ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เริ่มเข้าสู่กระบวนการจัดทำตามเอกสาร TEMPLATE
2
ตาม พรบ.อำนาจความสะดวก
ตาม MOU ที่ตกลงกับ ปปท. ภารกิจที่อนุมัติ อนุญาต รับรองที่มีผู้ใช้บริการภายนอกนำไปใช้/ได้ประโยชน์ การใช้อำนาจที่ยึดดุลยพินิจ ขาดหลักเกณฑ์ที่มีคุณธรรมและไม่โปร่งใส เอื้อประโยชน์ การจัดซื้อจัดจ้างรายเดียว วิธีตกลงราคา เฉพาะเจาะจงที่ต้องโปร่งใส ไม่เอื้อประโยชน์ การนำทรัพย์สินไปใช้ที่มี conflicts of interest สิ่งที่ได้ = ทะเบียนข้อมูลความเสี่ยง ต้นแบบให้ทุกหน่วยงานย่อยในกรมจัดทำต่อไปให้ทั่วทั้งองค์กร
3
เลือกภาระงานวิกฤติจาก 15 มิติ ออกมา 3 ภาระงานย่อย เพื่อนำไปวิเคราะห์ต่อ
ส่วนที่เหลือคัดออกไปอยู่ในทะเบียนความเสี่ยง = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10
4
ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต
แบบประเมิน 2 สถานะความเสี่ยงกระบวนการ 3 ลำดับแรกที่สำคัญ นำผลจากหน้า 2 เฉพาะ 3 ลำดับในแต่ละด้านมาทำการประเมินความเสี่ยงจากความเกี่ยวข้อง สีส้ม คือ แหล่งความเสี่ยงมาจากหลายหน่วยงานภายใน สีแดง คือ แหล่งความเสี่ยงมาจากภายนอกด้วย ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต เขียว เหลือง ส้ม แดง 1A. 4A คำอธิบาย เจ้าภาพหลัก รอง ความเสี่ยงระดับควบคุมตนเอง ความเสี่ยงระดับหน่วยงาน หลายหน่วยงานภายใน √ ภายนอก ข้ามองค์กร 2A. 3A คำอธิบาย 3A. 5A นำภาระงานวิกฤติจาก 3 ภาระงานย่อยต่อประเด็น นำไปวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง เรียงลำดับความเสี่ยงสำคัญ และแยกแยกปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับภายใน และภายนอก ปัจจัยภายใน ใช้แผนควบคุมภายใน ปัจจัยภายนอก ใช้แผนบริหารความเสี่ยง = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10
5
ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต
ชื่อกระบวนการพิจารณาใช้อำนาจ หน้าที่ (ไม่อิงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข กติกา) 1B. 2B. 3B. ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่อบริหารงบประมาณ ทรัพย์สิน ทรัพยากร 1V. 2C. 3C.
6
คัดสีเหลืองและเขียวออกไป เป็น SELF-CONTROL หากผิด = บกพร่อง
แบบประเมิน 3 SCORING ทะเบียนข้อมูลที่ต้องเฝ้าระวัง ๒ มิติ(ตารางเมทริกส์ระดับความเสี่ยง (Risk level matrix)) ตามกรอบของ ปปท. ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต ระดับความจําเป็นการเฝ้าระวัง 2562 ระดับความรุนแรง ผลกระทบ ค่าความเสี่ยงรวม จําเป็น X รุนแรง 3A คำอธิบายภาระงานวิกฤติ สถานะ ส้ม 3 ตลอดเวลา ทุกครั้งที่ปฏิบัติ 1=ภายใน ภายนอกไม่เกี่ยว 3x3 =9 high สูงทุกครั้งที่เกิด 5A คำอธิบายภาระงานวิกฤติ สถานะ แดง 1 ไม่เกิดในปี 62 หรือน้อยครั้ง 1x3 =3 low ต่ำทุกครั้งที่เกิด 3A. คำอธิบายภาระงานวิกฤติ สถานะ แดง 2 เกิดได้ แต่ไม่ต้องตลอดเวลา 2x3 =6 medium นำภาระงานวิกฤติจาก 3 ภาระงานย่อยต่อประเด็น ที่วิเคราะห์สถานะความเสี่ยงแล้ว เฉพาะส้ม และแดง คัดสีเหลืองและเขียวออกไป เป็น SELF-CONTROL หากผิด = บกพร่อง ค่าความเสี่ยงรวมสูง = ต้องจัดการในปี 2562 โดยเฉพาะ ค่า 9 6 4 = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10 และ ปปท.
