งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ประจำปี 2561

2 ประเด็นการนำเสนอ เส้นทางการพัฒนา และความท้าทาย การบริหารจัดการโครงการ
แผนการดำเนินงาน (ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว) ผลลัพธ์เชิงประจักษ์

3 เส้นทางการพัฒนา และความท้าทาย
ข้อมูลทั่วไป อำเภอเสลภูมิ ประชากร 120,191 คน ชาย 59,773 คน หญิง 60,418 คน 18 ตำบล 235 หมู่บ้าน 27,656 หลังคาเรือน เทศบาล 10 แห่ง อบต. 7 แห่ง รพ.สต. 25 แห่ง โรงเรียน 89 แห่ง ศพด. 43 แห่ง 9/10/61 DHB Selaphum

4 ปัญหาการดื่มสุราในพื้นที่
การเข้าถึงสุราได้ง่าย ร้านค้า/ร้านชำที่จำหน่ายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในชุมชน 597 แห่ง การดื่มสุราเทศกาลงานบุญประจำปี เช่น บุญบั้งไฟ บุญแข่งเรือ บุญผะเหวด ฯลฯ การทำสุราพื้นบ้านดื่มในช่วงเทศกาลงานบุญประเพณี เช่น สาโท การบังคับใช้กฎหมายตาม พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ยังหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตาม และยังไม่มีผลบังคับใช้ในชุมชนอย่างเคร่งครัด

5 ปัญหาการดื่มสุราในพื้นที่
พฤติกรรมการดื่มของประชาชนอำเภอเสลภูมิ (ปชก.15 ปีขึ้นไป 60,593 คน) (คัดกรอง 16,346 คน ดื่ม 3,575 คน) พบว่ามีการดื่ม ร้อยละ 21.87 ชาย ร้อยละ 81 และหญิง ร้อยละ 19 (ฐานข้อมูล HDC) การฆ่าตัวตายในพื้นที่สูง ปี 2559 จำนวน 5 ราย (4.14 ต่อแสนประชากร) ปี 2560 จำนวน 7 ราย (5.79ต่อแสนประชากร) ปี 2561 จำนวน 6 ราย (4.96ต่อแสนประชากร) ปี 2562 จำนวน - ราย สาเหตุมาจาก ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง ดื่มสุรา และผิดหวังดื่มสุรา อุบัติเหตุทางถนน บาดเจ็บ และ เสียชีวิต (ปัจจัยเสี่ยง ดื่มแล้วขับ) ปี 2560 บาดเจ็บ 1, เสียชีวิต ต่อแสนประชากร ปี 2561 บาดเจ็บ เสียชีวิต17.38 ต่อแสนประชากร ปี 2562 บาดเจ็บ เสียชีวิต ต่อแสนประชากร

6 พัฒนาการ การแก้ไขปัญหาเครื่องดื่ม อ.เสลภูมิ
อดีตที่ผ่านมา การทำงานเป็นแบบแยกส่วน ต่างฝ่ายต่างทำ เริ่มดำเนินโครงการ ปี 2560 (ได้รับงบดำเนินการ 10,000 บาท) ดำเนินการโดย จนท.ผู้รับผิดชอบงานยาเสพติด (สสอ.เสลภูมิ) เชิญชวนประชาชนลงนามปฏิญาณ งดเหล้าเข้าพรรษา เลือกพื้นที่ดำเนินการ 1 หมู่บ้าน/ตำบล ระยะเวลาเฉพาะช่วงเข้าพรรษา ซึ่งยังไม่มีคณะทำงานในการขับเคลื่อน ปี ดำเนินโครงการอำเภอต้นแบบฯ (ก.ค. 61 – ก.พ. 62)

7 การขับเคลื่อนแบบบูรณาการ พชอ.เสลภูมิ
วาระ เสลภูมิ สุภาพดี รายได้ดี การศึกษา กีฬา และวัฒนธรรมดี สิ่งแวดล้อมดี ปลอดภัย“น่าอยู่” ปี 2561การบูรณาการ พชอ. ร่วมกับคณะทำงานขับเคลื่อน “วาระเสลภูมิ” โครงการหมู่บ้านประชารัฐ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และโครงการไทยนิยมยั่งยืน

