ์นเรศ พัทธะเศรษฐี
ตำแหน่งหน้าที่ที่สำคัญ ต.ค.๒๕๔๕ ผช.อจ.อำนวยการ วิทยาลัยการทัพบก (พ.อ.พิเศษ) เม.ย.๒๕๔๖ ผู้อำนวยการส่วนวิจัยและพัฒนายุทธศาสตร์ (พ.อ.พิเศษ) เม.ย.๒๕๕๒ รองผู้อำนวยการ ศูนย์พัฒนาหลักนิยม และยุทธศาสตร์ ต.ค.๒๕๕๕ รองผู้บัญชาการ วิทยาลัยการทัพบก ราชการสนาม ผบ.มว.ฐานอิสระ ผาตั้ง อ.ปง จ.พะเยา ผู้บังคับการกรมทหารพรานที่ ๓๐๐๒ อ.ปง จว.พย.
7
31/05/62
8
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑.๕ การเสริมสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เวลา ๖ ชั่วโมง
วัตถประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเรียนรู้หลักการเสริมสร้าง วินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนานําหลักการเสริมสร้าง วินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพไปใช้ในการปฏิบัติงานและการดํารงชีวิต เนื้อหาสาระหลักสูตร ๑. หลักการ เสริมสร้าง วินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพ สําหรับ ผู้บริหาร ๒. หลักธรรม ในการเสริมสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓. แนวทางประยุกต์ ความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และการดํารงชีวิต ลักษณะการจัดกิจกรรม ๑. ผู้เข้ารับการพัฒนารับฟังการบรรยายจากวิทยากร ๒. ผู้เข้ารับการพัฒนามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่วิทยากรกําหนดให้ สื่อ และอุปกรณ์ ๑. เอกสาร / ใบงาน ๒. Power Point ๓. สื่อเทคโนโลยี ๔. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง ๕. กรณีศึกษา ๖. อื่น ๆ การวัด และประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 2. ประเมินผลจากแบบทดสอบหลังการพัฒนา
9
คุณธรรม จริยธรรม หัวใจ การพัฒนามนุษย์
คุณธรรม จริยธรรม หัวใจ การพัฒนามนุษย์
10
ตสฺส ทายาทา ภวิสฺสนฺติ เราจะต้องรับผลของกรรมนั้น
กมฺมสฺสกา เรามีกรรมเป็นของของตน กมฺมทายาทา เราต้องรับผลของกรรม กมฺมโยนี เรามีกรรมนำมาเกิด กมฺมพนฺธู เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธ์ กมฺมปฏิสรณา เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย ยํ กมฺมํ กริสฺสนฺติ เราทำกรรมอันใดไว้ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ดีหรือชั่วก็ตาม ตสฺส ทายาทา ภวิสฺสนฺติ เราจะต้องรับผลของกรรมนั้น
14
คุณธรรม (คุณทำ) = คุณ + ธรรม
ความหมาย คุณธรรม (คุณทำ) = คุณ + ธรรม คุณ = คุณค่า, คุณประโยชน์, คุณงามความดี ธรรม= สิ่ง, สภาพ, กฎเกณฑ์, หลัก ความหมายโดยสรุป คุณธรรม คือ สิ่งหรือสภาพที่เกิดขึ้นในจิต มีผลทำให้จิตอยู่ในภาวะที่ดีงามและพร้อมที่จะสร้างสรรค์ แต่สิ่งที่เป็นคุณและประโยชน์
15
ความหมายโดยสรุป จริยธรรม = จริย + ธรรม
จริยธรรม = จริย + ธรรม จริย = ความประพฤติ, พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ธรรม = สิ่ง, สภาพ, กฎเกณฑ์, หลัก ความหมายโดยสรุป จริยธรรม คือ สภาพของความประพฤติ หรือพฤติกรรมการแสดงออกที่พึงประสงค์ พัฒนา ภาษาบาลี วัฒนา ภาษาอังกฤษ Development แปลว่า ความเจริญ หมายถึง การทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เจริญขึ้น, กระบวนการที่เปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง
16
มนุษย์ = มนะ + อุษยะ ความหมายโดยสรุป
สโลแกนของบารัค โอบาม่า ในการหาเสียง คือ Change (การเปลี่ยนแปลง): We can believe it. (เราเชื่อมั่นได้) พุทธศาสนา พูดถึง อนิจจัง (ความไม่เที่ยง = เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป) มนุษย์ = มนะ + อุษยะ มนะ หรือ มโน = ใจ อุษยะ = สูง ความหมายโดยสรุป มนุษย์ หมายถึง ผู้มีใจสูง, ผู้ที่ฝึกได้, ผู้มีเหตุผล, ผู้ที่พัฒนาได้
17
ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย ผู้ประเสริฐ คือผู้ที่ฝึกแล้ว
คน = ชน (เกิดมา) ความหมายโดยสรุป คน หมายถึง ผู้ที่สักว่าเกิดมา (ผู้มีใจต่ำ, ยุ่ง)
18
เนื้อหา/ทฤษฎี/การประยุกต์
ลักษณะคุณธรรม ศาสนธรรม จริยธรรม จรรยา นิติธรรม (กฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ) หลักธรรมาภิบาล วัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม / คำสอนประจำตระกูล
19
องค์ประกอบของ จริยธรรม
เป็น ความประพฤติ สะท้อน ความนึกคิด และ จิตสำนึก เกิดการกระทำดี ไม่มุ่งให้เกิดผลร้าย สร้างผลดีแก่ ตนเอง และผู้อื่น
20
หลัก คุณธรรม หลัก ความโปร่งใส หลัก การมีส่วนร่วม หลัก ความรับผิดชอบ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การสร้างระบบบริการกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ หลัก คุณธรรม หลัก ความโปร่งใส หลัก การมีส่วนร่วม หลัก ความรับผิดชอบ หลัก ความคุ้มค่า หลัก นิติธรรม
21
บัว ๔ เหล่า การพัฒนา ๒ อย่าง พัฒนาวัตถุ คือ ปัจจัย ๔ อยู่ดี กินดี
พัฒนาวัตถุ คือ ปัจจัย ๔ อยู่ดี กินดี พัฒนาจิตใจ คือ คุณภาพ อยู่เย็น เป็นสุข บัว ๔ เหล่า ๑. พวกที่ มีสติปัญญาฉลาดเฉลียว (อุคฆฏิตัญญู) ๒. พวกที่ มีสติปัญญาปานกลาง (วิปจิตัญญู) ๓. พวกที่ มีสติปัญญาน้อย (เนยยะ) ๔. พวกที่ ไร้สติปัญญา (ปทปรมะ)
22
โลกธรรม (โลกกระทำ) ๘ ธรรมดาของโลก, เรื่องของโลก
โลกธรรม (โลกกระทำ) ๘ ธรรมดาของโลก, เรื่องของโลก ๑. มีลาภ ๒. เสื่อมลาภ ๓. มียศ ๔. เสื่อมยศ ๕. มีสุข ๖. มีทุกข์ ๗. มีสรรเสริญ ๘. มีนินทา สัปปุริสธรรม ๗ ธรรมของสัตบุรุษ, คนดี, ธรรมของมนุษย์ผู้มีความ เป็นมนุษย์สมบูรณ์ ๑. รู้เหตุ ๒. รู้ผล ๓. รู้ตน ๔. รู้ประมาณ ๕. รู้กาล ๖. รู้บุคคล ๗. รู้ชุมชน (บริษัท)
23
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การประยุกต์
24
จริยธรรม ความรู้ ทักษะ คุณธรรม อุปนิสัย ค่านิยม ทัศนคติ แรงขับ
25
คุณธรรมพื้นฐานสำหรับมนุษย์
๘ กระบวน คุณธรรมพื้นฐานสำหรับมนุษย์
26
๑.ขยัน ๒.ประหยัด ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายาม ทำหน้าที่การงาน
ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายาม ทำหน้าที่การงาน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ อดทน ความขยันต้องปฏิบัติ ควบคู่กับการใช้สติ ปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสำเร็จ ๒.ประหยัด ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สิน สิ่งของแต่พอควร พอประมาณ ให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย
27
๓.ซื่อสัตย์ ซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลำเอียง หรืออคติ 1. ลำเอียงเพราะชอบ 2. ลำเอียงเพราะชัง 3. ลำเอียงเพราะหลง 4. ลำเอียงเพราะกลัว ๔. มีวินัย มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเอง และวินัยต่อสังคม
