งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ผศ.ดร.พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ งานพัฒนาหลักสูตร สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1/30

2 เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 84 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต 2/30

3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป วิชาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี 3/30

4 การจัดรายวิชาศึกษาทั่วไป
สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไป ในลักษณะจำแนกเป็นรายวิชา หรือลักษณะบูรณาการใดๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กับคณิตศาสตร์ ในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของวิชาศึกษาทั่วไป โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า หน่วยกิต 4/30

5 เจตนารมณ์ เพื่อเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยให้ศึกษารายวิชาต่างๆ จนเกิดความซาบซึ้ง และสามารถติดตามความก้าวหน้าในสาขาวิชานั้นได้ด้วยตนเอง การจัดการเรียนการสอนควรจัดให้มีเนื้อหาวิชาที่เบ็ดเสร็จในรายวิชาเดียว ไม่ควรมีรายวิชาต่อเนื่อง หรือรายวิชาขั้นสูง และไม่ควรนำรายวิชาเบื้องต้นหรือรายวิชาพื้นฐานของวิชาเฉพาะมาจัดเป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป 5/30

6 รูปแบบของวิชาศึกษาทั่วไป
- ร่วม - กระจาย แนวโน้มรูปแบบ GENED จะเป็นการ ผสมผสานทั้ง 2 รูปแบบ 6/30

7 รูปแบบโครงสร้างวิชาศึกษาทั่วไป
บังคับ - สังคมศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ - ภาษา - วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ * แต่ละกลุ่มวิชาจัดรูปแบบต่างกันได้ บังคับ+เลือก เลือก 7/30

8 ปัญหาในการจัดหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ขาดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สอดคล้องกับการจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณาจารย์ขาดความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เนื้อหาของวิชาไม่ใช่ลักษณะบูรณาการความรู้ของแต่ละกลุ่มในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือเป็นรายวิชาพื้นฐานของวิชาการหรือวิชาชีพ 8/30

9 การจัดการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป ในยุคโลกไร้พรมแดน
ปัจจุบันโลกเป็นโลกไร้พรมแดน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สถาบันอุดมศึกษาจึงต้องพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก เป็นบัณฑิตที่เป็นพลเมืองและพลโลก บัณฑิตจึงจำเป็นต้องมี Global Competence คือ 1. มีโลกทัศน์กว้างไกล 2. รู้จักเขา รู้จักเราทั่วโลก เพื่อจะได้ติดต่อหรือมีความ สัมพันธ์กัน เป็นคู่ค้า คู่ขาย และคู่แข่งกัน 3. มีทักษะด้านภาษา เพื่อติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นได้ดี ไม่น้อยกว่า 2 ภาษา 4. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ก้าวหน้า * แหล่งที่มา : แนวคิดในการจัดการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน 9/30

10 แนวทางการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
การจัดเนื้อหาการเรียนการสอน เนื้อหาควรเป็นลักษณะสหวิทยาการ เพื่อให้บัณฑิตมีความรอบรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมและประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข คณาจารย์ผู้สอน ควรมีความรู้ มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มีความถนัดและความสนใจในการสอน วิธีสอน ควรสอนเป็นทีม เน้นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ตำรา สื่อ และโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน ต้องพัฒนาให้ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอน และเทคนิคการสอนสอดแทรก * แหล่งที่มา : แนวคิดในการจัดการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน 10/30

11 สรุป ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนในสังกัดและในกำกับและสังกัดหน่วยงานอื่นๆ ต้องจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ และมีเครือข่ายเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร วิธีการเรียนการสอน กิจกรรมนิสิตนักศึกษา และการวัดและประเมินผล รวมทั้งแนวปฏิบัติ ที่ดี เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ให้บัณฑิตเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ของชุมชน ตลาดแรงงาน สังคมและประเทศชาติ 11/30

12 ต่อไปการรายงานข้อมูลหลักสูตรตามแบบ สมอ
ต่อไปการรายงานข้อมูลหลักสูตรตามแบบ สมอ จะมีความสำคัญมาก เนื่องจาก สกอ. จะนำข้อมูลดังกล่าวของทุกสถาบัน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลด้านความพร้อม หลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร ฯลฯ เผยแพร่ต่อ สาธารณชนผ่านทาง website และ สกอ จะรับรองมาตรฐานหลักสูตรตามความพร้อม ของสถาบัน โดยพิจารณาจากรายละเอียดของหลักสูตร ประกอบกับข้อมูลตามแบบรายงาน สมอ ในระบบฐานข้อมูล ซึ่งการรับรองคุณวุฒิของ ก.พ. ก็จะใช้ฐานข้อมูลของ สกอ. ในการตรวจสอบด้วย 12/30

13 ประเด็นปัญหาของ มช. หลักสูตรปริญญาตรี มช. ไม่สอดคล้องกับเกณฑ์ สกอ. ทำให้หลักสูตรถูกตีกลับ เนื่องจากวิชาศึกษาทั่วไปไม่ครอบคลุมแนวทางที่ สกอ. กำหนด จำเป็นต้องมีการปรับปรุง 13/30

14 พัฒนาการในระยะ 2 ปีที่ผ่านมา มช. ทราบปัญหาและได้ดำเนินการดังนี้
1. จัดประชุมสัมมนาเรื่องวิชาศึกษาทั่วไป ภายในมหาวิทยาลัย - แนวทางการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต (30 พ.ย. 50) - การบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาแบบองค์รวม ( 6 ก.พ. 51) - การประชุมคณะกรรมการบริหารและประสานงานวิชาการ เรื่อง การบริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (5ต.ค. 50) 14/30

