งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 9 การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์

2 สาระการเรียนรู้ 1. แผนงานด้านเลขหมาย
1. แผนงานด้านเลขหมาย 2. การจัดเลขหมายโทรศัพท์ของประเทศไทย 3. รหัสเลขหมายบริการพิเศษ 4. รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 5. เลขหมายพิเศษ เลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ หลัก 6. การเปลี่ยนแปลงวิธีการกดเลขหมายในประเทศไทย

3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. บอกการจัดเลขหมายโทรศัพท์ของประเทศไทยได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายวิธีการเรียกแบบต่างๆได้อย่างถูกต้อง

4 แผนงานด้านเลขหมาย ( Numbering Plan )

5 แผนงานการจัดเลขหมายโทรศัพท์จะต้องวางแผนไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย ปี เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงหมายเลขในภายหลังทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ทั้งด้านอุปกรณ์โทรคมนาคมและต้องเปลี่ยนแปลงกรรมวิธีของการใช้โทรศัพท์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ใช้ไม่พึงปรารถนา

6 ในการออกแบบแผนงานด้านเลขหมายจะต้องสอดคล้องกับข้อกำหนดดังต่อไปนี้
สะดวกในการใช้ ผู้ใช้โทรศัพท์จะต้องเข้าใจง่าย ไม่มีวิธีการที่ยุ่งยากมากเกินไป จะต้องใช้ได้กับระบบหรืออุปกรณ์ที่มีอยู่ในปัจจุบันและในอนาคตได้ เป็นมาตรฐานเดียวกันกับมาตรฐานระหว่างประเทศ สอดคล้องกับการจัดระบบเส้นทางจราจร และแผนงานการคิดค่าบริการโทรศัพท์

7 การพิจารณาการจัดองค์ประกอบของเลขหมาย
การกำหนดองค์ประกอบของเลขหมายโทรศัพท์ ควรคำนึงถึงข้อพิจารณาดังต่อไปนี้ ควรให้เลข “ 0 ” นำหน้าทรั้งค์ ( Trunk prefix ) เสมอ ควรเลือกเลข “ 00 ” สำหรับนำหน้ารหัสระหว่างประเทศ จำนวนตัวเลขสำหรับเลขหมายระหว่างประเทศควรเป็น 12 ตัวหรือน้อยกว่า ( สำหรับ ISDN ควรเป็น 15 ตัวหรือน้อยกว่า ) รหัสประเทศ ควรจะประกอบด้วยหนึ่ง หรือ สอง หรือ สามตัว

8 การจัดเลขหมายโทรศัพท์ของประเทศไทย
เลขหมายผู้เช่าหรือเลขหมายสมาชิก โดย เลขหมายสมาชิกมีจำนวน 4 ตัว คือตั้งแต่เลขหมายตั้งแต่ – 9,999 เลขหมายทั่วประเทศมี 9 ตัว ทั้งในเขตนครหลวงและเขตภูมิภาค ใช้“ 0 ” ใช้สำหรับนำหน้าทรั้งค์ เลขหมายทั่วประเทศแทนด้วย 9 ตัวอักษร คือ A , B , C , D , E , F G , H และ J

9 องค์ประกอบเลขหมายโทรศัพท์ประเทศไทย

10 องค์ประกอบเลขหมายโทรศัพท์ประเทศไทย

11 การจัดเลขหมายโทรศัพท์

12 การจัดเลขหมายโทรศัพท์
ประเภท เลขหมาย ตัวอย่าง จำนวนตัวเลข ( หลัก ) หมายเลขประจำสถานี ( Station Number ) XXXX 8765 4 รหัสชุมสาย ( Office Code ) YY 589 * รหัสทรั้งค์ ( Trunk Code ) WW 2 (เขตนครหลวง) 45 ( อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ) รหัสประเทศ ( Country Code ) ZZ 66 ( ไทย ) 1 ( สหรัฐอเมริกา ) 856 ( ลาว ) 1 ถึง 3 Trunk Prefix A International Prefix BBB 001 ( กสท โทรคมนาคม ) 009 ( กสท โทรคมนาคม ) 008 ( ทีโอที ) และอื่นๆ หมายเลขผู้เช่า ( Subscriber Number ) YYY + XXXX

