งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)

2 โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)
สาเหตุโรคพิษสุนัขบ้า การติดโรคพิษสุนัขบ้า อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในคน การป้องกันสัตว์จากโรคพิษสุนัขบ้า การป้องกันตัวเราจากโรคพิษสุนัขบ้า

3 สาเหตุของโรคพิษสุนัขบ้า
โรคพิษสุนัขบ้า/โรคกลัวน้ำ/โรคหมาว้อ : โรคติดเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คน สาเหตุ: การติดเชื้อไวรัส Rabies กลุ่ม Rhabdovirus โรคติดเชื้อไวรัสที่มีความรุนแรงมากในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดรวมถึงคนด้วย การติดเชื้อทำให้ระบบประสาทถูกทำลายและตายได้ โรคพิษสุนัขบ้าสามารถพบได้ทั่วโลก ในประเทศไทยปัจจุบันยังพบการติดเชื้อในสุนัข แมว และมนุษย์ได้ทุกปี สุนัขและแมวที่ติดเชื้อเป็นพาหะนำโรคสู่คนที่สำคัญในประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย

4 การติดโรคพิษสุนัขบ้า
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด พบได้ทั่วโลก สุนัขและแมวที่ติดเชื้อเป็นพาหะนำโรคสู่คนที่สำคัญในประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย มีความรุนแรงมากในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เชื้อไปทำลายระบบประสาท สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด สัตว์เลี้ยงที่มีรายงานว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้าได้แก่ สุนัข แมว โค กระบือ ม้า ค้างคาวเป็นตัวอมโรคที่สำคัญของโรคพิษสุนัขบ้า “ หากถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่ใช่สุนัขกัดก็มีโอกาสที่จะติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าได้เช่นกัน “ หากถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่ใช่สุนัขกัดก็มีโอกาส ที่จะติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าได้เช่นกัน

5 การติดโรคพิษสุนัขบ้า
พาหะนำโรคที่สำคัญ สุนัข แมว ในประเทศไทยพบมากที่สุดในสุนัข (96% ของจำนวนที่พบเชื้อจากการวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ) รองลงมา คือ แมว ค้างคาว คือ ตัวอมโรคที่สำคัญ

6 การติดโรคพิษสุนัขบ้า
การถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัด ข่วน เลีย น้ำลายกระเด็นเข้าตา ปาก หรือผิวหนังมีแผล การติดเชื้อไวรัสทางอื่น (ในคน) การสัมผัสสมองหรือน้ำไขสันหลังของสัตว์ที่ติดเชื้อ การหายใจเอาเชื้อไวรัสจากเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อเข้าไป จากการปลูกถ่ายอวัยวะ (จำนวนไม่มาก) เชื้อไวรัสชนิดนี้สามารถติดต่อสู่คนได้โดยการถูกสัตว์ที่เป็นโรค กัด ข่วน เลีย น้ำลายกระเด็นเข้าทางตา ปาก หรือทางผิวหนังที่มีบาดแผล ซึ่งเชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนมากขึ้นในบริเวณแผลที่ถูกกัด หลังจากนั้นเชื้อจะเข้าสู่แขนงประสาท และระบบประสาทส่วนกลาง หากเชื้อเข้าสู่สมองและเพิ่มจำนวนขึ้นอีก ผู้ป่วยจะมีอาการคลุ้มคลั่ง ดุร้าย กระวนกระวาย และหากเชื้อเข้าสู่ไขสันหลังแล้วมีการเพิ่มจำนวนจะทำให้สมองและไขสันหลังทำ งานผิดปกติ ผู้ป่วยมีอาการอัมพาตและเสียชีวิตในที่สุด

7 การติดโรคพิษสุนัขบ้า
เชื้อไวรัสเพิ่มจำนวนในบริเวณแผลที่ถูกกัด เชื้อเข้าสู่แขนงประสาท เชื้อเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (สมอง ไขสันหลัง) อาการ >> คลุ้มคลั่ง ดุร้าย กระวนกระวาย สุดท้าย >> อัมพาต เสียชีวิต ซึ่งเชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนมากขึ้นในบริเวณแผลที่ถูกกัด หลังจากนั้นเชื้อจะเข้าสู่แขนงประสาท และระบบประสาทส่วนกลาง หากเชื้อเข้าสู่สมองและเพิ่มจำนวนขึ้นอีก ผู้ป่วยจะมีอาการคลุ้มคลั่ง ดุร้าย กระวนกระวาย และหากเชื้อเข้าสู่ไขสันหลังแล้วมีการเพิ่มจำนวนจะทำให้สมองและไขสันหลังทำ งานผิดปกติ ผู้ป่วยมีอาการอัมพาตและเสียชีวิตในที่สุด

