ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ทฤษฏีการเรียนรู้ David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
2
ผู้เรียนต้องมีพื้นฐานการเรียนรู้มาก่อนเพื่อที่จะ
Asubel อธิบายว่า ผู้เรียนต้องมีพื้นฐานการเรียนรู้มาก่อนเพื่อที่จะ นำมาเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่เพื่อให้เกิดเป็น การเรียนรู้ที่มีความหมายแต่ถ้าไม่มีพื้นฐาน มาก่อนก็เป็นการเรียนแบบท่องจำ
3
การแยกลักษณะสำคัญหรือ เหตุการณ์ต่างๆที่เหมือนกัน ออกมารวมกันเป็นมโนมติ
การเรียนรู้ การสร้างมโนมติ การดูดซึมมโนมติ การแยกลักษณะสำคัญหรือ เหตุการณ์ต่างๆที่เหมือนกัน ออกมารวมกันเป็นมโนมติ การเรียนที่เกิดจากการ สัมพันธ์คำจำกัดความ เข้ากับโครงสร้างความรู้
4
การเรียนที่ดีนั้นผู้เรียนจะต้องรู้จักค้นคว้าเป็นการเรียนแบบรับเอาไม่ใช่ท่องจำ
การนำเอาความรู้ใหม่ มาสัมพันธ์กับความรู้เดิม ด้วยความรู้ของตนเอง เข้าใจความเหมือนหรือ ความแตกต่างของมโนมติ วิธีเรียน แบบรับเอา นำเอาความคิดที่มีอยู่เดิม มาจัดระเบียบใหม่ แปลสิ่งที่ตนเองได้เรียนมา ให้เป็นความเข้าใจของตนเอง
5
สามารถทำให้ผู้เรียนเกิด การในขณะที่กำลังเรียน
ผู้สอน จะต้อง สามารถทำให้ผู้เรียนเกิด จินตนาการ พร้อมกับ การในขณะที่กำลังเรียน
6
ทฤษฏีการเรียนรู้ Jerome Bruner
7
การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วย
bruner เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วย ตนเองโดยเน้นวัฒนธรรมกับพัฒนาการทางปัญญา
8
การพัฒนาการทางสติปัญญา
Enactive stage Iconic stage Symbolic stage เน้นการปฏิบัติกับ ของจริง การเรียนรู้จาก ประสาทสัมผัส การเรียนรู้จากสิ่งที่เป็น นามธรรม
9
การเรียนรู้ที่ดีที่สุด
คือ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตัวเอง ผลที่ได้ ผู้เรียนจะได้รู้เทคนิคและ วิธีการแก้ปัญหา
10
ข้อดีของการศึกษา ค้นคว้าด้วยตัวเอง
ทำให้เกิดความเข้าใจและ จำในสิ่งที่เรียนได้ เพิ่มสติปัญญา เพิ่มแรงจูงใจ ข้อดีของการศึกษา ค้นคว้าด้วยตัวเอง ทำให้ผู้เรียนรู้จักเทคนิคการค้นพบ และนำไปแก้ปัญหาได้
11
แนวคิดต่อการจัดหลักสูตรและการสอน
โครงสร้างความรู้ ความพร้อม การคิดแบบ Intuition แรงจูงใจ ทำให้ผู้เรียนเห็น ความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้เดิม กับประสบการณ์ใหม่ ต้องใช้หลักสูตร ที่เหมาะสม กับความพร้อม ของผู้เรียน เป็นข้อสรุปที่ สมเหตุสมผล หรือไม่ก็ได้ การทำให้ผู้เรียน มีความพอใจ หรือมีแรงจูง ใจในการเรียน
12
ทฤษฏีการเรียนรู้ Piaget
13
Piaget เชื่อว่า มนุษย์เกิดมาต้องมีการปฏิสัมพันธ์เพื่อที่จะพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาเชาว์ปัญญา
14
ธรรมชาติของมนุษย์ การจัดและรวบรวม การปรับตัว
เป็นการรวบรวมและปรับปรุงกระบวนการภายในต่างๆเพื่อให้เกิดภาวะสมดุลจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม กระบวนการปรับขยายโครงสร้างทางเชาว์ปัญญา กระบวนการดูดซึม
15
การรับเอาประสบการณ์ใหม่เข้ามาสู่โครงสร้างสติปัญญา
การปรับตัว การนำความคิดที่มีอยู่มารวมกับความรู้ใหม่และทำการปรับความรู้ที่ได้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การรับเอาประสบการณ์ใหม่เข้ามาสู่โครงสร้างสติปัญญา
16
การพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์
ประสบการณ์ การเจริญเติบโตของร่างกายและวุฒิภาวะ การพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม กระบวนการพัฒนาสมดุล
17
ขั้นพัฒนาการเชาว์ปัญญา
ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปนามธรรม
18
ความรู้ทางตรรกศาสตร์
ความรู้ทางกายภาพ เป็นความรู้พื้นฐานของความรู้อื่นๆที่ได้มาจากการสังเกตและมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ ความรู้ ความรู้ทางตรรกศาสตร์ เป็นการแสดงออกโดยเชื่อมดยงกับสติปัญญา ความรู้ทางสังคม เป็นความรู้ที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างมนุษย์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.