13 ตัวอย่างการจัดกลุ่มเลขหมายโทรศัพท์ในประเทศไทย
045- อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร

14 ตัวอย่างการจัดหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดตั้งประจำที่ ( ที่มา:แผนเลขหมายโทรคมนาคมฯ 2552 )
กลุ่มเลขหมายพื้นที่ให้บริการ 021 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 022 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 023 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 024 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 025 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 026 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 027 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 028 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 029 กรุงเทพและปริมณฑล : กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ 032 ภาคกลาง : ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 034 ภาคกลาง : นครปฐม สมุทรสาคร กาญจนบุรี สมุทรสงคราม 035 ภาคกลาง : พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี อ่างทอง 036 ภาคกลาง : สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี 037 ภาคตะวันออก : ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก

15 ตัวอย่างการจัดหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดตั้งประจำที่ ( ที่มา:แผนเลขหมายโทรคมนาคมฯ 2552 )
กลุ่มเลขหมายพื้นที่ให้บริการ 038 ภาคตะวันออก : ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง 039 ภาคตะวันออก : จันทบุรี ตราด 042 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย นครพนม มุกดาหาร สกลนคร เลย 043 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ 044 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ชัยภูมิ 045 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร 053 ภาคเหนือ : เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน เชียงราย 054 ภาคเหนือ : ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน 055 ภาคเหนือ : พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร 056 ภาคเหนือ : นครสวรรค์ ชัยนาท อุทัยธานี พิจิตร เพชรบูรณ์ 073 ภาคใต้ : ยะลา ปัตตานี นราธิวาส 074 ภาคใต้ : สงขลา พัทลุง สตูล 075 ภาคใต้ : ตรัง นครศรีธรรมราช กระบี่ 076 ภาคใต้ : ภูเก็ต พังงา 077 ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง

16 รหัสบริการพิเศษ

17 ตัวอย่างรหัสเลขหมายบริการพิเศษ

18 รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

19 รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ( International Telecommunication Union : ITU ) แบ่งออกเป็น โซน

20 รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ
หมายเลขโซนพื้นที่ โซน 1 อเมริกาเหนือ โซน 2 แอฟริกา โซน 3 ยูโรป โซน 4 ยุโรป โซน 5 เม็กซิโก อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ โซน 6 แปซิฟิกใต้และโอเชียเนีย โซน 7 รัสเซีย โซน 8 เอเชียตะวันออก โซน 9 เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียใต้ เอเชียกลาง และตะวันออกกลาง โซน 10 ไม่มีการใช้

21 ประเทศไทย อยู่ในโซน 6 รหัสประเทศ คือ 66

22 เลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ สำหรับบริการเรียกออกต่างประเทศ

23 เลขหมายโทรคมนาคมพิเศษใช้สำหรับบริการเรียกออกต่างประเทศ

24 วิธีใช้บริการ การเรียกออกต่างประเทศ ของ บมจ. ทีโอที 008  กด รหัสประเทศ + รหัสเมือง / รหัสโทรศัพท์เคลื่อนที่ + เลขหมายปลายทาง  - กรณีโทรไปยัง โทรศัพท์ประจำที่ ประเทศญี่ปุ่น เมืองโยโกฮามา เลขหมาย 5704-XXXX ( รหัสประเทศญี่ปุ่น 81  รหัสเมืองโยโกฮามา 045 ) กดหมายเลขดังนี้ XXXX

25 วิธีใช้บริการ การเรียกออกต่างประเทศ ของ บมจ. กสท. โทรคมนาคม 009
การเรียกออกต่างประเทศ ของ บมจ. กสท. โทรคมนาคม 009 กด รหัสประเทศ + รหัสเมือง / รหัสโทรศัพท์เคลื่อนที่ + เลขหมายปลายทาง 

26 วิธีใช้บริการ การเรียกออกต่างประเทศ ของ บมจ. กสท. โทรคมนาคม 001 ไม่ผ่านพนักงานสลับสาย กด รหัสประเทศ + รหัสเมือง / รหัสโทรศัพท์เคลื่อนที่ + เลขหมายปลายทาง 

27 THE END


ดาวน์โหลด ppt การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google