งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการค้า กับกลุ่มประเทศ AEC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการค้า กับกลุ่มประเทศ AEC"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการค้า กับกลุ่มประเทศ AEC
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกลุ่มบริษัท V-SERVE รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย วันที่ 6 มกราคม 2559 บรรยายกลุ่มซัพพลายเชนของบริษัท ซินเนอยีพลาสเคม จำกัด

2 หัวข้อการบรรยาย 1 ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย 2559 2
โอกาสและความท้าทายของไทยกับ AEC และ โครงข่ายเชื่อมโยงโลจิสติกส์

3 สภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2558 มีความอ่อนแอมากกว่าที่ประเมินไว้ เศรษฐกิจถูกผลักดันจากการลงทุนภาครัฐ (+22.6%) และการท่องเที่ยว (+10.9%) การส่งออกที่ถดถอยถึงร้อยละ 5.2 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 (เดือนพ.ย.ติดลบไม่รวมน้ำมัน-ทองคำ -5.9%) อุตสาหกรรมส่งออกถดถอยต่อเนื่อง 1-2 ปี มีมากกว่า 40 สาขาอุตสาหกรรม การนำเข้าติดลบร้อยละ 11.5 เป็นการถดถอย 2 ปี ต่อเนื่อง โดยเดือนตุลาคมที่ผ่านมาการนำเข้าสินค้าทุนประเภทเครื่องจักร (ไม่รวมการนำเข้าเครื่องบิน) หดตัวสูงถึงร้อยละ 11 และการนำเข้าวัตถุดิบหดตัวสูงถึงร้อยละ 21 (YoY) ภาคอุตสาหกรรมกำลังการผลิตไม่เต็มศักยภาพหรือไม่เต็มกะ กำลังการผลิตยังเหลืออยู่ประมาณ 30-35% สามารถรองรับสถานการณ์ได้อย่างน้อย 2 ปี การฟื้นตัวเศรษฐกิจปี 2559 การลงทุน-การจ้างงานครึ่งปีแรกอาจทรงตัว การผลิตและการลงทุนของเอกชน อาจอยู่ในระดับที่ทรงตัวใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา

4 ดัชนีวัดเศรษฐกิจในปี 2558
ตัวเลขที่เป็นบวก GDP +2.9 การลงทุนภาครัฐ การลงทุนรัฐวิสาหกิจ +5.4 การบริโภคเอกชน +2.0 การท่องเที่ยว (ประมาณ) +10.9 ตัวเลขที่ติดลบและน่าเป็นห่วง GDP เกษตร -4.3 การลงทุนเอกชน -1.3 การส่งออก -5.2 การนำเข้า -11.8% เงินเฟ้อ -0.9 รายได้ภาคเกษตร -13 การว่างงาน (P)% MPI อุตสาหกรรม -18% กำลังการผลิตอุตสาหกรรม 58% การขยายตัวสินเชื่อธนาคาร 4-5% หนี้ครัวเรือน/GDP 81.08%