28
๕. สุภาพ ๖. สะอาด สุภาพ คือ เรียบร้อยอ่อนโยน ละมุนละม่อม กิริยา
สุภาพ คือ เรียบร้อยอ่อนโยน ละมุนละม่อม กิริยา มารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ ( ย ว ท) ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ๖. สะอาด สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และ สภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็นที่เจริญตาทำให้เกิด ความสบายใจแก่ผู้พบเห็น
29
๗.สามัคคี ๘. มีน้ำใจ สามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกันความกลมเกลียวกัน
สามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกันความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกันปฏิบัติงาน ไม่ทะเลาะวิวาท ๘. มีน้ำใจ มีน้ำใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเอง หรือ เรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้อเฟื้อเอื้ออาทร เกื้อกูลกันและกัน
30
๑.ขยัน ๒.ประหยัด ๓.ซื่อสัตย์ ๘ กระบวน คุณธรรมพื้นฐาน สำหรับมนุษย์ ๔. มีวินัย ๕. สุภาพ ๖. สะอาด ๗.สามัคคี ๘. มีน้ำใจ
31
สรุป/วิเคราะห์
32
ความรู้คู่คุณธรรม/คุณธรรมนำความรู้
คุณธรรม = สิ่งที่ควรมี จริยธรรม = สิ่งที่ควรประพฤติ อริสโตเติ้ล นักปราชญ์ชาวกรีก กล่าวว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม” คุณเป็นมนุษย์ประเภทไหน “อันสตรี ไม่มีศีล ก็สิ้นสวย บุรุษด้วย ไม่มีศีล ก็สิ้นศรี อันนักบวช ไม่มีศีล ก็สิ้นดี ข้าราชการ ศีลไม่มี ก็เลวทราม”
33
ถามตัวเอง/ตอบตัวเอง เราเป็นมนุษย์ประเภทไหน
เราเป็นมนุษย์ที่พัฒนาแล้วหรือยัง เราต้องการเห็นสังคมมนุษย์แบบไหน เราจะช่วยพัฒนาสังคมมนุษย์อย่างไร
34
คุณธรรมและจริยธรรม ข้าราชการ
35
กรอบของกฎหมาย และศีลธรรม
คุณธรรม : สภาพคุณงามความดี (อุปนิสัย+ความประพฤติ) จริยธรรม : ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๗๗ “รัฐต้องจัดให้มี แผนพัฒนาการเมือง จัดทำมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการและพนักงานหรือลูกจ้างอื่นของรัฐ เพื่อป้องกันการทุจริต และประพฤติมิชอบ และเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่”
36
วาระแห่งชาติด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล และ การป้องกันการทุจริต และ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ
จุดเน้น การผลักดันให้มีการปฏิบัติ ตามกฎหมายและประมวลจริยธรรม/จรรยาบรรณอย่างจริงจัง การเสริมสร้าง กระตุ้น ยกระดับ ให้หน่วยงานภาคราชการและตัวข้าราชการ เกิด “ความเข้าใจ เข้าถึงและพัฒนา” เป้าประสงค์ ลดและปิด โอกาสการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ เพื่อสร้างความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต ลดความสูญเสียและขจัดรูรั่วในการปฏิบัติราชการ สร้างจิตสำนึกในการประพฤติชอบ ให้ยึดมั่นในหลักศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ความสุจริต ซื่อตรง เที่ยงธรรม เป็นกลาง ไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงการปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด เกิดความคุ้มค่า มีคุณภาพมาตรฐาน ถูกต้อง ตอบสนองความต้องการของประชาชน และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
37
ยุทธศาสตร์หลักในการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติฯ
สร้าง กลุ่มผู้นำ และผลักดันให้ เกิด องค์กรแห่งสุจริตธรรม ปรับกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยม / พัฒนาข้าราชการ ให้คำแนะนำ ปรึกษา / จัดการความรู้ พัฒนาระบบ บริหารงานบุคคล / ประมวลจริยธรรม จรรยาบรรณ วางระบบ บริหารจริยธรรม วัดผลและ ตรวจสอบ พัฒนาระบบ คุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาล ระบบสนับสนุน และโครงสร้างพื้นฐานทางด้าน คุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย / หน่วยงานหลัก การสื่อสารเพื่อ การเปลี่ยนแปลง การมีส่วนร่วม ของประชาชน แรงกดดัน จากสังคม การศึกษาวิจัย
38
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑
มาตรา 72 ให้ส่วนราชการมีหน้าที่ดำเนินการให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ... มาตรา 73 ผู้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตนต่อผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างมี คุณธรรมและเที่ยงธรรม และเสริมสร้างแรงจูงใจให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ดำรงตนเป็นข้าราชการที่ดี มาตรา 74 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประพฤติตนอยู่ในจรรยาและระเบียบวินัยและปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน... และจะให้บำเหน็จความชอบอย่างอื่น...ด้วยก็ได้
39
มาตรา 78 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกำหนดไว้โดยมุ่งประสงค์ให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นข้าราชการ โดยเฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ - การยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง - ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ - การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ - การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม - การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้ส่วนราชการกำหนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของงานในส่วนราชการนั้นตามหลักวิชาและจรรยาวิชาชีพ ในการกำหนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาตามวรรค 2 ให้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของข้าราชการและประกาศให้ประชาชนทราบด้วย มาตรา 79 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการ อันมิใช่เป็นความผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชาตักเตือน นำไปประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน หรือสั่งให้ข้าราชการผู้นั้นได้รับการพัฒนา
40
ใครบ้างที่มีหน้าที่และใช้ ว 5/2550 นี้ร่วมกันอย่างไร?
หลักเกณฑ์และวิธีการบันทึกผลงานและคุณงามความดี ของข้าราชการพลเรือน (ว 5/2550) ว 5/2550 คือ อะไร? ใน การบริหารงานบุคคล และ การประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ว 5/2550 มีเหตุผลที่มาจากอะไร และ เพื่ออะไร? 2. 3. ใครบ้างที่มีหน้าที่และใช้ ว 5/2550 นี้ร่วมกันอย่างไร? สาระสำคัญ ของ ว 5/2550 มีอะไรบ้าง? 4.