8 กรอบแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนโครงการ ปี 2561 - 2562
อำเภอต้นแบบ 3 ขยาย พชอ.เสลภูมิ นักรณรงค์ พื้นที่ ครอบคลุม 18 ตำบล 235 บ้าน กลุ่มเป้าหมาย (ดื่ม เสพ ติด) เวลา (ก.ค.- ก.พ 62) ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทีมจัดการ 15 คน ทีมสติบำบัด

9 กรอบแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนโครงการ ปี 2561 - 2562
กรอบแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนโครงการ ปี วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการทำงานร่วมกันเชิงบูรณการการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ 2. รณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับการลดอันตราย จากการดื่มแอลกอฮอล์ แก่ผู้ดื่มและชุมชน 3. ขยายโอกาสให้ผู้ติดสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ 4. พัฒนาองค์ความรู้เรื่องรูปแบบการทำงานเชิงบูรณาการในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ระดับอำเภอ

10 กรอบแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนโครงการ ปี 2561 - 2562
กรอบแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนโครงการ ปี วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. พัฒนาอำเภอต้นแบบโดยการสานพลังเครือข่ายเพื่อการลด ละ เลิกสุรา 2. พัฒนาศักยภาพทีมทำงานของอำเภอในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับอำเภอ 2.1 ทีมด้านขับเคลื่อนการทำงานเชิงบูรณาการ 2.2 ทีมบำบัดด้วยสติบำบัด 3. สนับสนุนกลุ่มผู้ดื่มให้สามารถหยุดดื่มแอลกอฮอล์ช่วงเข้าพรรษา และหรือหลังออกพรรษา 4. สนับสนุนกลุ่มผู้ติดสุราให้ได้รับการบำบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพ

11 ทีมจัดการ “นักรณรงค์งดเหล้า” อำเภอเสลภูมิ
การบริหารจัดการโครงการ ทีมจัดการ “นักรณรงค์งดเหล้า” อำเภอเสลภูมิ

12 ประกาศนโยบายการขับเคลื่อนโครงการ
ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ ประชุมกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน

13 แผนการดำเนินงาน กิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ (ก.ค. 2561 – ก.พ. 2562)
1.ประชุมคณะทำงานร่วมกับเครือข่ายหลักทุกภาคส่วน 2.ประชุมทำแผนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายหลักทุกภาคส่วน 3.การรณรงค์คัดกรอง ป้องกันและแก้ไขปัญหาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 4.ให้บริการและขยายบริการ(ด้วยโปรแกรมสติบำบัด) 5.ประชุมติดตามผล ครั้งที่ 1 การประชุมผลการติดตามประเมินผล 6.ประชุมติดตามผล ครั้งที่ 2 ประชุมสรุปผลและวางแผนการดำเนินงานหลังออกพรรษา

14 การรณรงค์คัดกรอง ป้องกันและแก้ไขปัญหา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “งดเหล้าเข้าพรรษา” ลงนาม MOU และมอบเกียรติบัตรคนหัวใจเพชร ปี 2560

15 การรณรงค์คัดกรอง ป้องกันและแก้ไขปัญหา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “งดเหล้าเข้าพรรษา” ลงนามปฏิญาณตนงดเหล้าเข้าพรรษา แต่ละพื้นที่

16 การรณรงค์คัดกรอง ป้องกันและแก้ไขปัญหา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “งดเหล้าเข้าพรรษา” ตรวจสุขภาพผู้สมัครใจงดเหล้าเข้าพรรษา

17 การดำเนินงาน “สติบำบัด” อำเภอเสลภูมิ

18 พิธีมอบเกียรติบัตร ผู้ผ่านการอบรม “สติบำบัด”