5 อุตสาหกรรมส่งออกที่ได้รับผลกระทบ
อุตสาหกรรมส่งออกถดถอย 1 ปี อุตสาหกรรมส่งออกถดถอย 2 ปี ลำดับ ชื่อสินค้า 2557 2558 (ม.ค.-ต.ค.) 1 มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 8.55 -14.91 ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ -32.92 -45.87 2 เม็ดพลาสติก 8.09 -14.40 ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน -25.69 -41.52 3 ผักกระป๋องและแปรรูป 7.28 -12.67 เคมีภัณฑ์ -5.53 -26.36 4 ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม 11.08 -11.72 กากน้ำตาล -29.24 -17.40 5 เครื่องคอมเพลสเซอร์ของเครื่องทำความเย็น 3.34 -9.41 ผลิตภัณฑ์ยาง -5.93 -13.99 6 เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบและส่วนประกอบ 1.17 -8.62 อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป -10.79 -13.45 7 เนื้อสัตว์และสิ่งปรุงแต่งที่ทำจากเนื้อสัตว์ 4.81 -7.46 ทองแดงและของทำด้วยทองแดง -3.22 -12.97 8 เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ 3.27 -6.27 เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน -3.10 -12.85 9 ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ 6.13 -5.23 ผ้าผืน -4.66 -8.36 10 แผงสวิทช์และแผงควบคุมกระแสไฟฟ้า 16.43 -4.74 เครื่องนุ่งห่ม -0.57 -7.96 11 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล 6.33 -4.04 เครื่องสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว -3.42 -6.84 12 ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ 1.8 -4.01 ผลิตภัณฑ์ข้าว -1.21 -5.59 13 ผลิตภัณฑ์พลาสติก 6.10 -3.70 เตาอบไมโครเวฟและเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน -2.18 -5.69 14 กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 3.68 -3.27 สายไฟฟ้าและเคเบิล -1.54 -4.87 15 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 3.17 -2.83 เส้นใยประดิษฐ์ -1.52 -4.39 16 ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ 12.18 -1.74 เครื่องกีฬาและเครื่องเล่นเกม -6.23 -3.39 17 เครื่องซักผ้าและเครื่องซักแห้งและส่วนประกอบ 1.46 -0.99 ของเบ็ดเตล็ดทำด้วยโลหะสามัญ -0.87 -3.09 18 สิ่งปรุงรสอาหาร 6.75 -0.95 เลนซ์ -6.74 -3.02 19 เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 2.29 -0.56 รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ -14.10 -2.31 20 เครื่องตัดต่อและป้องกันวงจรไฟฟ้า 15.46 -0.27 เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ -9.78 -0.59

6 ปี 2559 ความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของคู่ค้าส่งออก (1)
การส่งออกไทยพึ่งพาประเทศคู่ค้าหลักเพียง 6 ประเทศ คิดเป็นสัดส่วนส่งออกสูงถึงร้อยละ 73 ซึ่งคู่ค้าหลักของไทยมีเพียงสหรัฐอเมริกาเท่านั้นที่การขยายตัวส่งออกในปี 2558 เป็นบวกร้อยละ 2.25 นอกนั้นล้วนติดลบเฉลี่ยร้อยละ -7.0 (ยกเว้นประเทศ CLMV ที่ยังขยายตัวได้) เศรษฐกิจจีนจะเป็นตัวแปรสำคัญต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ทิศทางเศรษฐกิจของโลกขาดความชัดเจนอาจขยายตัวได้ 3.6% (IMF) สศค.คาดส่งออกอาจขยายตัว 2.5% และธปท.คาด 0% สศช.เศรษฐกิจจะเติบโตประมาณ 3-4% (ปี 58= 2.8%) ราคาน้ำมันที่ลดลงต่อเนื่องตั้งแต่เดือนมกราคม ราคาน้ำมัน WTI เฉลี่ย เหรียญสหรัฐ/บาเรล ราคา WTI ต้นเดือนมกราคม 36.91เหรียญสหรัฐ/บาเรล ลดลงถึงร้อยละ สะท้อนจากเศรษฐกิจโลกที่อยู่ในสภาวะซบเซา ผลกระทบจะมีต่อการส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์และยางพาราจะถดถอยต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ทิศทางราคาน้ำมันทรงตัวในอัตราต่ำ แสดงให้เห็นถึงเศรษฐกิจโลกยังไม่ฟื้นตัว ในไตรมาส 3 สินเชื่อเอกชนคงค้าง 11.5 ล้านล้านบาท มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบสองมีงบประมาณไม่พอที่จะทำให้เศรษฐกิจกลับมาขับเคลื่อน ซึ่งจะทำให้ตัวเลขบริโภคเอกชนอาจขยายตัวได้ใกล้เคียงกับปี 2558 ประมาณร้อยละ 2.6 ตลาดภายในยังซบเซา หรือโตได้ใกล้เคียงปี 2558 จากภัยแล้งส่งผลต่อ GPP ภาคเกษตรลดลง % ปัญหาเม็ดเงินจริงกระตุ้นเศรษฐกิจ ปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงฉุดกำลังซื้อ 2 3