41
เครื่องมือเสริมสร้าง จริยธรรมและคุณงาม ความดีข้าราชการ
ว 5/2550 คืออะไร ? ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ 1. การบันทึกผลงานและ พฤติกรรมที่ข้าราชการ ปฏิบัติตามจรรยา(บรรณ) และวินัยและคุณงามความดีอื่นที่กรมกำหนดเอง หรือ ครม. มีมติไว้ เป็นเครื่องมือช่วยผู้บังคับ บัญชาประกอบการพิจารณา การประเมินผล การปฏิบัติงาน เลื่อนเงินเดือน พัฒนาข้าราชการ ให้รางวัลประจำปี / อื่นๆ ว 5/2544 ที่ใช้ปัจจุบัน ว 5/2550 ใหม่ 2. เจตนารมณ์ตามวาระแห่ง ชาติว่าด้วย จริยธรรมฯ เครื่องมือเสริมสร้าง จริยธรรมและคุณงาม ความดีข้าราชการ กระตุ้นและสนับสนุน ขรก.ที่สร้างคุณงาม ความดี
42
หลักราชการไทย แต่เดิมมา
ก.พ. กำหนด องค์ประกอบการประเมินผล การปฏิบัติงานไว้ใน แบบประเมินฯตาม ว 5/2544 เลื่อนเงินเดือน : พิจารณา ความดี ความชอบ ความชอบ ผลงาน คุณภาพ ปริมาณงาน ผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ของงาน ฯลฯ ความดี คุณลักษณะการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ การรักษาวินัย
43
ว 5/2550 มีเหตุผลที่มาจากอะไร ?
มติ ครม. 19 ธ.ค.49 อนุมัติวาระแห่งชาติว่าด้วยจริยธรรม ธรรมาภิบาลฯให้ส่งเสริมและ สนับสนุนข้าราชการที่มีคุณงามความดี มติ ครม. ดังกล่าว มอบให้ ก.พ. กำหนดให้ข้าราชการมีเครื่องมือช่วยบันทึกพฤติกรรมการปฏิบัติราชการที่เป็นคุณงามความดี 1. เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวและอนุวัตตามมติ ครม. ข้อ 1 จึงกำหนดเป็น ว 5/2550 ให้มีการบันทึกผลงานและคุณงามความดี มติ ก.พ. 26 เม.ย. และ 18 พ.ค.50 เห็นว่า การประเมินผล การปฏิบัติงานปัจจุบันขาดเครื่องมือวัดผลงานและผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณและการรักษาวินัย 2.
44
สรุป ว 5/ 2550 คือ เครื่องมือบันทึกผลงานและผลการประพฤติปฏิบัติงาน ตามจรรยาบรรณและวินัย และคุณงามความดีอื่น ให้เป็นหน้าที่ของข้าราชการผู้ปฏิบัติงานที่จะบันทึกผล ทั้ง 2 ดังกล่าวเสนอผู้บังคับบัญชาลำดับถัดไป ที่มีหน้าที่ ลงชื่อรับทราบ / รับรองผลงาน
45
ใครบ้าง ที่ต้องดำเนินการตาม ว 5/2550 และเกี่ยวข้องกันอย่างไร ?
ข้าราชการผู้ปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชา / หัวหน้างาน คนที่ ๑ ผู้บังคับบัญชา / หัวหน้างาน คนถัดไป (ตามที่มี) ผอ.สำนัก / กอง/ เทียบเท่า บันทึกผลงาน และ พฤติกรรมการปฏิบัติ ตนตามจรรยาบรรณ และวินัย และคุณงาม ความดี ลงชื่อรับทราบ/ รับรองผลงานของข้าราชการ ลงชื่อรับทราบและ เห็นชอบตามหัวหน้า คนที่ 1 ลงชื่อรับทราบ และ เห็นชอบ ผลบันทึกที่ผู้บังคับ บัญชาลำดับล่างเสนอมา ครั้งที่ 1 6 เดือนแรก ของปี (มี.ค.) ครั้งที่ 2 6 เดือนหลัง ของปี (ก.ย.) ใช้แบบสรุปผลงาน ที่เก็บรักษาไว้ระดับ สำนักเพื่อบริหารงาน บุคคลเรื่องต่างๆ ต่อไป สรุปไปใช้ประกอบ การประเมินผล การปฏิบัติงาน ตามแบบประเมินฯ
46
1. 2. 3. สาระสำคัญของ ว 5/2550 มีอะไรบ้าง ?
ให้ถือว่าการบันทึกผลงานและคุณงามความดีเป็นเครื่องมือเสริมสร้างให้ข้าราชการทำความดีตามวาระแห่งชาติและ ก.พ. กำหนดตามมาตรา 79 2. ให้ข้าราชการเป็นผู้บันทึกผลงานและผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วินัยข้าราชการและคุณงามความดี 3. แบบบันทึกหรือสมุดบันทึกผลงานนี้เป็นเครื่องมือบริหารภายในของ ส่วนราชการ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาเรื่องการพัฒนา (ช่วยสร้าง IDP) เลื่อนเงินเดือน แต่งตั้งข้าราชการและบริหารบุคคลเรื่องอื่นๆ ตาม นว.ก.พ. กำหนดไว้ด้วย (นว.ที่เกี่ยวกับการเลื่อนตำแหน่งและประเมินผลฯ)
47
4. 5. 6. สาระสำคัญของ ว 5/2550 มีอะไรบ้าง ? บันทึก 2 ส่วน
ผลงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบและที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย พฤติกรรมการสร้างคุณงามความดีที่เป็นประโยชน์ต่อราชการ ประชาชน และประเทศชาติ 5. ให้ส่วนราชการมีบันทึกสั่งการให้ข้าราชการและผู้บังคับบัญชาถัดไปบันทึก และลงชื่อรับรอง ปีละ 2 ครั้ง ตามช่วงประเมินผลงาน (ควรกำหนดเป็นตารางผู้บันทึก / ผู้ลงชื่อตามชั้นบังคับบัญชาของแต่ละสำนัก / กอง หรือเทียบเท่าและแผนผังแสดงขั้นตอนจะช่วยได้มาก ใครทำอะไร? ในแบบใด? และจนถึงไปใช้ประเมินฯ) 6. ให้ส่วนราชการนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนตำแหน่งด้วยในองค์ประกอบ ผลงานเป็นที่ประจักษ์ ความประพฤติ ประวัติรับราชการหรือคุณลักษณะที่ต้องการ
48
7. 8. 9. 10. สาระสำคัญของ ว 5/2550 มีอะไรบ้าง ?