19 แผนระยะสั้น (ภายใน 1 ปี หลังจบโครงการ)
1. ขยายกลุ่มบำบัดผู้ติดสุรา โปรแกรมสติบำบัด เพิ่ม 3 รุ่น (90 คน) 2. การรณรงค์คัดกรอง ป้องกันและแก้ไขปัญหาเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล 3. รณรงค์การงดดื่มสุราในงานบุญประเพณีของชุมชน เช่น งานบุญแข่งเรือ งานบุญบั้งไฟ งานบุญพระเวส งานบุญคูณลาน งานศพ งานบวช งานกฐิน เป็นต้น 4. บูรณาการการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กับคณะทำงาน ศป.ปส.อำเภอเสลภูมิ และศป.ปส.อปท. และบุคคลต้นแบบ “คนหัวใจหิน คนหัวใจเพชร”

20 ชุมชนปลอดเหล้า งานบุญประเพณี
ประเพณีงานบุญปลอดเหล้า “แข่งเรือ ตำบลนาเลิง ทอดเทียน ตำบลนางาม”

21 แผนระยะกลาง (ภายใน 3 ปี หลังจบโครงการ)
1. พัฒนาร้านค้า/ร้านชำต้นแบบ “พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์” 2. มาตรการชุมชน (ธรรมนูญชุมชน) ลด ละ เลิกการดื่มสุราในชุมชน 3. การควบคุมโซนนิ่งร้านค้าจำหน่ายสุรา รอบ ม.ราชภัฎร้อยเอ็ด 4. ลดนักดื่มหน้าใหม่ การพัฒนาการดำเนินงาน “ศูนย์เยาวชนตำบล” แผนระยะยาว (หลังจบโครงการ 3 ปีขึ้นไป) 1. พัฒนาตำบลต้นแบบแก้ไขปัญหาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 100 2. ทุกตำบลมีผู้ให้บริการบำบัดการติดสุรา ด้วยโปรแกรมสติบำบัด

22 ผู้สมัครใจ “งดเหล้าเข้าพรรษา” อำเภอเสลภูมิ
ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ผู้สมัครใจ “งดเหล้าเข้าพรรษา” อำเภอเสลภูมิ แสดงความประสงค์งดเหล้า เข้าพรรษา จำนวน 2,369 คน เข้ารับการตรวจสุขภาพ 1,762 คน ร้อยละ คน งดเหล้าครบพรรษา 1,559 คน ร้อยละ 84.47 326 คน 1,436 คน สถานบริการอ.เสลภูมิ คัดกรองผู้ดื่มสุรา 16,346 คน ดื่มสุรา 3,575 คน ร้อยละ 21.87 ที่มา : HDC 2561

23 ผลการประเมินความเครียด และตรวจสุขภาพ ผู้งดเหล้าเข้าพรรษา ปี 2561 อ
ผลการประเมินความเครียด และตรวจสุขภาพ ผู้งดเหล้าเข้าพรรษา ปี 2561 อ.เสลภูมิ (ครบพรรษา) ความ เครียด ความเครียดระดับสูง “ก่อนงดเหล้า” 111 คน ความเครียดระดับสูง “หลังงดเหล้า” 62 คน ความดันโลหิต ความดันโลหิตระดับสูง “ก่อนงดเหล้า” 247 คน ความดันโลหิตระดับสูง “หลังงดเหล้า” 123 คน น้ำตาลในเลือด ระดับน้ำตาลในเลือดสูง “ก่อนงดเหล้า” 141 คน ระดับน้ำตาลในเลือดสูง “หลังงดเหล้า” 88 คน

24 ผลลัพธ์ ลดค่าใช้จ่าย งดเหล้าเข้าพรรษา
ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสุรา ของผู้งดเหล้าเข้าพรรษา 1,762 คน จำนวนเงิน 1,842,692 บาท (เฉลี่ย 1,045 บาท/คน) ผู้สมัครใจงดดื่มสุรา หลังออกพรรษา 339 คน

25 การดำเนินงาน “สติบำบัด” อำเภอเสลภูมิ

26 สติบำบัด บำบัด 8 ครั้ง ( 30 ส.ค. ถึง 18 ต.ค. 2561)
ติดตาม 2 ครั้ง 3,6 เดือน (30 พ.ย. 61 และ 30 ม.ค. 62)