7 ปี 2559 ความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของคู่ค้าส่งออก (2)
อาจขยายตัวได้เล็กน้อยหรือใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 58.5 ทำให้มีกำลังการผลิตส่วนเกินค่อนข้างสูง ส่งผลให้ระดับราคาสินค้าภาคอุตสาหกรรมทรงตัว อีกทั้งกับห้างโมเดิร์นเทรดมีแคมเปญลดราคาต่อเนื่อง ทำให้เงินเฟ้อยังอยู่ในระดับที่ต่ำประมาณ 1.0% (ปี 2558 เงินเฟ้อติดลบ -0.9%) การผลิตอุตสาหกรรมยังทรงตัวในระดับต่ำแต่แนวโน้มจะดีกว่าปีที่ผ่านมา การลงทุนเอกชนผ่าน BOI ปี 58 มูลค่า 2.1 แสนล้านบาท อาจทำให้การลงทุนเอกชนขยายตัวได้เล็กน้อยจากที่ติดลบ -1.3 ในปี 2558 การนำเข้าสินค้าทุนประเภทเครื่องจักร-ส่วนประกอบเดือนตุลาคม 2558 (ไม่รวมการนำเข้าเครื่องบิน) หดตัวสูงถึงร้อยละ 11 (YoY) และการนำเข้าวัตถุดิบหดตัวสูงถึงร้อยละ 2 การลงทุนภาครัฐมูลค่า 5.4 แสนล้านบาท อาจเบิกจ่ายไม่ได้ตามเป้าหมาย (ประมาณการลงทุนภาครัฐขยายตัวร้อยละ 11.2) การลงทุนเอกชนในปี 2559 ยังทรงตัวหรือขยับตัวได้เล็กน้อย เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากการ ลงทุนภาครัฐ 4 5

8 ปี 2559 ความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของคู่ค้าส่งออก (3)
อัตราแลกเปลี่ยนผันผวน และปัญหาเงินทุนไหลออก (ม.ค.-พ.ย.58) เงินทุนไหลออกสุทธิ 5.6 แสน ล้านบาท 6 การออกพันธบัตร กองทุน Future Fund เป็นทางเลือกการออมและสถาบันการเงินมีความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อภาคเอกชน ปัญหาสภาพคล่องภาคธุรกิจ เดือนธ.ค. 58 เฟดปรับดอกเบี้ย 0.25% คาดว่ากลางปี 2559 อาจขยับเป็น 1.3% อาจมีผลต่อดอกเบี้ยนโยบายของ ธปท. อัตราปัจจุบัน 1.5% และอาจขยับไปจนถึงระดับ 2.5% ขึ้นอยู่กับเวลาและการรักษาสมดุล แนวโน้มดอกเบี้ยสูงขึ้น ECB อัดฉีด 6.0 ล้านยูโรต่อเดือน และ BOJ ใช้นโยบาย QE 23 ล้านล้านบาท ทำให้ค่าเงินเยนอ่อนค่า กดดันเหรียญสหรัฐให้แข็งค่า ปี 2558 เงินบาทอ่อนค่า 11.0% การปรับดอกเบี้ยเฟด 0.25 เงินทุนไหลกลับ การอัดฉีด QE ของหลายประเทศจะทำให้สกุลเงินในโลกผันผวน ทิศทางเงินบาทอ่อนค่า บาท/เหรียญสหรัฐ ต้นเดือนมกราคม 59 จีนลดค่าเงินหยวนต่ำสุดในรอบ 5 ปี ตามมาด้วยเวียดนาม ซึ่งจะยิ่งทำให้อัตราแลกเปลี่ยนผันผวนมากขึ้น 7 8

