ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลองนึกสิ คาบที่แล้ว เรียนอะไร
2
ตัวเลข อ้างอิงเซลล์ ลำดับการคำนวณ กฎ 2 ข้อ การป้อนสูตรคำนวณ
คำนวณจากซ้ายไปขวา 2. คำนวณจากตัวดำเนินการ ที่มีความสำคัญเป็นลำดับแรกไปหาลำดับสุดท้าย การป้อนสูตรคำนวณ โครงสร้างสูตรคำนวณ ลำดับการคำนวณ ตัวแปร 1.เครื่องหมายติดลบ เช่น -2 2. เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ 3.เครื่องหมายยกกำลัง 4.เครื่องหมายคูณกับหาร *,/ 5.เครื่องหมายบวกกับลบ +.- 6.เครื่องหมาย & 7.เครื่องหมาย =,<>,<,>,<=,>= =5+5 =10-89 ตัวเลข ตัวดำเนิน การ อ้างอิงเซลล์ ตัวอย่าง 10-4*2/2 ผลลัพธ์ =A2*A4 ถ้าอยากให้คำนวณลำดับที่น้อยกว่าก่อนให้ใส่วงเล็บคร่อมตัวดำเนินการนั้น
3
ฟังก์ชั่นและการคำนวณ
4
อาร์กิวเมนต์ (Argument)
โครงสร้างของฟังก์ชั่น ฟังก์ชั่นประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก 1 2 ชื่อฟังก์ชั่น (Function Name) อาร์กิวเมนต์ (Argument)
5
ชื่อฟังก์ชั่น (Function Name)
เป็น ชื่อ ของคำสั่ง เช่น SUM , AVERGE , IF , AND เป็นต้น อาร์กิวเมนต์ (Argument) เป็นข้อมูล ตัวแปร หรือ เงื่อนไขต่าง ๆ ที่ให้ฟังก์ชั่นคำนวณหรือประมวลผล เช่น ตำแหน่งเซลล์อ้างอิง ข้อความ ตัวเลข หรือค่าตรรกะ (True/False)
6
รูปแบบของโครงสร้างฟังก์ชั่น
=ชื่อฟังก์ชั่น(อาร์กิวเมนต์1,อาร์กิวเมนต์2,อาร์กิวเมนต์3,…) ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 อาร์กิวเมนต์ต้องอยู่ในวงเล็บ อาร์กิวเมนต์มีได้มากกว่า 1 อาร์กิวเมนต์ เครื่องหมายเท่ากับห้ามลืมเด็ดขาด
7
ตัวอย่าง รูปแบบของโครงสร้างฟังก์ชั่น
=SUM(50+50) =SUMIF(B2:B7,”>=100000”)
8
“YES” or “NO” 1. =SUMIFB2:B7,”<100000”,C2:C7 2. =SUMIF(50+60,)
ข้อ 1 ลืม วงเล็บ ข้อ 2 ลูกน้ำเกิน ข้อ 3 ถูก
9
ข้อกำหนดในการเขียนฟังก์ชั่น
1. ต้องพิมพ์ติดกันทุกตัวอักษร ห้ามเว้นวรรคโดยเด็ดขาด 2. ทุกฟังก์ชั่นต้องขึ้นต้นด้วย = เสมอ 3. ชื่อฟังก์ชั่นจะเป็นตัวพิมพ์ใหญ่หรือตัวพิมพ์เล็กก็ได้ 4. อาร์กิวเมนต์ต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) เท่านั้น 5. ถ้าฟังก์ชั่นมีอาร์กิวเมนต์มากกว่า 1 ตัว ให้คั่นแต่ละอาร์กิวเมนต์ด้วยเครื่องหมาย , (จุลภาค)
10
ข้อกำหนดในการเขียนฟังก์ชั่น
6. ถ้าฟังก์ชั่นไม่มีอาร์กิวเมนต์ต้องใส่เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อท้ายฟังก์ชั่นเสมอ เช่น =COUNT() 7. ถ้าอาร์กิวเมนต์เป็นข้อความ (Text) ต้องใส่ เครื่องหมายฟันหนู (“ “) คร่อมอาร์กิวเมนต์ทุกครั้ง เช่น =IF(B2>B5,”ดีมาก”) 8. ห้ามใส่สัญลักษณ์ที่ใช้กำหนดรูปแบบของตัวเลข เช่น $ ฿
11
“True” or “False” =sum (B2:B7,”>=100000”,C2:C7)
ข้อ 1 เว้นวรรค ข้อ 2 ไม่มีเท่ากับ ข้อ3 ตัวเล็ก ข้อ4 ไม่มีเท่ากับ ไม่มีลูกน้ำหน้า if แรก วงเล็บหายไป 1 อัน ข้อ 5 เครื่องหมายฟันหนูหาย ข้อ 6 ไม่มีวเล็บ
12
“True” or “False” =IF(B2>=80,“A",IFB2>=70,“B",IF(B2>=60,“C",IF(B2>=50,“D)))) เฉลย =IF(B2>=80,“A",IF(B2>=70,“B",IF(B2>=60,“C",IF(B2>=50,“D”))))
13
การเรียกใช้ฟังก์ชั่น
มี 2 วิธี 1.พิมพ์ฟังก์ชั่นใส่เซลล์โดยตรง ทำในโปรแกรมให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่าง 2.เลือกฟังก์ชั่นจากแถบริบบอน
14
ประเภทของฟังก์ชั่น ฟังก์ชั่นทางตรรกศาสตร์ ฟังก์ชั่นจัดการข้อความ
ฟังก์ชั่นวันที่และเวลา ฟังก์ชั่นทางสถิติ
15
ฟังก์ชั่นจัดการข้อความ (Text)
หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น BATHTEXT แปลงตัวเลขให้เป็นข้อความภาษาไทย และลงท้ายด้วยบาท – สตางค์ หรือบาทถ้วน BATHTEXT(ตัวเลข) LEN นับจำนวนอักขระของข้อความ LEN(ข้อความ) UPPER แสดงข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ UPPER(ข้อความ) LOWER แสดงข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก LOWER(ข้อความ) PROPER ตัวอักษรเรกของข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ์ PROPER(ข้อความ)
16
ตัวอย่าง การเขียนฟังก์ชั่น
BATHTEXT =BATHTEXT(50)
17
LOWER ใช้การอ้างอิงเซลล์เท่านั้น เช่น =LOWER(D2) =UPPER(P2) =PROPER(A1) ถ้าเขียนแบบนี้ ผิด =LOWER(jindapond) UPPER PROPER
18
ฟังก์ชั่นวันที่และเวลา (Date & Time)
หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น NOW แสดงวันที่และเวลาปัจจุบัน NOW() TODAY แสดงวันที่ปัจจุบัน TODAY() DAY แสดงวันที่ของวันที่ที่ระบุ DAY(วันที่) MONTH แสดงเดือนของวันที่ที่ระบุ MONTH(วันที่) YEAR แสดงปีของวันที่ที่ระบุ YEAR(วันที่) MINUTE แสดงนาทีของเวลาที่ระบุ MINUTE(เวลา) HOUR แสดงชั่วโมงของเวลาที่ระบุ HOUR(เวลา)
19
ตัวอย่าง การเขียนฟังก์ชั่น
NOW =NOW()
20
ใช้การอ้างอิงเซลล์เท่านั้น เช่น =DAY(D2) =YEAR(P2) =HOUR(A1)
ถ้าเขียนแบบนี้ ผิด =HOUR(14) MONTH YEAR MINUTE HOUR
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.