ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
2
หัวข้อการนำเสนอ สถานการณ์ ผลการดำเนินงานสำคัญ 6 เดือนแรก
ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค แนวทาง/แผนงานในช่วง 6 เดือนหลัง ผลงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี
3
ที่มา: การสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มนักเรียน, สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
4
อายุเฉลี่ยของนักเรียน เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
ที่มา: การสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มนักเรียน, สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
5
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
ที่มา: การสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มนักเรียน, สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
6
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับคู่รัก
ที่มา: การสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มนักเรียน, สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
7
ร้อยละของหญิงคลอด พ.ศ. 2546-2557
หมายเหตุ : ร้อยละของหญิงคลอด = จำนวนหญิงคลอดในช่วงอายุนั้น x 100 จำนวนหญิงคลอดทั้งหมด ที่มา : ข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (ปรับปรุงข้อมูลโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559) 7
8
อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน
ที่มา : 1. สถิติสาธารณสุข ปี พ.ศ 2. ข้อมูลหญิงคลอด อายุ ปี และข้อมูลประชากรกลางปี พ.ศ จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์ข้อมูลโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (ปรับปรุงข้อมูลโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559)
9
(ปรับปรุงข้อมูลโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559)
สถานการณ์ที่สำคัญ อัตราการคลอดของหญิง อายุ ปี ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน : ปี 2557 รายจังหวัด รายเขตสุขภาพ (ปรับปรุงข้อมูลโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559)
10
ร้อยละของการคลอดซ้ำในวัยรุ่น จำแนกตามกลุ่มอายุของแม่ ปี 2553 – 2557
หมายเหตุ 1. จำนวนการคลอดทั้งหมด ปี พ.ศ จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 2. วิเคราะห์และรายงานโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย (ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559)
11
อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 15-24 ปี
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค **โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้รับรายงานคือ หนองใน , หนองในเทียม , แผลริมอ่อน , กามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง (แก้ไขข้อมูล ณ วันที่ 7 กันยายน 2558)
12
การแท้งในประเทศไทย ปี 2557
สำรวจในโรงพยาบาลทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 13 จังหวัด ผู้ป่วยแท้งเข้ารับการรักษาและยินยอมตอบแบบสอบถาม จาก รพ. 243 แห่ง จำนวน 1,710 ราย แท้งเอง ร้อยละ 59.7 ทำแท้ง ร้อยละ 40.3 ทำแท้งที่มีเหตุผลด้านสุขภาพ 30.8 ทำแท้งที่มีเหตุผลด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ครอบครัว 69.2 เฉพาะผู้ทำแท้ง เชื่อมต่อในสไลด์ต่อไป ที่มา :สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 2557
13
การทำแท้งที่มีเหตุผล ทางด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ครอบครัว
ร้อยละของผู้ป่วยที่ทำแท้งจำแนกตามช่วงอายุ ร้อยละ 36.1 มีสถานภาพ นักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 30.0 อายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 57.5 อายุต่ำกว่า 25 ปี ที่มา :สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 2557
16
กรอบแนวคิดการพัฒนาสุขภาพคนตลอดช่วงชีวิต : กลุ่มวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2559
เป้าหมาย KPI กระทรวง 1. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ ปี พันคน ภายในปี 2561 2. ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 – 19 ปี (ไม่เพิ่มขึ้นจากผลBSS ในปี 2558) ผลผลิต ผลักดันการบังคบใช้กฎหมายเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพวัยรุ่น วัยรุ่นเข้าถึงความรู้ในการป้องกันตนเอง โดยเฉพาะวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง การเชื่อมต่อระบบสถานบริการสาธารณสุขกับสถานศึกษาและชุมชนในการจัดบริการให้กับวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดบริการสุขภาพวัยรุ่น โดยเน้นการบังคับใช้กฎหมายเพื่อวัยรุ่นปลอดภัยจากพฤติกรรมเสี่ยง มาตรการ : การบังคับใช้กฎหมาย เพื่อให้วัยรุ่นปลอดภัยจากปัญหาทางเพศ และแอลกอฮอล์ สารเสพติด ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาระบบบริหารจัดการร่วมกับ DHS เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มวัยรุ่น มาตรการ : การบูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบ DHS โดยมีการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพวัยรุ่น มีทีม Teen Manager ระดับเขต/จังหวัด ในการขับเคลื่อนงาน เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงและใช้บริการได้อย่างทั่วถึง ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การจัดบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมและเข้าถึงวัยรุ่นทุกกลุ่มในสถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา และชุมชน มาตรการที่ 1 : จัดบริการเชิงรุกสู่สถานศึกษา เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต เพศศึกษารอบด้าน สนับสนุนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน มาตรการที่ 2 : จัดบริการที่เป็นมิตรสอดคล้องกับความต้องการและบริบทของวัยรุ่น รวมถึงการให้บริการคุมกำเนิดในแม่วัยรุ่น มาตรการที่ 3 : จัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน เน้นการจัดพื้นที่สร้างสรรค์ที่วัยรุ่น และเยาวชนมีส่วนร่วม และการจัดพื้นที่เรียนรู้ของพ่อแม่ (โรงเรียนพ่อแม่/การสื่อสารระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครอง กับลูกหลานวัยรุ่น)
17
กรอบการพัฒนาสุขภาพคนตลอดช่วงชีวิต : กลุ่มวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2559
กรอบการพัฒนาสุขภาพคนตลอดช่วงชีวิต : กลุ่มวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2559 เป้าหมาย : วัยรุ่นไทยสดใส ห่างไกลสิ่งเสพติด ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีจิตสาธารณะ คลินิกบริการที่เป็นมิตร Psychosocial Clinic ระบบส่งต่อ
18
ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2560-2569
ร่าง ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ เป้าหมาย ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยพิจารณาจากการลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นลงครึ่งหนึ่งภายในพ.ศ เมื่อเทียบกับพ.ศ. 2558
19
แนวคิดหลักของยุทธศาสตร์
การเสริมสร้างการบูรณาการความร่วมมือของหน่วยราชการและภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคม การพัฒนาวัยรุ่นเชิงบวก มุ่งสร้างสุขภาวะแก่วัยรุ่น โดยสร้างความเข้มแข็งแก่ผู้ใหญ่และชุมชน เพื่อจัดการกับปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมปัจจัยบวกที่มีผลต่อพัฒนาการของวัยรุ่นไปพร้อมๆ กัน ให้ความรู้ คำแนะนำและช่วยเหลือวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์และครอบครัวให้สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข เพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มีการติดตามสถานการณ์ปัญหา รวมทั้งมีการกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
20
วัตถุประสงค์ 1.วัยรุ่นมีความรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต
9.รณรงค์สื่อสารเพื่อให้เกิดวัฒนธรรม ค่านิยมที่ส่งเสริมสุขภาวะทางเพศ 8. พ่อแม่วัยรุ่นได้รับสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสมรวมถึงการฝึกอาชีพและการได้ งานทำ 2. ครอบครัวมีทัศนคติเชิงบวกและมีบทบาทในการสื่อสารเรื่องเพศกับ บุตรหลาน 7.พ่อแม่วัยรุ่นได้รับความช่วยเหลือในการจัดหาครอบครัวทดแทนอย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ในกรณีที่ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ วัตถุประสงค์ 3. วัยรุ่นในระบบการศึกษาที่ตั้งครรภ์ได้รับความช่วยเหลือจากสถานศึกษา และครอบครัวให้สามารถศึกษาต่อเนื่องได้ 6.พ่อแม่วัยรุ่นได้รับคำแนะนำและการช่วยเหลือเกี่ยวกับการดูแลเลี้ยงดูบุตรอย่างมีคุณภาพ 4. วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ได้รับการปรึกษาทางเลือก สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ 5. วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ได้รับบริการที่เป็นมิตรและถูกต้องตามหลักวิชาการ
21
ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต แก่วัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมบทบาทครอบครัวและชุมชนในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศ ของวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัย การเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบช่วยเหลือ คุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสื่อสารสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาวะทางเพศ ในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนากลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในทุกระดับ
22
นโยบาย / ระบบเฝ้าระวัง/ การติดตามและประเมินผล
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สถานศึกษา มีการสอนเพศวิถีศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน พัฒนาแกนนำวัยรุ่น เป้าหมาย 1.ชะลอการมีเพศสัมพันธ์ 2.เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย 3.การตั้งครรภ์ที่พร้อม สถานบริการสาธารณสุข อปท. / ครอบครัว / ชุมชน มีฐานข้อมูล แผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ มีการจัดบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน มีระบบการดูแล/ส่งต่อ เชื่อมโยง ทุกระดับ มีแผนดำเนินการ สนับสนุนทรัพยากร มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัย การเจริญพันธุ์ การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ครอบครัวมีการสื่อสารเรื่องเพศ พื้นที่เรียนรู้สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง จากกรอบแนวทางการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ของ WHO ซึ่งเน้นว่าการส่งเสริมให้วัยรุ่นมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี ต้องเน้นอยู่ใน setting สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว / ชุมชน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วม โดยที่สถานศึกษามีบทบาท การสอนเพศวิถีศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และพัฒนาแกนนำวัยรุ่น สถานบริการสาธารณสุข มีฐานข้อมูล แผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS) และมีระบบการดูแล/ส่งต่อ เชื่อมโยง ทุกระดับ ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนดำเนินการ การสนับสนุนทรัพยากร มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม และครอบครัวมีการสื่อสารเรื่องเพศ นโยบาย / ระบบเฝ้าระวัง/ การติดตามและประเมินผล
23
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 - มีนาคม 2559)
24
กรมอนามัยรอบ 6 เดือน ปีงบประมาณ พ.ศ.2559
คะแนนผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดด้านมิติประสิทธิผล ตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) กรมอนามัยรอบ 6 เดือน ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนน ที่ได้ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวง และนโยบายสำคัญ 2.8250 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 5 47.9 (ข้อมูล ปี 2557) 1.0000 0.0500 ตัวชี้วัดที่ 1.6 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) ฉบับบูรณาการ 9 68.54 3.0000 0.2700
25
ผลการดำเนินงานโครงการ
ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ. รพท. รพช.) ที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS (สะสม) แยกรายเขตสุขภาพ เป้าหมาย ร้อยละ 75 (ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2559)
26
ร้อยละของอำเภอที่ผ่านการประเมิน
เกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ (ปี พ.ศ ) (ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2559)
27
การส่งเสริมการเข้าถึงบริการ
การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น ได้ร่วมดำเนินการกับ สปสช. โดย สปสช. ได้สนับสนุนให้หน่วยบริการได้รับค่าตอบแทนในการให้บริการวิธีคุมกำเนิดชนิดห่วงอนามัย จำนวน 800 บาท ฝังยาคุมกำเนิด จำนวน 2,500 บาท เมื่อให้บริการกับวัยรุ่นทุกสิทธิที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่ต้องการคุมกำเนิด หลังคลอดและหลังแท้ง การให้บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยาในระบบบริการสุขภาพ (Medical abortion) การให้บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยาในระบบบริการสุขภาพ ได้ผลักดันยายุติการตั้งครรภ์ Medabon ได้ขึ้นทะเบียนยาเมื่อเดือนธันวาคม 2557
28
ร้อยละของวัยรุ่นอายุ ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดหลังคลอด หรือแท้งด้วยวิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร (ห่วงอนามัยและยาฝังคุมกำเนิด) ปีงบประมาณ 2559 รอบ 6 เดือน (ต.ค. – มี.ค.) ร้อยละ KPI ร้อยละ 80 หมายเหตุ :: เฉพาะ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่งเท่านั้น วันที่ประมวลผล :: 30 มีนาคม 2559 **เป็นปีแรกของการดำเนินงานเก็บข้อมูลโดยระบบ HDC ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
30
ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ปีงบประมาณ 2559 รอบ 6 เดือน (ต.ค. – มี.ค.)
KPI ร้อยละ 10 หมายเหตุ :: เฉพาะ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่งเท่านั้น วันที่ประมวลผล :: 30 มีนาคม 2559 **เป็นปีแรกของการดำเนินงานเก็บข้อมูลโดยระบบ HDC ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
31
ระบบข้อมูล การเฝ้าระวัง
การจัดทำระบบฐานข้อมูลวัยรุ่นและอนามัยการเจริญพันธุ์ (Reproductive Health Database) ดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังการแท้ง เริ่มตั้งแต่ พ.ศ ปัจจุบันมีพื้นที่ดำเนินการ 24 จังหวัดได้แก่ 1. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. จังหวัดสระบุรี จังหวัดชลบุรี 4. จังหวัดสมุทรปราการ 5. จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครราชสีมา 7. จังหวัดขอนแก่น 8. จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดนครสวรรค์ 10. จังหวัดพิษณุโลก 11. จังหวัดเชียงราย จังหวัดนครศรีธรรมราช 13. จังหวัดสงขลา 14. จังหวัดกระบี่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 16. จังหวัดระยอง 17. จังหวัดจันทบุรี จังหวัดบุรีรัมย์ 19. จังหวัดสุรินทร์ 20. จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดน่าน 22. จังหวัดแพร่ 23. จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี - การเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
32
การศึกษาวิจัย -การศึกษาวิจัยเรื่องการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น -การให้บริการวางแผนครอบครัว
33
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 แผนงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการ การตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย
34
ปัญหา / อุปสรรค การดำเนินงาน
(ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น) แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ปัญหาวัยรุ่นมีความซับซ้อน เกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย และหลายภาคส่วน -มาตรการทางกฎหมายเพื่อให้ทุกภาคส่วนมีอำนาจในการดำเนินงาน -การกำหนดยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นให้ชัดเจน สำหรับการดำเนินงานขับเคลื่อนในแต่ละภาคส่วน หน่วยงานที่รับผิดชอบมีหลากหลาย ขาดการ บูรณาการทำงาน การสื่อสารนโยบายระดับประเทศไปสู่ผู้ปฏิบัติในระดับพื้นที่ กำหนดมาตรการสื่อสารไปสู่ผู้ปฏิบัติอย่างชัดเจน การกำหนดตัวชี้วัดที่ไม่สะท้อนผลการดำเนินงานในปัจจุบัน การกำหนดตัวชี้วัดในทางปฏิบัติที่สามารถวัดผลการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ได้ และทันเวลา
35
แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ
