งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)

2 ลักษณะสำคัญขององค์กร
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร มาตรา , 12-20, 22, มาตรา , 26-28, 33-34, 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล มาตรา 8, 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ มาตรา 9, 20, 22, 45-46 มาตรา 8, 24-25, 29-32, 41-42 มาตรา 8, 10, 21, 23-25, 30-32, 35-38 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ มาตรา 11, 26, 39-40, 43-44

3 หมวดที่ 2 การจัดทำยุทธศาสตร์
หมวดที่ 2 การจัดทำยุทธศาสตร์ ให้อธิบายว่าส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการ กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ และ กลยุทธ์หลัก รวมถึงการยกระดับความสามารถในการ แข่งขัน ผลการดำเนินการโดยรวม และความสำเร็จใน อนาคต Excellence Training Institution

4 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ ก. กระบวนการจัด ทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอดแผน ปฏิบัติการไปสู่ การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ Excellence Training Institution

5 กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์
ส่วนราชการมีกระบวนการในการวางแผนยุทธศาสตร์ โดยรวมอย่างไร ให้ระบุ ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญ กรอบเวลาที่ใช้ในการวางแผนระยะสั้นและระยะยาว กิจกรรมในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ Excellence Training Institution

6 กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์
ส่วนราชการได้นำปัจจัยต่อไปนี้มาวางแผนยุทธศาสตร์อย่างไร ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย สภาพการแข่งขัน นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค Excellence Training Institution

7 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และ กลยุทธ์หลักมีอะไรบ้าง ส่วนราชการให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กร อย่างไร Excellence Training Institution

8 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
วิธีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติการที่สำคัญของส่วนราชการ แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคลที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่สำคัญที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าของแผนปฏิบัติการมี อะไรบ้าง Excellence Training Institution

9 การคาดการณ์ผลการดำเนินการ
เป้าหมายการดำเนินงานของแผนปฏิบัติการตามตัวชี้วัดมี อะไรบ้างและเป็นเช่นใด เมื่อเปรียบเทียบกับ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานที่คาดไว้ของคู่แข่ง ระดับเทียบเคียงที่สำคัญ (Benchmark) Excellence Training Institution

10 ความหมาย เป็นกระบวนการซึ่งรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน 3 ประการคือ.-
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Analysis) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) การปฏิบัติตามกลยุทธ์และการควบคุม (Strategy Implementation and Control) Excellence Training Institution

11 ความท้าทายในโลกธุรกิจ
การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Accelerating rates of Change) การแข่งขันที่มากขึ้น (Increasing Competition) ความเป็นโลภาภิวัตน์ของธุรกิจ (Globalization of Business) การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี (Technological Change) Excellence Training Institution

12 ความท้าทายในโลกธุรกิจ (ต่อ)
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของหน่วยแรงงาน (Changing Nature of the Work Force) การขาดแคลนทรัพยากร (Resource Shortages) การเปลี่ยนแปลงจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมที่ต้องใช้ความรู้ (Transition from Industrial to Knowledge Society) Excellence Training Institution

13 ความท้าทายในโลกธุรกิจ (ต่อ)
ภาวะเศรษฐกิจและสภาพตลาดที่ไม่แน่นอน (Unstable Economic and Market Conditions) ความต้องการของลูกค้าเพิ่มขึ้น (Increasing Demands of Constituents) ความสลับซับซ้อนของสภาพแวดล้อมในการบริหารเชิงกลยุทธ์ (Complexity of the Strategic Management Environment) Excellence Training Institution

14 21th-century Business Direction
ยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) ยุคสารสนเทศ (The Maze of Information Management) ยุคความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี (The Way of Technology) ยุคของความเปลี่ยนแปลง (Change and More Change) Excellence Training Institution

15 ประโยชน์จากการบริหารเชิงกลยุทธ์
ช่วยปรับปรุงการสื่อสารให้ดีขึ้น (Improved Communication) มีผลิตผลที่ดี (Great Productivity) ช่วยให้เกิดความเข้าใจในการทำงาน (Increased Understanding) ทำให้กลยุทธ์มีประสิทธิผลมากขึ้น (More Effective Strategies) Excellence Training Institution

16 ประโยชน์จากการบริหารเชิงกลยุทธ์
มีพันธะสัญญา (Enhanced Commitment) ผลิตผลสูงขึ้น (Higher Productivity) ทำให้ธุรกิจมีอำนาจ มีความคิดริเริ่ม การคาดการณ์ล่วงหน้า (Allow Firm to Influence, Initiate, and anticipate) ทำให้ธุรกิจมีการวางแผนไว้ล่วงหน้าแทนที่จะแก้ปัญหาภายหลัง (Be Proactive rather than Reactive) Excellence Training Institution

17 ความสำคัญในการบริหารเชิงกลยุทธ์
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ เกี่ยวข้องกับผู้ที่ได้ผลประโยชน์จากองค์การ นำมาซึ่งขอบเขตหลายช่วงเวลา เกี่ยวข้องทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล Excellence Training Institution

18 แผนกลยุทธ์ 4 ปี แผนปฏิบัติการ ประจำปี
วิเคราะห์ความคาดหวังของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเลีย กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก (ถ้ามี) และประเด็นยุทธศาสตร์ ตามลำดับ โดยให้สอดคล้องกัน กำหนดเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (ภายใต้พันธกิจ หรือประเด็นยุทธศาสตร์) กำหนดกลยุทธ์ของแต่ละเป้าประสงค์และตัวชี้วัด (โดยใช้เทคนิค TOWS Matrix) และแผนงานรองรับ นำแผนงานที่ต้องดำเนินการในแต่ละปี มากำหนดโครงการ วัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดระดับโครงการ (ภายใต้แผนงานแต่ละแผน) กำหนดงบประมาณของโครงการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กรทั้งภายใน และภายนอก โดยใช้ SWOT Analysis จัดทำแผนที่กลยุทธ์โดยใช้เป้าประสงค์แต่ละมิติตาม Balance Scorecard – BSC. แผนกลยุทธ์ 4 ปี แผนปฏิบัติการ ประจำปี กำหนดตัวชี้วัด (KPIs) ตามหลัก Result Based Management Excellence Training Institution

19 ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)
หมายถึงบุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ องค์กร มีผลประโยชน์ร่วมกันกับองค์กรไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ได้รับ ผลกระทบทั้งด้านบวก และด้านลบจากการดำเนินงานขององค์กร เช่น ลูกค้า ผู้ถือหุ้น ผู้ปฏิบัติงานในองค์กร องค์กรภาครัฐ องค์กร เอกชน คู่แข่งขัน ฯลฯ องค์กรมีความจำเป็นต้องกำหนดผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรให้ชัด เจน เข้าใจความคาดหวัง หรือความต้องการของเขา และหาทาง ตอบสนองความต้องการ หรือความคาดหวังนั้นไว้เป็นการเบื้องต้น Excellence Training Institution

20

21 การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Analysis)

22 การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ในระดับองค์กร
การกำหนดกลยุทธ์ขององค์การจะต้องพิจารณาสภาพแวดล้อม ภายนอก (External Environment) สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาโอกาส อุปสรรค จุดแข็ง และจุดอ่อน และความสามารถในการแข่งขัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า SWOT Analysis Excellence Training Institution

23 ปัจจัยแวดล้อมภายนอก หมายถึง สิ่งแวดล้อมขององค์การซึ่งองค์การไม่สามารถควบคุมได้ และอาจเป็นประโยชน์ หรือเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อองค์การใน อนาคต หากสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นประโยชน์ หรือเป็นปัจจัยด้านบวกหรือเอื้อ ต่อการดำเนินงานขององค์กร เราเรียกว่า โอกาส (Opportunities) หากสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นภัยคุกคาม หรือปัจจัยด้านลบต่อ ความสำเร็จขององค์การในอนาคต เราเรียกว่า อุปสรรคหรือภาวะ คุกคาม (Threats) Excellence Training Institution