เมื่อนำไปใช้ประเมินผลการปฏิบัติงาน แล้วให้เก็บบันทึกสรุปผลงาน (ที่ผู้บังคับบัญชาได้สรุปและลงชื่อไว้) ที่สำนัก / กอง เพื่อใช้บริหาร ทรัพยากรบุคคลของ สำนัก / กอง ต่อไป 7. 8. แบบบันทึกหรือสมุดบันทึกนี้ ส่วนราชการใช้กับข้าราชการระดับ 8 ลงมา ส่วนของระดับ ให้เสนอ อ.ก.พ.กระทรวงปรับใช้ กรมสามารถ อาจเป็นรูปแบบเอกสาร เช่น แบบบันทึก หรือสมุดบันทึกหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ปรับใหม่เองได้ตามลักษณะงาน 9. ให้เป็นหน้าที่ CHRO หรือรองที่รับผิดชอบบริหารบุคคลหรือราชการใสสะอาด ที่จะสร้างความเข้าใจ แนะนำ กำกับดูแล ให้ต่อเนื่องทั่วถึงและเป็นไปตาม ว 5/2550 ด้วย 10. ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2550 เป็นต้นไป จนถึงวันที่ข้าราชการผู้นั้น ออกจากราชการ
49
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน
50
จริยธรรม ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
จริยธรรมของพนักงาน ข้อพึงปฏิบัติ ยึดมั่นในเกียรติภูมิขององค์กร มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม มีความสำนึกในหน้าที่การให้บริการต่อลูกค้าและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีวินัย มีความเพียรและความรอบรู้ มีการใช้และรักษาทรัพย์สินขององค์กร หน้าที่ ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติงาน และรับผิดชอบ ระมัดระวังที่จะช่วยรักษาและรับผิดชอบในการใช้ทรัพย์สินขององค์กรให้ได้ประโยชน์อย่างเต็มที่ด้วยความระวังและปลอดภัย มีความสามัคคีระหว่างเพื่อนร่วมงานและต่อผู้บริหารหรือนายจ้าง
51
จริยธรรม ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
พนักงานพึงกระทำการงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนที่มีผลต่อสังคม ดังนี้ ละเว้นการมีส่วนร่วมในธุรกิจที่มีผลทำให้สังคมเกิดความเสื่อมทั้งด้านจิตใจ ศีลธรรม และค่านิยมของประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมในธุรกิจที่ขัดต่อศีลธรรม คำสั่งสอนทางศาสนา อันจะทำให้คนในสังคมขาดคุณภาพและมีทัศนคติในการดำเนินชีวิตที่ผิดและไม่เหมาะสม เช่น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข การพนัน การค้าประเวณี หรือเป็นแหล่งมั่วสุมต่างๆ ละเว้นจากการร่วมประกอบธุรกิจที่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นดิน น้ำ อากาศ แร่ธาตุ พืชและสัตว์ป่า รวมทั้งการกระทำอื่นๆที่ละเมิดขอบเขตความสมดุลของธรรมชาติ เช่น การทำลายป่าไม้ การทิ้งของเสียลงในแหล่งน้ำ เป็นต้น ดูแลเอาใจใส่องค์กรของตนว่าได้มีการกำหนดมาตรการ วิธีการ หรือแนวทางที่จะป้องกันมิให้องค์กรนั้นเป็นต้นเหตุก่อให้เกิดมลภาวะหรือมลพิษให้แก่สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของสังคมใกล้เคียง
52
จริยธรรมของพนักงาน จริยธรรมของพนักงาน ต่อ องค์กร
ด้วยความเชื่อที่ว่า หากภายในองค์กรประกอบด้วยบุคลากรที่มีความเข้าใจและมีจิตสำนึก มุ่งมั่นในการให้บริการให้ความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท นับตั้งแต่ผู้ถือหุ้น พนักงาน จนถึงลูกค้า และผู้ที่มาติดต่อร่วมงานกับบริษัทโดยมิได้มุ่งหวังกำไรเพียงอย่างเดียว หากยังถือมั่นอย่างจริงจังต่อการมีส่วนร่วมต่อสังคมและประเทศชาติ บริษัทส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้ ความสามารถ ทั้งนี้เพราะตระหนักถึงคุณค่าของบุคลากรจึงได้มีการระดมความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นจริง แปรเป้าหมายขององค์กรให้เป็นรูปธรรมและเชื่อมั่นว่าองค์กรย่อมจะได้รับความเชื่อมั่นจากสังคม อันจะนำมาซึ่งความสำเร็จที่คนเราทุกคนต่างมุ่งหวังทั้งในปัจจุบันและอนาคต ดังตัวอย่างของบริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด มีคำขวัญว่า “คุ้มภัยด้วยหลักฐาน บริการด้วยไมตรี” มีอุดมการณ์ในการดำเนินธุรกิจ 4 ประการคือ บริการนำ ความเป็นเลิศ ความรับผิดชอบต่อสังคม ระดมความคิดสร้างสรรค์
53
ข้อพึงปฏิบัติเมื่อมีปัญหา
การติดต่อทางจดหมาย การรักษาผลประโยชน์ การสอนงาน ข้อพึงปฏิบัติเมื่อมีปัญหา
54
ประมวล ข้าราชการพลเรือน
จริยธรรม ข้าราชการพลเรือน
55
การรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
สภาพปัญหา การรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ ๑. การใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ของรัฐในทางที่ผิด หลีกเลี่ยงการบังคับใช้กฎหมาย และแสวงหาประโยชน์ให้ตนเองและพวงพ้อง ๒. ความบกพร่องด้านคุณธรรมจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๓. วัฒนธรรม ทัศนคติ และค่านิยม ที่หล่อหลอมให้เกิดกระบวนทัศน์ไม่ถูกต้อง ๔. เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ที่มีลักษณะ อุปถัมภ์ หรือการผูกขาดหรือการแทรกแซง ๕. การกำกับดูแล และการดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคลของส่วนราชการ
56
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จริยธรรม = ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา 279 มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่ละประเภท ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำหนดขึ้น ... จะต้องมีกลไกและระบบในการดำเนินงานเพื่อให้การบังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทำ ... การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม ให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย ประมวลจริยธรรม ประมวล = - รวบรวมให้เข้าระเบียบเป็นหมวดหมู่ - หนังสือที่รวบรวมสิ่งซึ่งเป็นประเภทเดียวกัน เช่น ประมวลกฎหมาย จริย = ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ จริยธรรม = ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ 3
57
ศักดิ์ศรี + ประสิทธิผล
จริยธรรม ในทางศาสนา ในการประกอบวิชาชีพ ในการทำงาน ปทัสถาน ศีลธรรม จรรยาบรรณ วินัย ประกาศิต ควร พึง ต้อง พฤติกรรม คุณธรรม จรรยา วินัย จุดมุ่งหมาย เพื่อคน เพื่อคน + งาน เพื่องาน ผล ดี ศักดิ์ศรี + ประสิทธิผล ประสิทธิผล 5 57
58
ศีลธรรม ความประพฤติที่ดีที่ชอบ ธรรมะสำหรับข้าราชการ
ศีล ข้อบัญญัติที่กำหนดทางปฏิบัติกาย และวาจา ธรรม คุณความดี คำสั่งสอนทางศาสนา ศีลธรรม ความประพฤติที่ดีที่ชอบ ธรรมะสำหรับข้าราชการ ปัญญา การรู้เท่าทัน วิริยะ ความขยัน อุตสาหะ อนวัชชะ ความซื่อสัตย์สุจริต สังคหะวัตถุ มนุษยสัมพันธ์ 6
59
จรรยาข้าราชการ จรรยาข้าราชการ
หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึง คุณธรรม และจริยธรรม เป็นจริยธรรมในการประกอบอาชีพที่เป็นกลุ่มบุคคล แต่ละวิชาชีพ ประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อ ให้สมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้น ๆ ยึดถือปฏิบัติ จรรยาข้าราชการ การยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (มาตรา 78 แห่ง พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน)
60
วินัย - แบบแผนความประพฤติ หรือ ข้อปฏิบัติ
- ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาว่าสามารถควบคุมตนเอง ปฏิบัติตามการนำของผู้บังคับบัญชา อยู่ในระเบียบแบบแผน 10
61
ลักษณะผู้นำ (PERSONALITY OF A LEADER)