8 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข
“แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ แบบดุร้าย แสดงอาการชัดเจนและพบบ่อย และแบบซึมซึ่งแสดงอาการไม่ชัดเจน” อาการของโรคมี 3 ระยะ อาการโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ แบบดุร้าย แสดงอาการชัดเจนและพบบ่อย และแบบซึมซึ่งแสดงอาการไม่ชัดเจน อาการของโรคมี 3 ระยะ คือ ระยะอาการเริ่มแรก สุนัขจะมีนิสัยแปลกไปจากเดิม ตัวที่เคยขลาดกลัวจะเข้ามา คลอเคลีย ตัวที่เคยเชื่องชอบเล่น จะหงุดหงิด หลบไปตามมุมมืด เงียบ กินอาหารและน้ำน้อยลง ระยะนี้มีอาการ วัน จะเข้าสู่ระยะที่ 2 ระยะตื่นเต้น จะมีอาการทางประสาท มีความรู้สึกไวกว่าปกติ กระวนกระวาย หงุดหงิด ไม่อยู่นิ่ง กัดแทะสิ่งของ ตัวแข็ง ขากรรไกรแข็ง ปากอ้า ลิ้นห้อย น้ำลายไหล ม่านตาขยาย บางตัววิ่งพล่านไปทั่ว เมื่อพบสัตว์หรือคนขวางหน้าจะกัด ส่งเสียงเห่าหอน ในระยะที่แสดงอาการแบบซึมอาจไม่แสดงอาการเช่นนี้ แต่เมื่อถูกรบกวนอาจกัด ต่อมา กล้ามเนื้อจะเริ่มอ่อนแรงลง ทรงตัวไม่ได้ ล้มแล้วลุกไม่ได้ บางตัวชักกระตุก อาการระยะนี้พบได้ วัน จึงจะเข้าระยะสุดท้าย ระยะอัมพาต เกิดอาการอัมพาตลามทั้งตัวเริ่มจากขาหลัง ต่อมากล้ามเนื้อคอจะเป็นอัมพาต กลืนอาหารไม่ได้ ระบบหายใจล้มเหลวและตายในที่สุด รวมระยะเวลาเริ่มแสดงอาการจนตายประมาณ 10 วัน 1 ระยะเริ่มแรก 2 ระยะตื่นเต้น 3 ระยะอัมพาต

9 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข
1.ระยะเริ่มแรก (2-3 วัน) นิสัยเปลี่ยนไปจากเดิม กินน้อยลง 2.ระยะตื่นเต้น (1-7 วัน) มีอาการทางประสาท ความรู้สึกไว กระวนกระวาย ไม่อยู่นิ่ง ตัวแข็ง ขากรรไกรแข็ง ปากอ้า น้ำลายไหล กัดคนหรือสัตว์ ทรงตัวไม่ได้ ระยะอาการเริ่มแรก สุนัขจะมีนิสัยแปลกไปจากเดิม ตัวที่เคยขลาดกลัวจะเข้ามา คลอเคลีย ตัวที่เคยเชื่องชอบเล่น จะหงุดหงิด หลบไปตามมุมมืด เงียบ กินอาหารและน้ำน้อยลง ระยะนี้มีอาการ วัน จะเข้าสู่ระยะที่ 2 ระยะตื่นเต้น จะมีอาการทางประสาท มีความรู้สึกไวกว่าปกติ กระวนกระวาย หงุดหงิด ไม่อยู่นิ่ง กัดแทะสิ่งของ ตัวแข็ง ขากรรไกรแข็ง ปากอ้า ลิ้นห้อย น้ำลายไหล ม่านตาขยาย บางตัววิ่งพล่านไปทั่ว เมื่อพบสัตว์หรือคนขวางหน้าจะกัด ส่งเสียงเห่าหอน ในระยะที่แสดงอาการแบบซึมอาจไม่แสดงอาการเช่นนี้ แต่เมื่อถูกรบกวนอาจกัด ต่อมา กล้ามเนื้อจะเริ่มอ่อนแรงลง ทรงตัวไม่ได้ ล้มแล้วลุกไม่ได้ บางตัวชักกระตุก อาการระยะนี้พบได้ วัน จึงจะเข้าระยะสุดท้าย ระยะอัมพาต เกิดอาการอัมพาตลามทั้งตัวเริ่มจากขาหลัง ต่อมากล้ามเนื้อคอจะเป็นอัมพาต กลืนอาหารไม่ได้ ระบบหายใจล้มเหลวและตายในที่สุด รวมระยะเวลาเริ่มแสดงอาการจนตายประมาณ 10 วัน