24 ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่ควรพิจารณา
สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Environment) เช่น ปัจจัยเกี่ยวกับ รายได้ประชาชาติ รายได้ต่อหัวประชากร รายได้ครัวเรือน อัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ราคาน้ำมัน ราคาสินค้า เป็นต้น สิ่งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) เช่น สภาพสังคม ลักษณะ ครอบครัว ความสัมพันธ์ในชุมชน ครัวเรือน ครอบครัว เป็นต้น สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม (Cultural Environment) เช่น ค่านิยม การศึกษา การนับถือและความเชื่อศาสนา ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี การแต่งกาย การบริโภค ศิลปะ เป็นต้น สิ่งแวดล้อมประชากรศาสตร์ (Demographical Environment) เช่น อัตรา เกิด อัตราตาย การย้ายถิ่นฐานที่อยู่ ความหนาแน่นของประชากร เป็นต้น Excellence Training Institution

25 ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่ควรพิจารณา
สิ่งแวดล้อมทางการเมือง (Political Environment) เช่น นโยบายทาง การเมือง นโยบายพรรคการเมือง เสถียรภาพทางการเมือง นักการเมืองทุก ระดับตั้งแต่ระดับชาติถึงระดับท้องถิ่น การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาค ส่วน เป็นต้น สิ่งแวดล้อมด้านกฎหมาย (Legal Environment) เช่น ข้อกำหนดใน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา พระราชกำหนด กฎกระทรวง ข้อบัญญัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น สิ่งแวดล้อมภาครัฐ (Governmental Environment) ได้แก่องค์กรภาครัฐ ต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กร เช่น ส่วนราชการอื่นๆ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอิสระของรัฐอื่นๆ เป็นต้น Excellence Training Institution

26 ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่ควรพิจารณา
สิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยี (Technological Environment) เช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความรู้ในสาขาต่างๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร เป็น ต้น แนวโน้มทางการแข่งขัน (Competitive Trends) การดำเนินงานขององค์กร ซึ่งประกอบกิจการ หรือมีลักษณะงานคล้ายคลึงกับองค์กร ซึ่งส่งผลกระทบ หรือได้รับผลกระทบไม่ทางใดก็ทางหนึ่งจากการดำเนินงานของอค์กร อื่นๆ (Others) เช่นภัยธรรมชาติ ภูมิอากาศ Excellence Training Institution

27 ปัจจัยแวดล้อมภายใน หมายถึงกิจกรรมต่างๆ ภายในองค์การ ซึ่งองค์การสามารถ ควบคุมได้ และมีผลทำให้การดำเนินงานภายในองค์การประสบ ผลสำเร็จ หรือล้มเหลวได้ จุดแข็ง (Strengths) หมายถึง ลักษณะเด่นของการดำเนินงาน หน้าที่ต่างๆ ภายในองค์การ ลักษณะเช่นนี้เป็นปัจจัยเอื้อต่อ ความสำเร็จขององค์การ จุดอ่อน (Weaknesses) หมายถึง การดำเนินงานองค์การไม่ สามารถกระทำได้ดี อันเป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จขององค์การ องค์การจะต้องหาทางแก้ไขจุดอ่อนที่เกิดขึ้น Excellence Training Institution

28 ปัจจัยแวดล้อมภายในที่ควรพิจารณา (อย่างง่าย)
Man บุคลากร รวมถึงผู้บริหารขององค์กร Money งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรแล้ว Material วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยี Management ระบบบริหารจัดการทุกด้าน เช่น การบริหารงาน การเงิน พัสดุ งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น Excellence Training Institution

29 จุดมุ่งหมาย (Purpose)
หมายถึง สิ่งที่องค์การต้องการในอนาคต สามารถกำหนดได้ 4 ประการ เรียงลำดับจากการเจาะจงน้อยที่สุด ไปถึงมากที่สุด คือ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าหมาย หรือเป้าประสงค์ (Goals) วัตถุประสงค์ (Objectives) Excellence Training Institution

30 วิสัยทัศน์ (Vision) หมายถึง จินตภาพเกี่ยวกับองค์การในอนาคต เป็นการชี้ถึง ทิศทางที่องค์การต้องการจะมุ่งไป วิสัยทัศน์จะอธิบายความ ทะเยอทะยานสำหรับอนาคตขององค์การ แต่ไม่ได้ระบุถึง วิธีการที่จะนำไปสู่ความมุ่งหมายนั้นอย่างชัดเจน Excellence Training Institution

31 พันธกิจ (Mission) พันธกิจองค์การ เป็นข้อความที่เกี่ยวกับการกำหนดกิจกรรม หลัก และลักษณะงานสำคัญขององค์การ เพื่อนำไปสู่ วิสัยทัศน์ที่องค์การกำหนดขึ้น Excellence Training Institution

32 ความสำคัญในการกำหนดพันธกิจให้ชัดเจน
เพื่อให้สามารถระบุจุดมุ่งหมายภายในองค์การได้ เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากร องค์การ เพื่อกำหนดบรรยากาศทั่วไปขององค์การ เพื่อเป็นหลักสำคัญในการกำหนดจุดมุ่งหมายขององค์การและ ทิศทางขององค์การ Excellence Training Institution

33 ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
หมายถึง สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นประเด็นหลักในการนำไปสู่ วิสัยทัศน์ การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์จึงเป็นการกำหนด ประเด็นที่สำคัญที่หน่วยงานต้องดำเนินการพัฒนาเพื่อให้ สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ไม่ควรมี จำนวนมากเกินไป เนื่องจากจะทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์กระจัด กระจาย ไม่มีจุดมุ่งเน้น (Focus) Excellence Training Institution

34 เป้าประสงค์ (Goals) หมายถึง เป้าหมายต่างๆ ที่ต้องการบรรลุในแต่ละพันธกิจ หรือ ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ภายใต้กรอบการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ ซึ่งแบ่งเป็น 4 มิติ ได้แก่ 1.มิติด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ 2.ด้านคุณภาพการให้บริการ 3.ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 4.การพัฒนาองค์การ Excellence Training Institution

35 SMART Specific เฉพาะเจาะจง Measurable สามารถวัดได้
Achievement บรรลุผลได้ Realistic เป็นจริงได้ Time Frame มีกรอบระยะเวลา Excellence Training Institution

36 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning)
กลยุทธ์ เป็นรูปแบบของการกระทำซึ่งผู้บริหารใช้เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์การ เป็นกลยุทธ์ที่เป็นจริง ซึ่งองค์การได้ วางแผนไว้ และใช้โต้ตอบต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ แผนกลยุทธ์ เป็นข้อความเกี่ยวกับภารกิจ และทิศทางในอนาคต เป้าหมายการทำงานระยะสั้น และระยะยาวตลอดจนกลยุทธ์ใน การทำงาน Excellence Training Institution

37 ปัจจัยสำคัญในการกำหนดกลยุทธ์
จุดมุ่งหมายขององค์กร ซึ่งประกอบด้วย วิสัยทัศน์, พันธกิจ, เป้าประสงค์, และอาจรวมถึงนโยบาย โอกาสและอุปสรรคจากปัจจัยแวดล้อมภายนอก (External Opportunities and Threats) จุดแข็งและจุดอ่อนจากปัจจัยแวดล้อมภายใน (Internal Strengths and Weaknesses) Excellence Training Institution

38 การกำหนดกลยุทธ์ โดยใช้เทคนิค TOWS Matrix

39 ความสัมพันธ์ผัง SWOT และกลยุทธ์ทางเลือก (TOWS) “การกำหนดกลยุทธ์เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อม SWOT”
W+O = Off-set approach กลยุทธ์ “ทดแทน” แก้ไขจุดอ่อนเพื่อ ใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์การ (เชิงพัฒนา) S+O = Matching approach กลยุทธ์ “ผนึกพลัง” เพื่อใช้จุดแข็ง เปิดโอกาสใหม่ทางการแข่งขัน (เชิงรุก) W+T = Mitigation approach กลยุทธ์ “บรรเทา” เพื่อหาทางแก้ไขจุด อ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคามที่บดบังวัตถุ- ประสงค์ขององค์การ (เชิงพลิกแพลง) S+T = Covering approach กลยุทธ์ “โอบล้อม” การอาศัยจุดแข็ง ต้านและตรึงภาวะคุกคามที่มีต่อวัตถุ- ประสงค์ขององค์การ (เชิงรับ) Excellence Training Institution