ผู้จัดการ (Manager) บริหาร (Administers) ลอกแบบ (A Copy) ดำรงรักษา (Maintains) เพ่งเล็งต่อระบบ/โครงสร้าง (Focuses On System/ Structure) ควบคุม (Controls) มุมมองระยะใกล้ (Short Range View) ต้องการอย่างไร และเมื่อไร (Wants How And When) ดูเฉพาะสรุป (Sees Only The Bottom Line) เลียนแบบ (Imitates) ยอมรับสถานภาพเดิม (Accepts The Status Quoe) ตามฝูงชน (Follows The Crowd) ทำให้สิ่งถูก (Does Things Right) ผู้นำ (Leader) เป็นต้นฉบับ (Duplicates) เป็นต้นกำเนิด (Is Original) พัฒนา (Develops) เพ่งเล็งที่ คน (Focuses On People) ไว้วางใจ (Trusts) มุมมองระยะยาว (Long Range Perspective) รู้ว่าอะไรและทำไม (Knows What And Why) เฝ้าดูแวดวง (Watches The Horizon) ก่อกำเนิด (Originates) ท้าทาย (Challenges It) คนของเขาเอง (His Own Person) ทำสิ่งที่ถูก (Does The Right Thing)
62
The 2008-2009 Corruption Perceptions Index (CPI) 2008 2009
By Transparency International (TI) 2008 2009 Rank Country Point 4 18 47 72 Singapore Japan Malaysia China 9.2 7.3 5.1 3.6 3 17 56 79 9.7 4.5 80 Thailand 3.5 84 3.4 121 126 141 Vietnam Indonesia Philippines 2.7 2.6 2.3 120 111 139 2.8 2.4 11
63
The Corruption Perceptions Index (CPI) by TI
THAILAND RANK Year CPI Rank Coverage (countries) 2002 ๒๕๔๕ 2003 ๒๕๔๖ 2004 ๒๕๔๗ 2005 ๒๕๔๘ 2006 ๒๕๔๙ 2007 ๒๕๕๐ 2008 ๒๕๕๑ 2009 ๒๕๕๒ 3.20 3.30 3.60 3.80 3.50 3.40 64 70 59 63 84 80 102 133 146 158 163 179 180 12
64
ค่านิยมหลัก ของ มาตรฐานจริยธรรม สำหรับ ผู้ดำรง ตำแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๙ ประการ ของสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน 1. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม 2. การมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ 3. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน 4. การยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และ ถูกกฎหมาย 5. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ 6. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 7. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ 8. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 9. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
65
จริยธรรมข้าราชการ 1. ข้าราชการต้องยึดมั่นในจริยธรรม และยืนหยัดกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง และเป็นธรรม (ข้อ 3) (1) ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา และ ไม่กระทำการหลีกเลี่ยงประมวลจริยธรรมนี้ (2) เมื่อรู้หรือพบการฝ่าฝืน ต้องรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ หรือคณะกรรมการจริยธรรมโดยพลัน (3) ต้องรายงานการดำรงตำแหน่งในนิติบุคคล ซึ่งมิใช่ส่วนราชการฯ ในกรณีที่อาจ ขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่หรืออาจทำให้การปฏิบัติหน้าที่เสียหาย (4) ร่วมประชุมแล้วพบว่า มีการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม หรือมีการเสนอเรื่องผ่านตน ต้องคัดค้านการกระทำ ดังกล่าว และบันทึกไว้ในรายงานการประชุม
66
จริยธรรมข้าราชการ 2. ข้าราชการต้องมีจิตสำนึกที่ดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสีย สละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ (ข้อ 4) (1) อุทิศตนให้กับการปฏิบัติงานในหน้าที่ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง เต็มกำลังความสามารถ (2) ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อตำแหน่งหน้าที่ของตนหรือ ข้าราชการอื่น ไม่ก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการอื่นโดยมิชอบ (3) ใช้ดุลพินิจและตัดสินใจ ด้วยความรู้ความสามารถเยี่ยงที่ปฏิบัติในวิชาชีพ ตรงไปตรงมา ปราศจากอคติ ตามข้อมูลพยานหลักฐานและความเหมาะสม (4) เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น ต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง และแจ้งให้หัวหน้าส่วนราชการทราบโดยพลัน (5) ไม่ขัดขวางการตรวจสอบของหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบตามกฎหมายหรือประชาชน ให้ความร่วมมือ (6) ไม่สั่งการด้วยวาจาในเรื่องที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ในกรณีสั่งการด้วยวาจาดังกล่าว ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาบันทึกเรื่องเป็นลายลักษณ์อักษรตามคำสั่ง เพื่อให้ผู้สั่งพิจารณาสั่งการต่อไป
67
จริยธรรมข้าราชการ 3. ข้าราชการต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตำแหน่งหน้าที่และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน (ข้อ 5) (1) ไม่นำความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ตนมีต่อบุคคลอื่นมาประกอบการใช้ดุลพินิจให้เป็นคุณหรือโทษต่อบุคคลอื่น (2) ไม่ใช้เวลาราชการ เงิน ทรัพย์สิน บุคลากร บริการ หรือ สิ่งอำนวยความสะดวกของทางราชการไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวของตนหรือผู้อื่น (3) ไม่กระทำการใด หรือดำรงตำแหน่ง หรือปฏิบัติการใด ในฐานะส่วนตัว ก่อให้เกิดความเคลือบแคลงหรือสงสัยว่าจะขัดกับประโยชน์ส่วนรวมที่อยู่ในความ รับผิดชอบของหน้าที่ (4) ในการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบในหน่วยงานโดยตรง หรือหน้าที่อื่น ต้องยึดถือประโยชน์ของทางราชการเป็นหลัก
68
จริยธรรมข้าราชการ 4. ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวงหาประโยชน์ที่ มิชอบ โดยอาศัยตำแหน่งหน้าที่ และไม่กระทำการ อันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (ข้อ 6) (1) ไม่เรียก รับ หรือยอมจะรับ หรือยอมให้บุคคลอื่นเรียกรับหรือยอมรับ ซึ่งของขวัญแทนตนหรือญาติของตน ไม่ว่าก่อนหรือหลังดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องหรือไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ก็ตาม เว้นแต่เป็นการให้โดยธรรมจรรยา หรือเป็นการให้ตามประเพณีหรือให้แก่บุคคลทั่วไป (2) ไม่ใช้ตำแหน่ง หรือกระทำการที่เป็นคุณ หรือเป็นโทษแก่บุคคลใด เพราะมีอคติ (3) ไม่เสนอ หรืออนุมัติโครงการ การดำเนินการ หรือการกระทำนิติกรรมหรือสัญญา ซึ่งตนเองหรือบุคคลอื่นจะได้ประโยชน์อันมิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายหรือ ประมวลจริยธรรมนี้
69
Conflict Of Interest ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน
มีตำแหน่ง ทางราชการ หรือสาธารณะ มีผลประโยชน์ ส่วนตัว “การทับซ้อนของ ประโยชน์ส่วนตัว และประโยชน์ส่วนรวม” “สถานการณ์ซึ่งบุคคลมี ผลประโยชน์ส่วนตัวมากเพียงพอที่จะมี “อิทธิพล” ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง และส่งผลกระทบ ต่อประโยชน์ส่วนรวม” แทรกแซงการใช้ ดุลยพินิจอย่างเป็นกลาง “การขัดกันแห่งผลประโยชน์” “สถานการณ์ซึ่งบุคคลใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่เป็น ประโยชน์ต่อตัวเอง” 22
70
ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน
และผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting Benefits) รับของขวัญ/เงินสนับสนุน/ เงินบริจาคจากลูกค้าของหน่วยงาน การทำธุรกิจกับตัวเอง (Self – Dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) มีส่วนได้เสียในสัญญา ที่ทำกับหน่วยงานต้นสังกัด ลาออกจากหน่วยงานเพื่อไป ทำงานในหน่วยงานที่ดำเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน การทำงานหลังออกจากตำแหน่งหน้าที่สาธารณะ หรือหลังเกษียณ (Post – Employment) 25
71
ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน
และผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) การทำงานพิเศษ (Outside Employment or Moonlighting) ตั้งบริษัทดำเนินธุรกิจที่แข่งขันหรือรับงานจากหน่วยงานต้นสังกัด การรู้ข้อมูลภายใน (Inside Information) ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน เพื่อประโยชน์ของตนเอง การใช้สมบัติของหน่วยงานเพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว (Using Employer’s Property for Private Usage) นำทรัพย์สินของหน่วยงานไปใช้ ในงานส่วนตัว รมต. อนุมัติโครงการไปลงในพื้นที่ตนเอง หรือใช้งบสาธารณะ เพื่อหาเสียง การนำโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้ง เพื่อประโยชน์ทางการเมือง 07/06/53 26
72
จริยธรรมข้าราชการ 5. ข้าราชการต้องเคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอย่างตรงไป ตรงมา (ข้อ 7) (1) ไม่ละเมิดรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีที่ชอบด้วยกฎหมาย (2) ในกรณีที่เห็นว่าคำสั่งผู้บังคับบัญชา หรือการดำเนินการใดที่ตนมีส่วนเกี่ยวข้องไม่ชอบ ต้องทักท้วงเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ (3) ถ้าเห็นว่ามติคณะรัฐมนตรีไม่ชอบด้วยกฎหมายต้องทำเรื่องเสนอหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา และส่งเรื่องให้ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดำเนินการให้ได้ข้อยุติตามกฎหมาย (4) ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย ใช้หรือแนะนำให้ใช้ช่องว่างของกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของตน เพื่อประโยชน์ ของตนเองหรือผู้อื่น และต้องเร่งแก้ไขช่องว่างดังกล่าว โดยเร็ว (5) ไม่ยอมให้บุคคลอื่นอาศัยชื่อตนเอง หรือครอบครองทรัพย์สิน สิทธิหรือประโยชน์อื่นใดแทนบุคคลอื่น อันเป็นการเลี่ยงกฎหมาย หรือใช้ชื่อบุคคลอื่นถือครองสิ่งดังกล่าวแทนตน หรือปกปิดทรัพย์สินของตน (6) เมื่อทราบว่ามีการละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายในส่วนราชการของตน หัวหน้าส่วน ราชการต้องดำเนินการที่จำเป็น เพื่อให้เกิดการเคารพกฎหมายขึ้นโดยเร็ว (7) เมื่อได้รับคำร้องหรือคำแนะนำจากผู้ตรวจการแผ่นดินหรือหน่วยงานอื่นว่ากฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการของตน สร้างภาระเกินสมควรแก่ประชาชน หรือสร้างความไม่เป็นธรรมให้เกิดขึ้น ต้องเนินการทบทวนกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับดังกล่าวโดยเร็ว
73
จริยธรรมข้าราชการ 6. ข้าราชการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็นกลางทางการเมือง ให้บริการแก่ประชาชนโดยมีอัธยาศัยที่ดี และไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (ข้อ 8) (1) ปฏิบัติหน้าที่ให้ลุล่วง โดยไม่หลีกเลี่ยง ละเลย หรือละเว้น การใช้อำนาจเกินกว่าที่มีอยู่ตามกฎหมาย (2) ปฎิบัติหน้าที่หรือดำเนินการอื่น โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ และสิทธิเสรีภาพของบุคคล ไม่กระทำการให้กระทบสิทธิเสรีภาพของบุคคล หรือก่อภาระหรือ หน้าที่ให้บุคคลโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย (3) ให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน โดยมีอัธยาศัยที่ดี ปราศจากอคติ และไม่เลือกปฎิบัติต่อบุคคลผู้มาติดต่อโดยไม่เป็นธรรม (4) ละเว้นการให้สัมภาษณ์ การอภิปราย การแสดงปาฐกถา การบรรยาย หรือการวิพากษ์ วิจารณ์อันกระทบต่อความเป็นกลางทางการเมือง เว้นแต่เป็นการแสดงความเห็นทางวิชาการ ตามหลักวิชา (5) ไม่เอื้อประโยชน์เป็นพิเศษแก่ญาติพี่น้อง พรรคพวก เพื่อนฝูงหรือผู้มีพระคุณ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรมไม่เห็นแก่หน้าผู้ใด (6) ไม่ลอกหรือนำผลงานของผู้อื่นมาใช้เป็นของตนเองโดยมิได้ระบุแหล่งที่มา
74
จริยธรรมข้าราชการ 7. ข้าราชการต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัดและรวดเร็ว ไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นช้า และใช้ข้อมูลข่าวสารที่ได้มาจากการดำเนินงานเพื่อการในหน้าที่ และให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง (ข้อ 9) (1) ไม่ใช้ข้อมูลที่ได้มาจากการดำเนินงานไปเพื่อการอื่น อันไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือบุคคลอื่น (2) ชี้แจง แสดงเหตุผลที่แท้จริงอย่างครบถ้วนในกรณีที่กระทำการอันกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพบุคคลอื่น ไม่อนุญาต หรือไม่อนุมัติตามคำขอของบุคคล หรือเมื่อบุคคลร้องขอตามกฎหมาย เว้นแต่การอันคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองได้กำหนดยกเว้นไว้
75
จริยธรรมข้าราชการ 8. ข้าราชการต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานแห่งวิชาชีพโดยเคร่งครัด (ข้อ 10) (1) ปฏิบัติงานโดยมุ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้เกิดผลดีที่สุดจนเต็มกำลังความสามารถ (2) ใช้งบประมาณ ทรัพย์สิน สิทธิและประโยชน์ที่ทางราชการจัดให้ ด้วยความประหยัด คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย (3) ใช้ความรู้ความสามารถ ความระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าที่ตามคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพโดยเคร่งครัด 34
76
จริยธรรมข้าราชการ 9. ข้าราชการต้องยึดมั่นในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ข้อ 11) (1) ไม่แสดงการต่อต้านการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือสนับสนุนให้นำการปกครองในระบอบอื่นที่ไม่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาใช้ในประเทศไทย (2) จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และไม่ละเมิดองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระรัชทายาท ไม่ว่าทางกายหรือทางวาจา 10. ข้าราชการต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำรงตน รักษาชื่อเสียงและภาพ ลักษณ์ของราชการโดยรวม (ข้อ 12) (1) ไม่ละเมิดหลักสำคัญทางศีลธรรม ศาสนา และประเพณี (2) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นต้องปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาด้วยความเที่ยงธรรม โดยไม่เห็นแก่ความสัมพันธ์หรือบุญคุณส่วนตัวและควบคุมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมโดยเคร่งครัด (3) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ต้องสนับสนุน ส่งเสริมและยกย่องผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่มีความซื่อสัตย์ มีผลงานดีเด่น มีความรู้ความสามารถ และขยันขันแข็ง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง และยึดมั่นในระบบคุณธรรม (4) ไม่กระทำการใดอันอาจนำความเสื่อมเสีย และไม่ไว้วางใจให้เกิดแก่ส่วนราชการหรือราชการโดยรวม
77
จริยธรรมข้าราชการ ก.พ. มีหน้าที่ควบคุม กำกับ ให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างทั่วถึงและจริงจัง ดังนี้ (ข้อ 13) ๑. วางระเบียบ ที่จำเป็นแก่การบังคับใช้ประมวลจริยธรรม ๒. คุ้มครอง ประกันความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม ของคณะกรรมการจริยธรรม และกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ๓. คุ้มครองข้าราชการที่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมมิให้ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม ๔. เผยแพร่ และปลูกฝังจริยธรรมให้เป็นที่รับทราบอย่างกว้างขวาง ๕. ส่งเสริม และยกย่องส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บังคับบัญชา และข้าราชการที่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ๖. ติดตาม สอดส่องการใช้บังคับ และการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ๗. ประสานงาน กับ ผู้ตรวจการแผ่นดิน เพื่อให้การปฏิบัติตามค่านิยมหลักและประมวลจริยธรรมมีผลใช้บังคับอย่างจริงจัง ๘. ประเมินผล การปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม จัดทำรายงานประจำปีเสนอคณะรัฐมนตรี ผู้ตรวจการแผ่นดิน และเผยแพร่ ๙. ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาอันเกิดจากการใช้ประมวลจริยธรรม ๑๐. ประมวลการตีความและวินิจฉัยปัญหาทุกปี และเผยแพร่ให้ข้าราชการทราบเพื่อยึดถือและเป็นแนวทางปฏิบัติ ๑๑. ทบทวนเพื่อแก้ไขประมวลจริยธรรมหรือไม่ทุก 4 ปี ๑๒. ดำเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรมนี้ และตามที่จะตกลงกับผู้ตรวจการแผ่นดิน