7
ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต
ค่าความเสี่ยงรวม จากประเมิน 3 คุณภาพการควบคุม ดี พอใช้ อ่อน 1A. 3x3 =9 สูง ดี 2A. 2x2 =4 ปานกลาง พอใช้ 3A. 2x3 =6 ปานกลาง/สูง อ่อน ค่าความเสี่ยงรวมสูง = ต้องจัดการในปี 2562 โดยเฉพาะ ค่า 9 6 4 ค่าความเสี่ยง 6 9 ถือว่าระดับสูง ค่าความเสี่ยง 4 6 ถือว่าปานกลาง ประเมินความสามารถจัดการความเสี่ยง ว่า ดี พอใช้ หรือ อ่อน หากดีต้องไม่ผิดพลาด ไม่เกิดเรื่อง สกัดได้ทันท่วงทีเสมอ = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10 และ ปปท.
8
คุณภาพการจัดการความเสี่ยง
ค่าประเมินการควบคุมความเสี่ยงการทุจริต ต่ำ 1/2/3 ปานกลาง 4/6 ภายในแต่สำคัญ สูง 6/ 9 มีภายนอกเกี่ยว ดี จัดการได้ทันทุกครั้งก่อนเสียหาย (1) (2) (3) 3A , 2C =6/9 พอใช้ จัดการได้ส่วนใหญ่ บางส่วนไม่ได้ (4) (5) 1C = 4/6 (6) 5B =6/9 อ่อน ยังจัดการไม่ได้ส่วนใหญ่ หรือไม่มีแนวทางเป็นระบบ (7) (8) 2B 4A =4/6 (9) 2C =6/9 ค่าความเสี่ยงรวมสูง =ต้องจัดการปี 2562 (ค่า 9 6 4) ค่าความเสี่ยง 6 9 ถือว่าระดับสูง และ 4 6 ถือว่าปานกลาง ประเมินความสามารถจัดการ ดี = เพียงพอ พอใช้/อ่อน = ไม่เพียงพอ ต้องทำแผนเพิ่มเติม= ช่อง = ที่มาของการจัดทำแนวทางการจัดการความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10 และ ปปท.
9
แนวทางการจัดทำแผน - แบบประเมิน 5 ระบุทางเลือกแนวทางจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงทุจริตระดับองค์กร
เลือกภาระงานวิกฤติที่ค่าผลประเมินความเสี่ยงสูงที่สุด + ระดับจัดการพอใช้หรืออ่อนทุกภาระงานจากช่อง แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่เลือก ทางเลือกที่ 1 แผนการควบคุมภายในด้านความเสี่ยงระดับองค์กร (ทุกหน่วยงานต้องทำ) ทางเลือก 2 แผนการจัดการ- กรณีมองความเสี่ยงทุจริตเป็นสถานการณ์วิกฤติ ที่ออกสู่สังคม สื่อ โซเชียล และต้องตอบโต้ แก้ไขทันที ทางเลือกที่ 3 แผนเพิ่มเติมเครื่องมือการควบคุมความเสี่ยงทุจริต ทางเลือกที่ 4 การกำกับและควบคุมใช้หลักการ The Three Lines of Defense ลำดับ เรียงลำดับความเสี่ยง แนวทางที่เลือกจัดการ 1 รหัสของภาระงาน A B C แนวทางที่ X 2 3 4 5 8
10
สรุปประเด็นที่ได้จากการสัมมนา
ประเด็นที่ดำเนินการ สิ่งที่หน่วยงานพัฒนา ดำเนินการต่อ ส่วนของ ศปท.กระทรวง 1.สรุปความรู้เกี่ยวกับแนวคิดด้านทุจริต รวบรวมเอกสารบรรยาย ขึ้น KM องค์กร รวบรวมคู่มือ พรบ. ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องให้ครบ สร้าง KM Banner จากเอกสารประกอบบรรยาย 2.นำประสบการณ์กรอกแบบประเมิน 1-5 กระบวนการอนุมัติ อนุญาต กระบวนการใช้อำนาจ ตำแหน่งหน้าที่ ไม่มีเกณฑ์ กระบวนการใช้งบประมาณ หรือทรัพย์สิน นำไปถอดกลับเป็นคู่มือการประเมินความเสี่ยงทุจริต รองรับ ITA ตัวชี้วัด 10 ปปช. เพิ่มนิยามผลกระทบที่สูง กลาง ต่ำ ให้ชัด เพิ่มนิยามสี ส้ม แดง ให้ชัดเจน 2.1 กำหนดประเด็นความเสี่ยงทุจริต 3 ด้าน ให้หน่วยงานย่อยต้องเลือกไปทำการประเมินความเสี่ยงในระหว่างทำแผนการควบคุมภายใน ให้แนวทางหน่วยงานนำผล workshop กลับไปพัฒนาเป็นคู่มือประเมินความเสี่ยงทุจริตภายใน ขอสำเนาคู่มือที่พัฒนาใช้ 3.นำประสบการณ์การกรอกแบบทางเลือก ส่งให้ ก.คลัง ผ่าน ก.คมนาคม ตาม พรบ.วินัยการเงินการคลัง มาตรา 79 ส่งให้หน่วยงานทำ ITA ของ ปปช. /ปปท. ส่งให้หน่วยงานทำแผนบริหารความเสี่ยง นำไปพัฒนาเป็นแผน 3.1 แผนการควบคุมภายใน เป็นแผนพัฒนากิจกรรมควบคุมการต่อต้าน/ป้องกันทุจริต พร้อมกรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ แยกตามฟอร์ม 3.2 แผนบริหารความเสี่ยง เป็นแผนเฝ้าระวังและสอดส่องความเสี่ยงทุจริตเฉพาะเรื่อง พร้อมกรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ แยกตามฟอร์ม ให้แนวทางการนำผลการกรอกไปพัฒนาต่อยอดเป็นแบบฟอร์มแผนพร้อมกรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ การอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงาน นำส่ง ศปท.
11
ประเด็นที่ดำเนินการ สิ่งที่หน่วยงานพัฒนา ดำเนินการต่อ ส่วนของ ศปท.กระทรวง เรื่องที่ต้องทำแผนควบคุมภายใน/ แผนบริหารความเสี่ยง ต้องทำในข้อที่อยู่ในกรอบ ช่อง ทั้งหมด กำหนดเวลาทำให้ชัดเจน แยกที่สำคัญในปี 2562 คือคะแนน 9 และ 6 ทำให้ครอบคลุม 3 ด้าน อนุมัติ อนุญาต การใช้อำนาจ/ดุลยพินิจ การบริหารงบประมาณ/ทรัพย์สิน กำหนดกรอบการทำแผนต่อต้านทุจริต ให้ชัดว่า อยู่ในกรอบ ช่อง ทั้งหมด กำหนดเวลาทำให้ชัดเจน นำส่งตารางเวลาการทำให้ ศปท.ทราบ 4. การติดตามผลดำเนินงานตามแผน ใช้แบบฟอร์มแยกตามผู้กำกับ 4.1 แบบของ ก.คลังตาม พรบ.วินัยการเงินการคลัง 4.2 แบบตาม ปปช. ตามกรอบ ITA 4..3 แบบตาม ปปท. กำหนดแบบรายงานความคืบหน้าและผลดำเนินงานรายไตรมาส รายปีแล้วแต่หน่วยงานกำกับ 5.รายงานสถานะความเสี่ยงทุจริตที่หลงเหลือ ณ สิ้นปี เพื่อพัฒนาต่อไป เหตุการณ์ความเสี่ยงที่เกิดจริงระหว่างปี ระบุความเสี่ยงที่หลงเหลือที่ต้องจัดการเพิ่มเติมในปีต่อไป กำหนดแบบรายงานสถานะความเสี่ยงทุจริต กำหนดการรายงานเหตุการณ์ที่เกิดจริง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.