40 ตัวอย่างตาราง TOWS Matrix
ปัจจัยแวดล้อมภายนอก ปัจจัยแวดล้อมภายใน โอกาส (O) จำนวนประชากรในพื้นที่มาก โรงพยาบาลได้เงินจัดสรรมากขึ้น (๒.๗๐) นโยบายการเมืองทำให้การทำงานกับเครือข่าย อสม., อปพร., EMS เป็นไปอย่างคล่องตัว (๒.๕๐) นโยบายการพัฒนาคุณภาพทำให้ รพ.ต้องพัฒนาคุณภาพมากขึ้น (๒.๓๐) นโยบายรักษาฟรีส่งผลให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่ายขึ้น (๒.๓๐) การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรวดเร็ว ทำให้การสืบค้นข้อมูลข่าวสารทำสะดวก และสามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างปีประสิทธิภาพ (๒.๑๕) อุปสรรค (T) วิถีชีวิตและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ เช่น ยาเสพติด การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (๓.๐๐) พฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพ (๒.๙๘) สัดส่วนประชากร ต่อเจ่าหน้าที่ไม่สมดุล ทำให้การดูแลไม่ทั่วถึง (๒.๙๘) การเกิดโรคเรื้อรังมากขึ้นทำให้สูญเสียงบประมาณในการดูแล (๒.๗๗) จุดแข็ง (S) ผู้บริหารให้การสนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบัติงานทำให้งานบรรลุตามเป้าหมายด้วยดี (๒.๘๐) มีการพัฒนาระบบควบคุมภายในและระบบคุณภาพ เช่น HA, PMQA, ๕ส, QA ในโรงพยาบาล (๒.๗๗) บุคลากรให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (๒.๗๗) การจัดโครงสร้างองค์กรชัดเจน ทำให้เกิดการทำงานที่เป็นระบบ และมีการประสานงานที่ดี (๒.๕๘) กลยุทธ์ SO กลยุทธ์ ST จุดอ่อน (W) การพัฒนาความรู้และทักษะเจ้าหน้าที่บางส่วนยังไม่ครอบคลุม (๒.๘๗) อาคารสถานที่บางส่วนมีปัญหา เช่นห้องน้ำ และอาคารผู้ป่วยมีจำนวนไม่เพียงพอ (๒.๗๗) ระบบการดูแลผู้ป่วยซึ่งเป็นสหสาขาวิชาชีพยังไม่มีประสิทธิภาพ ๒.๗๗) กลยุทธ์ WO กลยุทธ์ WT

41 การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ(Strategic Implementation)

42 การปฏิบัติตามกลยุทธ์
เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ (Intended Strategy) ให้เป็นกลยุทธ์ที่เป็นจริง (Realized Strategy) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ ให้เป็นการปฏิบัติ และผลลัพธ์ Excellence Training Institution

43 The McKinsey 7’S framework
โครงสร้าง (Structure) กลยุทธ์ (Strategy) ระบบ (Systems) ค่านิยมร่วม (Shared Value) ทักษะ (Skills) รูปแบบการบริหาร (Style) คนหรือพนักงาน (Staff) Excellence Training Institution

44 ปัจจัยพิจารณาตาม 7’S Strategy กลยุทธ์หลักขององค์กร
Structure โครงสร้างทางการบริหาร Systems ระบบต่างๆ ในองค์การ Style รูปแบบการบริหาร Staff บุคลากร Skills ทักษะการปฏิบัติงาน Shared Value ค่านิยมร่วม Excellence Training Institution

45 The McKinsey 7’S framework: Waterman
กลยุทธ์หลักขององค์กร (Strategy) หมายถึงแนวทางการ ดำเนินงานองค์การที่จะตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อม โดยเฉพาะสถานการณ์ปัจจุบันที่กลยุทธ์จะมี ความสำคัญต่อการดำเนินงานและความอยู่รอดอย่างเข้าใจ และ มีเป้าหมายที่ชัดเจน โครงสร้างทางการบริหาร (Structure) หมายถึงตำแหน่งงาน อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ขอบเขตการควบคุม และการ รวมหรือการกระจายอำนาจในการตัดสินใจภายในองค์การ

46 The McKinsey 7’S framework: Waterman
ระบบต่างๆ ในองค์การ (Systems) หมายถึงระเบียบวิธี กระบวนการ และขั้นตอนการดำเนินงานทั้งในลักษณะที่เป็น ทางการและไม่เป็นทางการขององค์การ โดยที่ระบบจะแสดงถึง ประสิทธิภาพในการดำเนินงานและการประสานงานภายใน องค์การ และต้องเกี่ยวข้องเกื้อหนุนกลยุทธ์และโครงสร้างของ องค์การ รูปแบบการบริหาร (Style) หมายถึงลักษณะของการจัดการและ การบริหารงานของผู้บริหาร เช่น การติดต่อ สื่อสาร การตัดสินใจ และการเป็นผู้นำ

47 The McKinsey 7’S framework: Waterman
บุคลากร (Staff) หมายถึงการดำเนินงานด้านทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะการจัดบุคคลให้เหมาะสมกับงานและการสร้าง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานซึ่งช่วยให้เกิดความเหมาะ สมของ บุคคลกับปัจจัยอื่นๆ ทักษะการปฏิบัติงาน (Skills) หมายถึงความสามารถหรือความ ชำนาญเฉพาะขององค์การ เช่น การบริหารงาน การจัดการและ ควบคุมทางการเงิน หรือการสร้างนวัตกรรม เป็นต้น

48 The McKinsey 7’S framework: Waterman
ค่านิยมร่วม (Shared Value) หมายถึง เป้าหมายสูงสุด (Super Ordinate Goal) ที่เป็นปรัชญาหรือความเชื่อพื้นฐานของทุกคน ใช้เป็นหลักพื้นฐานหรือจุดเริ่มต้นของแต่ละระบบ โครงการ การ ถูกถ่ายทอด และปลูกฝังอยู่ในตัวตน

49 การควบคุมกลยุทธ์ เป็นกระบวนการพิจารณาว่ากลยุทธ์ได้บรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์หรือไม่ถ้ากระทำเช่นนั้น และมีการ ปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา ผู้กำหนดกลยุทธ์จะประเมินผลกระทบของกลยุทธ์และ การตอบสนองที่เหมาะสม เป็นกระบวนการในการจัดการ ซึ่งต้องตรวจสอบแผนกล ยุทธ์ และการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ให้เหมาะสม Excellence Training Institution

50 ขั้นตอนสำคัญในการควบคุมกลยุทธ์
การจัดตั้งมาตรฐาน (Establishment of standards) การวัดผลการปฏิบัติงาน (Measurement of Performance) การเปรียบเทียบ (Comparison of performance with standard) การดำเนินการแก้ไข (Taking corrective action) Excellence Training Institution

51 ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก: (Key Performance Indicators: KPIs)
แสดงถึงค่าที่วัดจากการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริงเพื่อเทียบกับ เป้าหมายที่ตั้งไว้ เป็นเครื่องวัดผลงานที่สัมพันธ์กับ CSFs /KRAs สามารถวัดได้เป็นเชิงปริมาณ สามารถแสดงถึงแนวโน้มของข้อมูลสำหรับการพัฒนาและ ปรับปรุง Excellence Training Institution

52 ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors: CSFs)
แสดงถึงหลักหมายที่จะทำให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ ช่วยชี้แนวทางในการปฏิบัติงานที่มีความชัดเจนทั้งในระดับปฏิบัติการด้านผลงานหลัก ไม่จำเป็นต้องสามารถวัดได้หมด แต่สามารถทำหน้าที่ในการให้แนวทาง หลักการ หรือกระบวนการแก่องค์การเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์

53 ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ: CSFs
กำหนดจากวิสัยทัศน์ หรือพันธกิจขององค์กร โดยใช้เกณฑ์ต่อไปนี้ มุ่งความสำคัญไปที่ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือวัตถุประสงค์ขององค์กร มีความหมายที่เฉพาะเจาะจงและสามารถเข้าใจง่าย ผู้บริหารให้การยอมรับ องค์กรสามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ

54 ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas – KRAs)
หมายถึง ผลผลิต หรือผลลัพธ์สำคัญของการปฏิบัติ งาน หรือ เป็นสิ่งที่ผู้บังคับบัญชาคาดหวังจากการปฏิบัติงานในแต่ละงาน มากที่สุด เพราะฉะนั้นหากปฏิบัติงานแล้วไม่สามารถทำให้ เกิดผลสัมฤทธิ์หลักที่คาดหวังได้ หมายความว่า การปฏิบัติงาน นั้นล้มเหลว หรือไม่เป็นไปตามเป้าหมาย Excellence Training Institution

55 ลักษณะตัวชี้วัด จำนวนนับ: จำนวนครั้งของความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน
ค่าเฉลี่ย: ระดับความพึงพอใจไม่ต่ำกว่า 3.50 จากเสกล 1 - 5 อัตรา หรือร้อยละ: ร้อยละของประชาชนในพื้นที่ได้รับการ ตรวจคัดกรองโรคเรื้อรัง, อัตราการตายของผู้ป่วยลดลง สัดส่วน: อุบัติการณ์ 1:100,000 ประชากร ระดับความสำเร็จ: ระดับความสำเร็จของการจัดทำตัวชี้วัด ระดับบุคคล Excellence Training Institution

56 จุดเด่นของ BSC. เป็นเครื่องมือใหม่ที่สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เป็นวิสัยทัศน์ และ พันธกิจขององค์กร ไปสู่ระดับล่าง หรือทุกระดับขององค์กรได้ ดีกว่าการจัดทำแผนกลยุทธ์แบบเดิม เป็นการวัดผลสำเร็จขององค์กรที่สามารถมองได้ 2 มิติที่สมดุล กัน คือมิติด้านการเงิน และมิติที่ไม่ใช่การเงิน สามารถช่วยให้กลยุทธ์ดำเนินไปสู่ความสำเร็จ โดยมีการ ทบทวนเป็นรายเดือน และดูภาพรวมในรายไตรมาส Excellence Training Institution

57 The KPIs/BSC Model: (กพร.)
การวัดด้านประสิทธิภาพ การวัดด้านการเรียนรู้ และการเติบโต (ด้านพัฒนาองค์กร) แนวคิดของ KPIs/BSC การวัดด้านคุณภาพ การให้บริการ การวัดด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (ผลการดำเนินงาน) Excellence Training Institution

58 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ประสิทธิผลตามพันธกิจ: ได้แก่ผลลัพธ์สำคัญจากประเด็น ยุทธศาสตร์ และสิ่งบ่งชี้สำคัญว่าประเด็นยุทธศาสตร์นั้นประสบ ความสำเร็จ คุณภาพการให้บริการ: สิ่งที่ผู้รับบริการของยุทธศาสตร์นั้น ต้องการ และสิ่งที่ยืนยันว่าองค์กรสามารถนำเสนอในสิ่งที่ ผู้รับบริการต้องการ Excellence Training Institution

59 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ประสิทธิภาพการจัดการ: ในการเสนอสิ่งที่ผู้รับบริการต้องการ และ/หรือการก่อให้เกิดประสิทธิผล องค์กรต้องการทรัพยากร อะไรบ้าง (นอกเหนือจากบุคลากร) รวมถึงกระบวนการ หรือ กิจกรรมเพื่อนำไปสู่คุณภาพบริการ และประสิทธิผลตามพันธกิจ ที่องค์กรต้องการ พัฒนาองค์กร: จะต้องมีการพัฒนาองค์กรด้านใดบ้าง เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมเพื่ออนาคต ในการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ Excellence Training Institution

60 แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
คือแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงยุทธศาสตร์ขององค์กร ในรูปแบบ ของความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล (Cause-and-Effect Relationship) กล่าวคือเป็นความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์ (Outcome) ที่องค์การปรารถนา ในมุมมองด้านต่างๆ ทั้ง ๔ มิติ Excellence Training Institution


ดาวน์โหลด ppt การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google