78
องค์ประกอบของคณะกรรมการจริยธรรม (ข้อ 14)
1. ประธานกรรมการ ซึ่งหัวหน้าส่วนราชการเสนอจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกผู้มีความซื่อสัตย์เป็นประจักษ์ โดยได้รับความเห็นชอบจาก ก.พ. 2. กรรมการผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารหรือประเภทอำนวยการเลือกกันให้เหลือสองคน 3. กรรมการสองคน ซึ่งเป็นข้าราชการที่ได้รับเลือกจากข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้าง 4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสองคน ซึ่งหัวหน้าส่วนราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการร่วมกันเสนอ ให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมเป็นเลขานุการคณะกรรมการจริยธรรม กรรมการจริยธรรม ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย และเป็นผู้มีเกียรติ เป็นที่ยอมรับของส่วนราชการนั้น 78 41
79
อำนาจหน้าที่ ของ คณะกรรมการจริยธรรม
1. ควบคุม กำกับ ส่งเสริมและให้คำแนะนำในการใช้บังคับประมวลจริยธรรม 2. สอดส่องดูแลให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ในกรณีที่มีข้อสงสัยหรือมีข้อร้องเรียนว่ามีการฝ่าฝืนจริยธรรม ให้ส่งเรื่องให้หัวหน้าส่วนราชการเพื่อปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมโดยเร็ว 3. พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาอันเกิดจากการใช้บังคับประมวลจริยธรรม เมื่อได้วินิจฉัยแล้วให้ส่งคำวินิจฉัยให้ ก.พ. โดยพลัน ถ้า ก.พ. มิได้วินิจฉัยเป็นอย่างอื่นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ ก.พ. รับเรื่อง ให้คำวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรมเป็นที่สุด 4. ส่งเรื่องให้ ก.พ. พิจารณาวินิจฉัยในกรณีที่เห็นว่าเรื่องนั้นเป็นเรื่องสำคัญหรือมีผลกระทบในวงกว้างหลายส่วนราชการ และยังไม่มีคำวินิจฉัยของ ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน 5. คุ้มครองและประกันความเป็นอิสระและเที่ยงธรรมของกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม 6. คุ้มครองข้าราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา มิให้ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจ โดยไม่เป็นธรรมต่อข้าราชการนั้น 7. เสนอผลการประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของหัวหน้าส่วนราชการต่อ ก.พ. และประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เพื่อเสนอหัวหน้าส่วนราชการประกอบการเลื่อนเงินเดือน หรือเลื่อนตำแหน่ง 8. เสนอแนะการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลจริยธรรมหรือการอื่นที่สมควรต่อ ก.พ. 9. ดำเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรมหรือตามที่ ก.พ. มอบหมาย การประชุมคณะกรรมการจริยธรรมให้นำกฎหมายว่าด้วย วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับ
80
(บริหาร อำนวยการ ตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา)
หน้าที่ หัวหน้าส่วนราชการและผู้บริหารส่วนราชการ (ข้อ 16) (บริหาร อำนวยการ ตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา) 1. ปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรม 2. ประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดี 3. ควบคุมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 4. สนับสนุน ส่งเสริม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่มีความซื่อสัตย์ มีผลงานและความรู้ความสามารถ และปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 45
81
โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (ข้อ 16)
โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (ข้อ 16) 1. คุ้มครองและประกันความเป็นอิสระและเที่ยงธรรม ของกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมของส่วนราชการ 2. คุ้มครองข้าราชการที่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้อย่างตรงไปตรงมา มิให้ถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม 3. ส่งเสริมและเผยแพร่การปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 4. ติดตาม สอดส่อง ให้ข้าราชการในส่วนราชการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างเคร่งครัด 5. ปฏิบัติตามมติหรือคำวินิจฉัยของ ก.พ. คณะกรรมการจริยธรรม คำแนะนำของผู้ตรวจการแผ่นดิน (ถ้าไม่เห็นพ้องให้เสนอ ก.พ. วินิจฉัย) 6. รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงประมวลจริยธรรมหรือการอื่นเสนอต่อ ก.พ. 7. ดำเนินการอื่นตามประมวลนี้ หรือตามที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือ ก.พ. มอบหมาย 46
82
หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหาร (อำนวยการขึ้นไป) ที่ถูก
กล่าวหาว่าไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ไม่อาจ - ออกคำสั่งแต่งตั้ง - โยกย้าย - เลื่อนเงินเดือน - แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง หรือทางวินัย - ดำเนินการอื่นใดที่เป็นผลร้าย เว้นแต่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรม ประจำส่วนราชการ แก่ข้าราชการ ผู้กล่าวหามิได้ 47
83
อำนาจหน้าที่กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ข้อ 17)
กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ข้อ 17) - ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ - มีความเป็นอิสระ - มีข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้นขึ้นไปเป็นหัวหน้ากลุ่ม อำนาจหน้าที่กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ข้อ 17) 1. เผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม และยกย่องข้าราชการที่เป็นแบบอย่างที่ดี และติดตามสอดส่องการปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรม 2. สืบสวนข้อเท็จจริงการฝ่าฝืนจริยธรรม เพื่อรายงานผล ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณา โดยอาจมีผู้ร้องขอ ดำเนินการตามที่หัวหน้าส่วนราชการมอบหมาย หรือ ตามที่เห็นสมควร 3. ให้ความช่วยเหลือและดูแลข้าราชการ ซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้อย่างตรงไปตรงมา มิให้ถูกกลั่นแกล้งหรือถูกใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม (นำข้อ 16 (2) มาใช้กับข้าราชการในกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม โดยให้ ก.พ. เป็นผู้ให้ความเห็นชอบ) 4. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำส่วนราชการ 5. ดำเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรม หรือตามที่หัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. มอบหมาย
84
ให้ใช้ประโยชน์จากการเจ้าหน้าที่
กลุ่มงาน คุ้มครองจริยธรรม มติ ค.ร.ม.๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ให้ใช้ประโยชน์จากการเจ้าหน้าที่ มติ ค.ร.ม. ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓ เป็นหน่วยงานภายใน ให้เปลี่ยนศูนย์ประสานราชการใสสะอาดหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเป็นกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมปฏิบัติงานภายใต้การกำกับดูแลของเลขานุการคณะกรรมการจริยธรรม ให้เพิ่มเติมบทบาทเกี่ยวกับการให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่โปร่งใส กระบวนการรับเรื่องร้องเรียนและร้องทุกข์ ระบบพิทักษ์ดูแลพยานและผู้ร้องเรียน และการสอบสวนที่เป็นธรรมและโปร่งใส