15 - การบริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไป (6-7 ส.ค 50)
2. เข้าร่วมเครือข่ายศึกษาทั่วไปอุดมศึกษาไทย ซึ่งมีมหาวิทยาลัยของรัฐ-เอกชนเข้าร่วม และ มช.เป็นเจ้าภาพจัดประชุมสัมมนาระดับประเทศครั้งที่ 4 เมื่อ มี.ค. 51 3. เข้าร่วมการสัมมนาของเครือข่ายบัณฑิต อุดมคติไทย จัดโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร - การบริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไป (6-7 ส.ค 50) - การจัดทำวิชาศึกษาทั่วไปแบบบูรณาการ (3-4 เม.ย. 51) 15/30

16 มช.จะจัดวิชาศึกษาทั่วไปในรูปแบบใด
GENED มช. ควรแบ่งเป็น 3 หรือ 4 กลุ่ม - ภาษาและการสื่อสาร - วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์ กลุ่มมนุษยศาสตร์ และกลุ่มสังคมศาสตร์ ควรรวมกลุ่ม หรือ แยกกลุ่ม 16/30

17 Free template from www.brainybetty.com
วิชาศึกษาทั่วไปที่ มช. ต้องการ ? ระดับเนื้อหา ท้องถิ่น ประเทศ ภูมิภาค สากล 17/30 5/4/2019 Free template from

18 กลุ่มมนุษยศาสตร์ / สังคมศาสตร์
ต้องรู้ : เศรษฐกิจ สังคม การเมือง คุณธรรม จริยธรรม การครองตนในสังคม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 18/30

19 กลุ่มวิทยาศาสตร์ / คณิตศาสตร์
ต้องรู้ : - วิทยาศาสตร์ - สิ่งแวดล้อมทั่วไป - คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์บูรณาการ / ตรรกวิทยา) 19/30

20 กลุ่มภาษาและการสื่อสาร
ให้เลือกภาษาที่ นศ. ไปทำงานในระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค/ สากล ระดับท้องถิ่น : ไทย ท้องถิ่น (เหนือ อีสาน ใต้) ระดับภูมิภาค : ลาว เวียดนาม จีน เขมร ระดับสากล : อังกฤษ เยอรมัน ฝรั่งเศส 20/30

21 วิธีการเรียนการสอน การประเมิน – ประเมินอย่างไร ?
- บรรยาย บูรณาการเนื้อหา/ผู้สอน - ILP - CCA - อัธยาศัย - สหกิจศึกษา - หนังสือนอกเวลา/ ภาพยนตร์ การประเมิน – ประเมินอย่างไร ? 21/30

22 ขั้นตอน/วิธีการ จัดกลุ่มกระบวนวิชา GE แต่ละกลุ่มสาขาวิชา (กระจาย)
จัดทำรายละเอียดกระบวนวิชาใหม่เพื่อเสนออนุมัติเปิดสอน จัดทำปฏิทินการดำเนินงาน 22/30

23 เป้าหมาย ปรับปรุงหมวดวิชา GE ทุกหลักสูตร
ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 คณะ/วิทยาลัยต้องเสนอหลักสูตรมายัง มหาวิทยาลัยภายใน ก.ย. 51 23/30

24 แนวคิดอื่นในการปรับปรุงหลักสูตร
1. ปรับรูปแบบการเขียนหน่วยกิต ตามแบบที่ สกอ. กำหนด (เพิ่มการเรียนรู้ด้วยตนเอง) ข้อดี - สอดคล้องแนวปฏิบัติของ สกอ. - ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนทุก รูปแบบ - รองรับการศึกษาตามอัธยาศัย - นศ. ได้เรียนรู้มากขึ้น (ไม่นับภาระงาน) 2. กำหนดให้หลักสูตรปริญญาตรีมี EXIT-EXAM และให้ certificate ซึ่งจะเป็นกลไกในการพัฒนานักศึกษา 24/30

25 กรณีตัวอย่าง Yunnan Normal University (YNNU)
โครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรี แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม 1. กลุ่ม Compulsory courses (เทียบได้กับ General Education) แบ่งเป็น 3 หมวด กำหนดโดยกระทรวง ศึกษาธิการ ใช้บังคับสำหรับมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ - Foreign language - Moral and ideology - Computer skills 25/30

26 วิชากลุ่ม Compulsory courses ได้แก่
1) Physical training หรือ Physical education สอนโดยคณะศึกษาศาสตร์ ต้องเรียนตั้งแต่ปีที่ 1-3 2) ภาษาต่างประเทศ (สอนเฉพาะภาษาอังกฤษ) สอนโดย School of Foreign Language บังคับเรียนประมาณ 14 หน่วยกิต (320 ชั่วโมง) 3) Psychology สอนโดยคณะศึกษาศาสตร์ 4) Politics สอนโดยคณะสังคมศาสตร์ 5) Computor สอนโดยภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ 26/30

27 2. กลุ่ม Subject requirements (พื้นฐานวิชาชีพ)
3. กลุ่ม Electives แบ่งเป็น 1) General electives 2) Specific electives 27/30

28 ข้อสังเกตจากการศึกษาดูงานที่ YNNU
1. เน้นวิชาศึกษาทั่วไป โดยเฉพาะด้านภาษา และพลานามัย 2. จัดการเรียนการสอนโดยคณะ/ภาควิชาที่ เกี่ยวข้อง ส่วนใหญ่สอนแบบบรรยาย มี ปฏิบัติการบ้างในบางวิชา 3. นักศึกษาทุกคนต้องผ่านการสอบ Exit-Examination ในวิชาภาษาอังกฤษ และ คอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะสำเร็จการศึกษา 28/30

29 วิชาศึกษาทั่วไปของ มช.
...จะเป็นไปในแนวทางใด ? 29/30 5/4/2019 Free template from

30 Free template from www.brainybetty.com
...ขอบคุณ... 30/30 5/4/2019 Free template from


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google