9 ตัวเลขชี้วัดเศรษฐกิจไทยปี 2558/2559
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ หรือจีดีพี (ธปท.) 2.8% 3.5% การส่งออกเชิงมูลค่า (228,210 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) -5.5% 2.5% การนำเข้าเชิงมูลค่า (204,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) -11.8% 5.4% การลงทุนภาครัฐ 22.6% 11.2% การลงทุนรัฐวิสาหกิจ - การลงทุนเอกชน -1.3% 4.7% การบริโภคเอกชน 2.0% 2.6% เงินเฟ้อทั่วไป -0.9 % การท่องเที่ยวเชิงปริมาณ 10.9% ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) -18% กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม (CPU) 58% จีดีพีภาคเกษตร -4.0 ถึง -4.3% รายได้ภาคเกษตร -13% หนี้ครัวเรือนต่อจีดีพี (พ.ย. 58 มีมูลค่า ล้านล้านบาท) 81.08% การขยายตัวสินเชื่อธุรกิจเอกชน % การว่างงาน 0.92% 1.0 P เงินบาทเมื่อเทียบกับดอลลาร์ (YoY) อ่อนค่าทั้งปีเฉลี่ย 3.3 บาท/USD อ่อนค่า 10.13% ราคาน้ำมัน WTI (ณ 14 ธ.ค.) ลดลงทั้งปีเฉลี่ย 8.92 เหรียญสหรัฐ/บาเรล ลดลงเฉลี่ย 20.03% เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ (20 พ.ย. 58) 155.7 แสนล้านเหรียญสหรัฐ

10 AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
จุดเปลี่ยนของธุรกิจภายใต้...โอกาสและความท้าทาย neighbor Investment Free BUSINESSREFORM UNDER AEC Co-Tourism Single Market Cross border Trade Logistics Free Flow??? One Production Base Single Economic Community ชุมชนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค Immigrant Labour ไทย: ฐานการผลิตสินค้า/บริการป้อนสู่ตลาดโลก Openness (การเปิดประเทศ) และ Export-led growth (การใช้การส่งออกเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ) ก่อให้เกิดห่วงโซ่อุปทานขึ้น กล่าวคือ ไทยกลายเป็นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิตระดับโลกในภูมิภาคเอเชียซึ่งช่วยส่งเสริมความสามารถในการผลิต (productivity) ลดต้นทุน ดึงดูดการลงทุนและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ไทยเป็นประตูเชื่อมทางการค้าสำคัญในการเจาะและขยายมูลค่าทางการค้าสู่ภูมิภาคใกล้เคียงและประเทศอื่นๆ ที่เป็นพันธมิตรทางการค้ากับไทย อาทิ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย บาห์เรน เปรู และกลุ่มเศรษฐกิจ BIMSTEC Borderless Economy Skill Labour Free

11 อาเซียน 10 ปี ข้างหน้า (ค.ศ.2025)
ปฏิญญากัลวาลัมเปอร์ อาเซียน 10 ปี ข้างหน้า (ค.ศ.2025) เพิ่มการรวมตัวและเชื่อมโยงมากขึ้นใน 3 เสาหลัก ได้แก่ การเมืองและความมั่นคง, ประชาคมเศรษฐกิจ, สังคมวัฒนธรรม ประชาคมอาเซียนมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเน้นการรวมกลุ่มการค้า ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดย่อย-เล็ก-กลาง (MSME) การเปิดเสรีการค้า–การลงทุน–การเงินและอำนวยสะดวกทางการค้ามากกว่าที่เป็นอยู่ เพิ่มความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงานและนักวิชาการ การเพิ่มการค้าเสรีภายใต้อาเซียน +8 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย รัสเซีย สหรัฐ)

12 หัวใจแห่งความสำเร็จเขตเสรีอาเซียน....
การเชื่อมโยงตลาด-การลงทุนโลจิสติกส์-บริการ Logistics Across Border Trade Under Single Market Service & Tourism Investment Under Single Production Base Ream Border Industrial

13 AEC : REAL BUSINESS CONNECTIVITY SME : การเชื่อมโยงธุรกิจกับภูมิภาค
เชื่อมโยงด้านธุรกิจการค้าชายแดน-นำเข้า-ส่งออกทางถนนในประเทศ GMS East India South China เชื่อมโยงด้านธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านทั้งโครงสร้างพื้นฐานและบริการ เชื่อมโยงธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ตัวแทนออกของ-ขนส่ง-คลังสินค้า-กระจายสินค้าในระดับภูมิภาค (logistics Service) เชื่อมโยงด้านการลงทุนชายแดนทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน การเชื่อมโยงได้ประโยชน์จากเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน-โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงประเทศ CLMV และ GSP-ทรัพยากร-ตลาดกลุ่มประเทศ AEC

14 HOW TO CONNECT WITH REGIONAL ECONOMIC การเชื่อมโยงเศรษฐกิจของท้องถิ่นกับโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ด่านชายแดน มูลค่าสินค้าชายแดน / ผ่านแดนไทย-กัมพูชา-ลาว-เมียนมาร์-มาเลเซีย ปี 2558 (ม.ค. – ธ.ค.) มูลค่ารวม 985,210 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.07 เท่ากับร้อยละ 7.42 ของ GDP มูลค่าส่งออก 576,950 ล้านบาท มูลค่านำเข้า 408,260 ล้านบาท ได้ดุลการค้า 168,690 ล้านบาท ที่มา: กระทรวงคมนาคม

15 สงขลา-สะเดา/ปาดัง-ปะลิส-ปีนัง คุณหมิง-ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์
การเชื่อมโยงโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ North-South Logistics Corridor Connectivity ซือเหมา คุณหมิง R3E(A) เชียงของ-ห้วยทราย-หลวงน้ำทา-หม่อฮัน-ซือเหมา-คุณหมิง R3W(B)เชียงราย-แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-ซือเหมา-คุณหมิง หลวงพระบาง เนปิดอร์ เชียงราย น่าน-ปากแบ่ง-หลวงพระบาง น่าน แม่ฮ่องสอน-ต้นนุ่น-ตองยี-เนปิดอร์ น่าน ไชยบุรี R11 อุตรดิดถ์-ภูดู่-ปากลาย-เวียงจันทน์ อุตรดิตถ์ เวียงจันทน์ เลย แม่ฮ่องสอน เลย – ท่าลี่ - เวียงจันทน์ พิษณุโลก รถไฟทางคู่ สิงคโปร-มาเลเซีย-ปาดังเบซาร์-กทม.พิษณุโลก-เชียงราย-เชียงของ-จีน??? Penang Port สงขลา-สะเดา/ปาดัง-ปะลิส-ปีนัง คุณหมิง-ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์ สิงคโปร์

16 การเชื่อมโยงโครงข่ายเศรษฐกิจตะวันออก/ตะวันตก East-West Logistics Corridor Connectivity
ฮานอย-หนานหนิง R2 ย่างกุ้ง-พะโค-ยะไข่(ซิตะเว่)-ชิน(ตามู)-มณีปุระ R1 ย่างกุ้ง-เนปิดอร์-มัณฑะเลย์-มูเซ่-ต้าลี่-ฉงชิง เนปิดอร์ A1(N) R1 R12 นครพนม-ตำม่วน-วิงห์-ฮานอย-คุณหมิง วิงห์ R9(W) แม่สอด-เมียวดีเมาะตะมะ-ผาอัน-ย่างกุ้ง-ทิลาวา นครพนม R12 ดงฮา พิษณุโลก มุกดาหาร R9 เมียวดี แม่สอด R9w ย่างกุ้ง R9(E) มุกดาหาร-สะหวันเขต-อาวบ๋าว-ดงฮา อุบลฯ R13 R4 เมาะตะมะ-ทวาย โฮจิมินห์ R13 อุบล-ปากเซ-อัถบือ-สตึงเต็ง-โอจิมินห์

17 การเชื่อมโยงโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจใต้ South Logistics Corridor Connectivity
กาญจนบุรี-บ้านพุน้ำร้อน-ทิกกี้-ทวาย อรัญประเทศ ทวาย แหลมฉบัง พนมเปญ R5 กาญจนบุรี-นครปฐม-กบินทร์บุรี-อรัญประเทศ-พนมเปญ