10 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข
3.ระยะอัมพาต เริ่มจากขาหลัง ต่อมากล้ามเนื้อคอเป็นอัมพาต กลืนอาหารไม่ได้ ระบบหายใจล้มเหลวและตายในที่สุด ระยะอาการเริ่มแรก สุนัขจะมีนิสัยแปลกไปจากเดิม ตัวที่เคยขลาดกลัวจะเข้ามา คลอเคลีย ตัวที่เคยเชื่องชอบเล่น จะหงุดหงิด หลบไปตามมุมมืด เงียบ กินอาหารและน้ำน้อยลง ระยะนี้มีอาการ วัน จะเข้าสู่ระยะที่ 2 ระยะตื่นเต้น จะมีอาการทางประสาท มีความรู้สึกไวกว่าปกติ กระวนกระวาย หงุดหงิด ไม่อยู่นิ่ง กัดแทะสิ่งของ ตัวแข็ง ขากรรไกรแข็ง ปากอ้า ลิ้นห้อย น้ำลายไหล ม่านตาขยาย บางตัววิ่งพล่านไปทั่ว เมื่อพบสัตว์หรือคนขวางหน้าจะกัด ส่งเสียงเห่าหอน ในระยะที่แสดงอาการแบบซึมอาจไม่แสดงอาการเช่นนี้ แต่เมื่อถูกรบกวนอาจกัด ต่อมา กล้ามเนื้อจะเริ่มอ่อนแรงลง ทรงตัวไม่ได้ ล้มแล้วลุกไม่ได้ บางตัวชักกระตุก อาการระยะนี้พบได้ วัน จึงจะเข้าระยะสุดท้าย ระยะอัมพาต เกิดอาการอัมพาตลามทั้งตัวเริ่มจากขาหลัง ต่อมากล้ามเนื้อคอจะเป็นอัมพาต กลืนอาหารไม่ได้ ระบบหายใจล้มเหลวและตายในที่สุด รวมระยะเวลาเริ่มแสดงอาการจนตายประมาณ 10 วัน รวมระยะเวลาเริ่มแสดงอาการจนตายประมาณ 10 วัน

11 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในแมว
แบ่งเป็น 3 ระยะ 1. ระยะอาการนำ (< 1 วัน) หงุดหงิด นิสัยเปลี่ยน ชอบซุกที่มืด 2. ระยะตื่นเต้น (2 – 4 วัน) ดุร้าย กัด ข่วนคน กล้ามเนื้อสั่น น้ำลายไหล กลืนลำบาก 3. ระยะอัมพาต เริ่มจากขาหลังแล้วลามมาตัว ขาหน้าและหัว และตาย อาการโรคพิษสุนัขบ้าในแมว ในระยะที่มีอาการชัดเจน แบ่งได้เป็น 3 ระยะ เช่นกัน คือ ระยะอาการนำ มีอาการหงุดหงิด นิสัยเปลี่ยนไป ชอบหลบซุกในที่มืด ระยะนี้มักสั้น ไม่เกิน 1 วัน ระยะตื่นเต้น แสดงอาการดุร้าย กัด หรือข่วนคนหรือสัตว์ที่เข้ามาใกล้ กล้ามเนื้อสั่น น้ำลายไหล กลืนลำบาก ระยะนี้กินเวลาประมาณ วัน ระยะอัมพาต เริ่มเป็นอัมพาตจากขาหลัง แล้วลามมายังลำตัว ขาหน้าและหัว จนทั่วตัวอย่างรวดเร็ว แล้วถึงแก่ความตาย อาการในแมวมักไม่ชัดเจน อาจเป็นแบบซึม มีระยะตื่นเต้นสั้นมาก หรือไม่แสดงอาการเลย อาจพบว่ากินอาหารและน้ำลำบาก แล้วเป็นอัมพาตลามไปทั่วตัว ตายในเวลา วัน หลังจากเริ่มมีอาการ อาการโรคพิษสุนัขบ้าในวัว มีไข้ ไม่กินหญ้า ดุกว่าปกติ ซึม ส่งเสียงร้องอย่างผิดปกติติดต่อกัน กระวนกระวายกระทึบเท้าหลัง เบ่ง เกร่ง มีอาการหาว กล้ามเนื้อไม่ทำงานสัมพันธ์กัน เกินไม่ตรงทางอาจวิ่งชนคอกเป็นระยะๆ น้ำลายไหลเป็นฟอง ท่าทางแปลกๆ หัวซุกหัวซุน ต่อมาเป็นอัมพาต ตาเหลือก ม่านตาขยาย ลิ้นห้อยออกจากปาก คอเหยียดและตายในที่สุด อาการโรคพิษสุนัขบ้าในสุกร มักแสดงอาการอย่างเฉียบพลันหลังจากแสดงอาการ จะตายภายใน 3-4 วัน นิสัยเปลี่ยนไปบางรายดุขึ้น มักตื่นเต้น ส่งเสียงดัง น้ำลายไหลมาก กระวนกระวาย ไวต่อการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม

12 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในแมว
อาการในแมวมักไม่ชัดเจน อาจเป็นแบบซึม มีระยะตื่นเต้นสั้นมาก หรือไม่แสดงอาการเลย อาจพบว่ากินอาหารและน้ำลำบาก แล้วเป็นอัมพาตลามไปทั่วตัว “ส่วนใหญ่เสียชีวิตหลังเริ่มมีอาการในเวลา วัน”

13 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในคน
ผู้ที่ได้รับเชื้อส่วนมากจะไม่แสดงอาการของโรคพิษสุนัขบ้าทันที โดยระยะเวลาขึ้นกับ ความรุนแรงของบาดแผล ระยะทางแผลไปสมอง อาการของโรค มีไข้ ปวดหัว คันบริเวณที่ถูกกัด สับสน และพฤติกรรมผิดปกติ ไวต่อแสงและเสียงมากกว่าปกติ กลืนลำบาก คลุ้มคลั่ง ดุร้าย กระวนกระวาย อัมพาต เสียชีวิต ระยะฟักตัวหลังจากเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายไปจนเกิดอาการ ใช้เวลาประมาณ สัปดาห์ หรืออาจสั้นเพียง 5 วัน หรือยาวนานเกินกว่า  1  ปี  โดยระยะฟักตัวจะสั้นหรือยาวขึ้นกับปัจจัยบางอย่าง เช่น ความรุนแรงของบาดแผล ปริมาณของปลายประสาทที่ตำแหน่งของแผล และระยะทางแผลไปยังสมอง เช่น แผลที่หน้า ศีรษะ คอ  หรือมือ อีกทั้งลักษณะของเครื่องนุ่งห่ม และ การล้างแผลจะมีส่วนช่วยลดจำนวนเชื้อลงได้มาก

14 อาการของโรคพิษสุนัขบ้าในคน
เมื่อเริ่มแสดงอาการออกมาแล้วอัตราการเสียชีวิต 100% ปัจจุบันไม่มียารักษา ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน ในปัจจุบันยังไม่มียาใดที่รักษาโรคพิษสุนัขบ้าได้ ซึ่งผู้ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้านั้นมีอัตราการเสียชีวิต 100% แต่อย่างไรก็ดีโรคพิษสุนัขบ้าก็สามารถป้องกันได้โดยการฉีดวัคซีน

15 การป้องกันสัตว์จากโรคพิษสุนัขบ้า
เก็บวัคซีนอุณหภูมิ 4 – 8

16 การป้องกันสัตว์จากโรคพิษสุนัขบ้า
โปรแกรมวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า   เริ่มต้น 3 เดือน 6 เดือน วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า หลังจากนั้นฉีดกระตุ้นปีละครั้ง