27 พิธีมอบเกียรติบัตร ผู้ผ่านการอบรม “สติบำบัด”

28 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม สติบำบัด
เป้าหมาย ผู้เข้าอบรม จำนวน 30 คน อายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นผู้ดื่ม ระดับอันตราย และระดับติด เข้ารับการอบรมตามโปรแกรมครบ 8 ครั้ง ครอบคลุมทุกพื้นที่ จำนวน 18 ตำบล หน่วยบริการสาธารณสุข (รพ.สต./รพ.) ผลงาน ผู้เข้าอบรม 32 คน ผ่านการอบรม 30 คน (93.75%) อายุต่ำสุด 33 ปี สูงสุด 70 ปี ช่วงอายุมากที่สุด ปี (40.62%) เป็นผู้ดื่มระดับอันตราย 8 คน ระดับติด 8 คน (50%) ระดับเสี่ยงและเสี่ยงต่ำ 16 คน (50%) เข้ารับการอบรมตามโปรแกรมครบ 8 ครั้ง จำนวน 18 คน (56.25%) ติดตามซ่อม 12 คน (37.50%) ไม่ครบ 2 คน (6.25%) ครอบคลุมพื้นที่ 17 ตำบล (94.44%) 23 หน่วยบริการสาธารณสุข (88.46%)

29 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม สติบำบัด
การบำบัด ผู้เข้ารับการบำบัด (คน) ผู้งดดื่มได้ ร้อยละ ครั้งที่ 1 26 24 92.31 ครั้งที่ 2 30 100 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 หลังบำบัด 1 เดือน 17 56.66 หลังบำบัด 3 เดือน 7  23.33

30 ผลกระทบจากการดำเนินโครงการ
การฆ่าตัวตายในพื้นที่มีแนวโน้มลดลง ปี 2559 จำนวน 5 ราย (4.14 ต่อแสนประชากร) ปี 2560 จำนวน 7 ราย (5.79ต่อแสนประชากร) ปี 2561 จำนวน 6 ราย (4.96ต่อแสนประชากร) ปี 2562 จำนวน - ราย อุบัติเหตุทางถนน บาดเจ็บ และ เสียชีวิต มีแนวโน้มลดลง ปี 2560 บาดเจ็บ 1, เสียชีวิต ต่อแสนประชากร ปี 2561 บาดเจ็บ เสียชีวิต17.38 ต่อแสนประชากร ปี 2562 บาดเจ็บ เสียชีวิต ต่อแสนประชากร

31 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน คืนข้อมูล ครั้งที่ 1 (8 พ.ย. 2561)

32 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ถอดบทเรียน ครั้งที่ 2 (13 ก.พ. 2562)

33 ปัจจัย ความสำเร็จการดำเนินงาน
ปัจจัย ความสำเร็จการดำเนินงาน ประเด็นขับเคลื่อน พชอ.เสลภูมิ (ยาเสพติด บุหรี่ สุรา) การได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในการดำเนินงาน มีนักจัดการทีม “นักรณรงค์งดเหล้า” ในพื้นที่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ที่ต่อเนื่อง สร้างกระแสสังคม แรงจูงใจการยกย่องชมเชย “บุคคลต้นแบบคนหัวใจหิน/เพชร” การคืนข้อมูล และเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนางาน การประชุมวางแผนพัฒนา สู่ตำบลต้นแบบแก้ไขปัญหา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

34 อุปสรรคการดำเนินงาน จนท.ผู้ให้บริการ บำบัดผู้ติดสุรา โปรแกรมสติบำบัด
ยังไม่เพียงพอ ผู้ติดสุราในพื้นที่ สมัครใจเข้ารับการบำบัด มีจำนวนน้อย ประเพณีนิยม การจัดงานประเพณีของชุมชน ยังพบว่ามีการดื่มสุรา แต่ก็มีแนวโน้มลดลง การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำหน่วยงาน องค์กรท้องถิ่น/ท้องที่ ยังมีพฤติกรรมการดื่มสุรา

35 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google