18 ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า-บริการ การลงทุนไทย – สปป
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า-บริการ การลงทุนไทย – สปป.ลาว มูลค่าสินค้าผ่านแดน (ปี 2558) 166, ล้านบาท ได้ดุลการค้า 87, ล้านบาท ด่านนครพนม-คำม่วน-วิงห์ (เวียดนาม) รถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน-ลาว คุณหมิง – เวียงจันทร์ – หนองคาย – แก่งคอย – กทม.- มาบตะพุด ด่านช่องเม็ก – ปากเซ (สปป.ลาว) – สะวายเรียง (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 2, ล้านบาท ส่งออก 12, ล้านบาท ด่านศุลกากรหนองคาย-เวียงจันทน์ มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 3,804 ล้านบาท ส่งออก 54,473.5 ล้านบาท ด่านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ด่งฮา(เวียดนาม) - ลังซอน- ผิวเซียง-หนานหนิง(จีน) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 26, ล้านบาท ส่งออก 24, ล้านบาท ด่านเชียงของ – คุณหมิง (R3E) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก 4, ล้านบาท เส้นทาง R12 – ท่าเรือวิงห์ (เวียดนาม)

19 สปป.ลาว : ROAD CONNECTIVITY โอกาสการเข้าถึงโครงข่ายโลจิสติกส์ การขนส่งทางถนนเชื่อมโยงด้าน East Corridor สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย-ลาว 1 เส้นทางหมายเลข 13 (วังเวียง-หลวงพระบาง) สะพานข้ามแม่น้ำโขงขนาดใหญ่แห่งแรกเชื่อมต่อเทศบาลเมืองหนองคายเข้ากับบ้านท่านาแล้งอยู่ห่างจากนครหลวงเวียงจันทน์ประมาณ 20 กิโลเมตร สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย–ลาว 2 เส้นทางหมายเลข 9 (มุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ดงฮ่า) สะพานเชื่อมต่อจังหวัดมุกดาหารกับแขวงสะหวันเขตในประเทศลาว เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเศรษฐกิจตะวันตกตะวันออก สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย–ลาว 3 เส้นทางหมายเลข 12 (นครพนม – คำม่วน-ฮาติง) สะพานเชื่อมต่อระหว่าง จ.นครพนม กับ ฝั่งลาว อยู่ที่บ้านเวินใต้ เมืองท่าแขก แขวงคำม่วน สะพานข้ามแม่น้ำโขง–ลาว 4 เส้นทางหมายเลข R3A (เชียงของ – บ่อแก้ว –หลวงน้ำทา – หม่อฮัน – ผูเออร์ – คุณหมิง) ช่องแม็ก-ปากเซ เส้นทางหมายเลข13 (อุบลราชธานี-ช่องแม็ก-ปากเซ-จำปาสัก-สตรึงเตรง)

20 ด่านชายแดนเชื่อมโยง การค้า การลงทุน ไทย –กัมพูชา มูลค่าสินค้าผ่านแดน (ปี 2558) 123, ล้านบาท ได้ดุลการค้า 82, ล้านบาท ด่านหาดเล็ก (ตราด)– เกาะกง (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ,662.8 ล้านบาท ส่งออก 27, ล้านบาท ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต-ศรีโสภณ (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า , ล้านบาท ส่งออก , ล้านบาท เส้นทางการค้ากัมพูชา ท่าเรือสีหนุวิวล์

21 ท่าเรือปีนัง ประเทศมาเลเซีย ขนส่งยางพาราปีละประมาณ 300,000 TEU
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า-บริการ-การลงทุน ไทย-มาเลเซีย มูลค่าการค้าผ่านแดน (ปี 2558) 483, ล้านบาท ได้ดุลการค้า18, ล้านบาท ด่านสะเดา จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า , ล้านบาท ส่งออก , ล้านบาท ด่านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า , ล้านบาท ส่งออก , ล้านบาท ด่านประกอบ จ.สงขลา ท่าเรือปีนัง ประเทศมาเลเซีย ขนส่งยางพาราปีละประมาณ 300,000 TEU เส้นทางการค้ามาเลเซีย