85
ระบบการบังคับใช้ประมวลจริยธรรม การฝ่าฝืนจริยธรรม (ข้อ 19)
การฝ่าฝืนจริยธรรมตามความในหมวด 2 ของประมวลจริยธรรมนี้เป็นความผิดทางวินัย (ข้อ 18) การฝ่าฝืนจริยธรรม (ข้อ 19) ผู้บังคับบัญชาอาจสั่ง :- - ลงโทษทางวินัย - ว่ากล่าวตักเตือน - ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือ - สั่งให้ได้รับการพัฒนาตามที่เห็นสมควร
86
กลไกการดำเนินการ กรณีฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม
วินิจฉัย ข้าราชการ กรณีมีข้อสงสัย /มีผู้ทักท้วง ข้อ 3 (1) ส่งเรื่อง คณะกรรมการจริยธรรม ข้าราชการ กรณีมีความเคลือบแคลง /สงสัย/ทักท้วง ข้อ 5 (3) ข้อ 7 (1) มีข้อสงสัย ข้อ 15 (2) มีผู้ร้องเรียน ยุติเรื่อง หัวหน้าส่วนราชการ รายงาน ข้าราชการผู้รู้หรือพบเห็น ข้อ 3 (2) รายงาน ดำเนินการทางวินัย ข้อ 17 (2) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม สืบสวนข้อเท็จจริง ผู้ร้องเรียนการฝ่าฝืน ข้อ 17 (2) มีผู้ร้องขอ หัวหน้าส่วนราชการมอบหมาย ตามที่เห็นสมควร
87
กลไกการดำเนินการ กรณีฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม
วินิจฉัย ข้าราชการ กรณีมีข้อสงสัย /มีผู้ทักท้วง ส่งเรื่อง คณะกรรมการจริยธรรม ข้าราชการ กรณีมีความเคลือบแคลง /สงสัย/ทักท้วง มีผู้สงสัย/ทักท้วง มีผู้ร้องเรียน ยุติเรื่อง พิจารณา/สั่งการ หัวหน้าส่วนราชการ รายงาน ข้าราชการผู้รู้หรือพบเห็น รายงาน ดำเนินการทางวินัย กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม สืบสวนหาข้อเท็จจริง ผู้ร้องเรียนการฝ่าฝืน มีผู้ร้องขอ หัวหน้าส่วนราชการมอบหมาย ตามที่เห็นสมควร
88
การดำเนินการทางวินัย
1. แจ้งข้อกล่าวหา 2. สรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ 3. รับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา
89
การส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ
ให้ หัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม และ ก.พ. ส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ (ข้อ 20) (๑) ในการบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน ย้ายหรือโอนข้าราชการ ให้ใช้พฤติกรรมทางจริยธรรมของผู้นั้น พิจารณา ควบคู่กับ ความรู้ความสามารถ (๒) ปลูกฝังจริยธรรมให้ข้าราชการใหม่ จัดให้ข้าราชการ ลงลายมือชื่อรับทราบประมวลจริยธรรม จัดให้มีสมุดบันทึกประวัติในส่วนที่เกี่ยวกับจริยธรรมของข้าราชการแต่ละคน รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมจริยธรรมผู้บริหาร และข้าราชการอย่างสม่ำเสมอ (3) ประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของข้าราชการ (4) คุ้มครองข้าราชการผู้ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม อย่างเพียงพอ (5) ยกย่องข้าราชการและส่วนราชการที่ถือปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม โดยเคร่งครัด (6) ตอบข้อสงสัยหรือคำถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม (7) จัดให้มีการศึกษาค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม และดำเนินการแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยม นั้น (8) เผยแพร่ให้ประชาชน คู่สมรส ญาติ พี่น้อง พรรคพวกเพื่อนฝูงของข้าราชการ ตลอดจนประชาชนผู้มาติดต่อราชการทราบประมวลจริยธรรมข้าราชการ เพื่อไม่ทำการอันเป็นการส่งเสริมหรือก่อให้เกิดการฝ่าฝืนจริยธรรม (9) จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
90
เมื่อมีปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ในเรื่องใด (ข้อ 21)
ข้าราชการ อาจเสนอเรื่องให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมนำเสนอเพื่อขอคำวินิจฉัยหรืออนุญาตจาก คณะกรรมการจริยธรรม ในกรณีที่เป็นเรื่องสำคัญหรือมีผลกระทบในวงกว้างหลายส่วนราชการ และยังไม่มีคำวินิจฉัยของ ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการจริยธรรม อาจส่งเรื่องให้ ก.พ. วินิจฉัย ในกรณีที่ ก.พ. เห็นว่าเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องสำคัญ อันควรแก่การขอคำแนะนำจากผู้ตรวจการแผ่นดินก็ให้กระทำได้ ข้าราชการที่ปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ไม่ต้องรับผิดทางวินัย 60
91
ในกรณีที่จำเป็นต้องดำเนินการเรื่องใดโดยด่วน (ข้อ 22)
หากปล่อยให้เนิ่นช้า จะกระทบต่อประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์ของทางราชการ และไม่อาจเรียกประชุมคณะกรรมการจริยธรรมได้ทัน ข้าราชการอาจขอคำแนะนำจากหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมของส่วนราชการที่ตนสังกัด หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมมีหน้าที่ต้องให้คำแนะนำตามสมควร ตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ.หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน หากไม่มีคำวินิจฉัยในเรื่องที่เป็นปัญหามาก่อน หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมอาจให้คำแนะนำ โดยยึดประโยชน์สูงสุดของส่วนราชการเป็นสำคัญ ทั้งต้องมุ่งสร้างความสำนึกและเที่ยงธรรมในหน้าที่ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีของข้าราชการที่สร้างความไว้วางใจและเชื่อมั่นของปวงชน และการดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีงามให้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการจริยธรรมและ ก.พ. ทราบ ข้าราชการที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ตามแนวทางที่คณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดินเคยวินิจฉัยไว้แล้วโดยสุจริต ไม่ต้องรับผิดทางวินัย 62
92
บทเฉพาะกาล 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมฯ และกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ประมวลจริยธรรม มีผลใช้บังคับ (ประมวลจริยธรรมประกาศในราชกิจจานุเบกษา 5 พฤศจิกายน 2552 ใช้บังคับตั้งแต่วันครบ 90 วัน นับแต่ วันประกาศ) 2. เมื่อครบ 1 ปี ก.พ.ต้องประเมินการปฏิบัติ ปรับปรุง หรือแก้ไขเพิ่มเติมประมวลจริยธรรม ให้ ก.พ. รับฟังข้าราชการ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม คณะกรรมการจริยธรรม หัวหน้าส่วนราชการ และผู้ตรวจการแผ่นดิน ต้องดำเนินการภายใน 180 วัน นับแต่ครบ 1 ปี
93
การยึดถือเป็นจริยธรรม สร้างเป็นเงื่อนไขของ การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
โครงสร้างพื้นฐานของ การตรวจสอบ ระบบจริยธรรม จากสังคมและองค์กร Commitment ภายนอก ต้นแบบ / ภาวะผู้นำ ความรับผิดชอบและ การปฏิบัติ กรอบกฎหมาย ควบคุม มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม การยึดถือเป็นจริยธรรม ของวิชาชีพ ชี้นำ สร้างเป็นเงื่อนไขของ การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าภาพ / ผู้ประสานงาน บริหารจัดการ 66
94
บทบาทของ คณะกรรมการจริยธรรม
๑) เป็นเจ้าภาพ เจ้าของเรื่อง ๒) กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทาง ๓) ส่งเสริม กระตุ้น ติดตาม ๔) สร้างเครือข่ายภายในและภายนอก ๕) บริหารความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมจริยธรรม ๖) เชื่อมโยงเรื่องจริยธรรมกับการพัฒนาและการบริหารงานบุคคล 67 94
95
เกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม
เกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. (081)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.