17 การป้องกันสัตว์จากโรคพิษสุนัขบ้า
สัตว์เลี้ยงที่กัดคนแต่ไม่แสดงอาการของโรคพิษสุนัขบ้าควรกักไว้สังเกตอาการอย่างน้อย 15 วัน “หากสัตว์แสดงอาการของโรคพิษสุนัขบ้าในช่วงนี้ ต้องทำ เมตตาฆาต และส่งตัวอย่างเพื่อตรวจชันสูตรโรคต่อไป”

18 การป้องกันตัวเราจากโรคพิษสุนัขบ้า
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ได้จากการนำเชื้อ Rabies virus ที่เพาะเลี้ยงโดยวิธีเฉพาะ เชื้อถูกทำให้ตาย กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิ คุ้มกันต่อเชื้อไวรัส วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้จากการนำเชื้อ Rabies virus ที่เกิดจากการเพาะเลี้ยงโดยวิธีการเฉพาะ ซึ่งเชื้อจะถูกทำให้ตายก่อนที่จะนำมาฉีดเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิ คุ้มกันต่อเชื้อไวรัสชนิดนี้

19 การป้องกันตัวเราจากโรคพิษสุนัขบ้า
หลีกเลี่ยงการเข้าใกล้สัตว์ที่มีพฤติกรรมผิดปกติ ถ้าถูกสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัด ล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำและสบู่ ห้ามบีบหรือเค้นแผล เช็ดแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ รีบไปพบแพทย์ทันที!!!(เร็วที่สุด) ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อถูกสุนัข แมวหรือสัตว์อื่นๆ กัด?    เมื่อถูกสัตว์ข่วนหรือกัดโดยที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าควรรีบปฐมพยาบาลและปฏิบัติตัวดังนี้ ล้างแผลทันทีด้วยน้ำและฟอกด้วยสบู่หลายๆ ครั้ง ล้างสบู่ออกให้หมด ถ้าแผลลึกให้ล้างถึงก้นแผลอย่างน้อย 15 นาที ระวังอย่าให้แผลช้ำ ห้ามใช้ครีมใดๆ ทา ถ้ามีเลือดออกควรปล่อยให้เลือดไหลออก อย่าบีบหรือเค้นแผล เพราะจะทำให้เชื้อแพร่กระจายไปส่วนอื่น เช็ดแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ควรใช้โพวีโดนไอโอดีน (povidone iodine) หรือฮิบิเทนในน้ำ (hibitane in water) ถ้าไม่มีให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือทิงเจอร์ไอโอดีน นอกจากนี้ไม่ควรปิดปากแผลยกเว้นว่าเลือดออกมากหรือแผลใหญ่มาก ไปโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยที่ใกล้ที่สุดทันที หรือ เร็วที่สุด เพื่อรับการฉีดป้องกันบาดทะยัก ยาปฏิชีวนะ และยาแก้ปวดตามอาการ รวมถึงวัคซีนหรืออิมมูโนโกลบุลินตามความเหมาะสม กักสัตว์ที่กัดไว้ดูอาการอย่างน้อย 15 วัน โดยให้น้ำและอาหารตามปกติ อย่าฆ่าสัตว์ให้ตายทันที เว้นแต่สัตว์นั้นดุร้ายกัดคนหรือสัตว์อื่นหรือไม่สามารถกัดสัตว์ไว้ได้ ถ้าสัตว์หนีหายไปให้ถือว่าสัตว์นั้นเป็นโรคพิษสุนัขบ้า หากสัตว์มีอาการปกติตลอดระยะเวลาที่กักเพื่อดูอาการ สามารถหยุดฉีดวัคซีนได้

20 ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า
เชื่อว่าโรคพิษสุนัขบ้าเป็นเฉพาะหน้าร้อน เชื่อว่าเมื่อถูกสุนัขกัด ต้องใช้รองเท้าตบแผล/เกลือขี้ผึ้งบาล์ม/ยาฉุนยัดใส่แผล หลังถูกกัดต้องรดน้ำมนต์ การฆ่าสุนัขที่กัดให้ตายและนำตับสุนัขมากินแล้วจะไม่ป่วยด้วยโรคนี้

21 ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า
คนท้องไม่ควรฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้า โรคพิษสุนัขบ้าเป็นเฉพาะในสุนัข วัคซีนพิษสุนัขบ้าฉีดรอบสะดือ 14 เข็ม หรือ 21 เข็ม ถ้าหยุดฉีดต้องเริ่มใหม่

22 Thank you


ดาวน์โหลด ppt โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google