22 ประเทศเมียนมาร์...จุดแข็งของไทยคือ การเชื่อมโยงโลจิสติกส์ทางถนน

23 ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า บริการ การลงทุน ไทย-เมียนมาร์
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า บริการ การลงทุน ไทย-เมียนมาร์ การค้าผ่านแดน (ปี2558) มูลค่า 218, ล้านบาท ขาดดุล 20, ล้านบาท ด่านแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-ตองจี-เนปิดอร์ (จ.เชียงราย)มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก 9, ล้านบาท ด่านแม่สอด-เมียวดี-ย่างกุ้ง (จ.ตาก) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก 67, ล้านบาท ด่านพุน้ำร้อน-ทิกกี้-ทวาย-เยห์ (จ.กาญจนบุรี) ด่านสิงขร-มะริด (จ.ประจวบคีรีขันธ์) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก ล้านบาท ท่าเรือระนอง -เกาะสอง (จ.ระนอง) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1, ล้านบาท ส่งออก 16, ล้านบาท เส้นทางขนส่งเมียนมาร์

24 ท่าเรือในย่างกุ้ง...ไม่ธรรมดา
ท่าเรือ 2 แห่งในนครร่างกุ้งปัจจุบันมีสินค้าผ่านท่า แสนTEU/ปี และสามารถขยายได้มากกว่า 1.3 ล้าน TEU/ปี

25 ท่าเรือและเขตเศรษฐกิจพิเศษทิลาวา
ตั้งอยู่ปากน้ำสิเรียมบนแม่น้ำพะโค (แม่น้ำร่างกุ้ง)โครงการจะมีท่าเทียบเรือ 37 ท่า (ปัจจุบันมี 10 ท่า) ปัจจุบันรับสินค้า 350,000 TEU/ปี แต่ขยายได้ 1.0 ล้านTEU/ปี ท่าเรือ ASIA WORLD PORT TERMINAL ตั้งอยู่บนแม่นำย่างกุ้ง ระดับน้ำลึก 9 – 9.5 เมตร ปัจจุบันรับตู้สินค้าได้ 350,000 TEU ต่อปี ห่างจากปากแม่น้ำ 32 ไมล์ ปี 2011 ปริมาณตู้สินค้า ขาเข้า ,644 TEU ขาออก 124,775 TEU

26 โครงการนิคมอุตสาหกรรมทวาย
พื้นที่ชายทะเลหาดชักแคร่ เมืองทวาย ที่จะสร้างท่าเรือทวาย

27 East – West Landbridge Dawei - Kanchanaburi ถนนทวาย – บ้านพุน้ำร้อน
มติ ครม. 20 พ.ค..55 เห็นชอบงบประมาณ 44,500 ล้านบาท สนับสนุนเงินทางมอร์เตอร์เวย์หมายเลข 81 เชื่อมโยงทวาย-บ้านพุน้ำร้อน- บางใหญ่ – นนทบุรี – บ้านห้วยตลุง –กาญจนบุรี-บ้านพุน้ำร้อน

28 ลงทุนในประเทศเมียนมาร์...ต้องรู้อะไรบ้าง
นักธุรกิจท้องถิ่นขาดความเป็นสากล ปัญหาผู้ร่วมทุนและนายหน้าแฝง กฎหมายการลงทุนไม่ชัดเจนและแก้ไขบ่อย ค่าเช่าที่ดิน และค่าเช่าอาคารสูงเกินกว่าความเป็นจริง (ในย่างกุ้งและเมืองใหญ่ๆ) ระเบียบข้อบังคับมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและปัญหาการบังคับใช้ ปัญหาความล้าหลังด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบไฟฟ้าไม่พอเพียง ปัญหาการขาดแคลนแรงงานทักษะและแรงงานวิชาชีพ ระบบธนาคารยังต้องพัฒนาอีกมาก ขาดฐานข้อมูลเชิงลึกในการลงทุน การขาดอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการสนับสนุนการผลิต

29 รัฐบาลเมียนมาร์กับปัญหาชนกลุ่มน้อย มีสัญญาณที่ดีในการยุติการหยุดยิงแต่ยังไม่ยอมวางอาวุธ

30 ประเทศซ้อนประเทศ ชนกลุ่มน้อยที่ยังมีบทบาทในพม่า
ลำดับ ชื่อย่อ ชนกลุ่มน้อย จำนวนกำลังติดอาวุธ (คน) 1 UWSA United Wa State Army 50,000 2 KIO Kachin Independence Organization 6,000 3 KIA Kachin Independence Army 10,000 4 DKBA Democratic Karen Buddhist Army 5,000 5 KNU Karen National Union 6 SSA-N Shan State Army – North 7 NDAA National Democratic Alliance Army 8 NMSP New Mon State Party 3,500 9 PNA Pa-O National Army 1,350 10 NDA-K National Democratic Army – Kachin 1,000

31 เมียนมาร์วันนี้…โอกาสหรือเสียโอกาส

32 การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น....ส่งผลอะไร ?
พรรค NLD ได้รับเลือกเป็นผู้ชนะอย่างถล่มทลาย เพราะประชาชนต้องการเปลี่ยนแปลง ไม่ได้คาดหวังว่าเศรษฐกิจจะดีหรือไม่ โดยประชาชนก็แสดงความกระตือรือร้นออกมาลงคะแนนเสียงถึง 80% จากวลี อยู่เหนือประธานาธิบดี เริ่มมีผลต่อความรู้สึกของประชาชนว่าจะกลายเป็นเหมือนรัฐบาลทหารที่เผด็จการหรือไม่ ซึ่งพรรค NLD ได้วางตัวว่าที่ประธานธิบดีไว้แล้ว แรงงานพม่าที่อยู่ในประเทศไทยในชุมชนใหญ่ เช่น สมุทรสาคร ระนอง เริ่มมีความรู้สึกจะกลับบ้าน เพื่อไปร่วมสร้างบ้าน สร้างเมือง ภายใต้การปกครองใหม่ เศรษฐกิจจะเติบโตตามศักยภาพที่มีอยู่ แต่การเลือกตั้งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการชยายตัวอีกทางหนึ่ง กลุ่มน้อยมีความรู้สึกระแวงในตัวของ นางออง ซาน ซูจี ปัญหาตามชายแดนยังจะอยู่ ไม่ให้แยกตัว ความเป็นรัฐบาลพลเรือนไม่ได้การันตีว่าสภาพการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อชาติต่างๆ ในพม่าจะสงบสุข

33 พม่าหลังเลือกตั้ง ทิศทางการเจรจาระหว่างนางอองซานซูจีกับทหารน่าจะหาทางลงตัวกันได้ โดยเฉพาะกระทรวงด้านความมั่นคง ซึ่งคงเป็นโควต้าของทหาร โจทย์สำคัญของอองซานคือ ประชาชนพึ่งพอใจต่อสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากยุคประธานาธิบดีเต็งเส่ง ทำให้เศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของคนพม่าเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีทั้งถนน-ไฟฟ้า-อินเตอร์เน็ต เศรษฐกิจขยายตัวได้ 8.3% มีการลงทุน (FDI) มากกว่า 2.83 แสนล้านบาท บุคคลสำคัญหลังเปลี่ยนถ่ายอำนาจคือ นายพล ส่วย มาน ประธานรัฐสภาและเป็นผู้นำกองทัพ โดยจะเป็นรัฐบาลผสม นางอองซานน่าจะเป็น รมต.ต่างประเทศ หลังรัฐบาลใหม่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงในพม่าทั้งด้านต่างประเทศ การลงทุน ตลาดภายใน กฎหมาย และการเมืองระหว่างประเทศ

34 AEC เหรียญสองด้าน เป็นทั้งโอกาสและความท้าท้าย ขึ้นอยู่กับว่าการปรับตัวหรือรอโชคชะตา เศรษฐกิจ (ใหม่) และชุมชนไร้พรมแดนของ AEC จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ แน่ใจแล้วหรือว่าได้มีการเตรียมพร้อมสู่ AEC ??

35 END ข้อมูลเพิ่มเติมที่


ดาวน์โหลด ppt การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการค้า กับกลุ่มประเทศ AEC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google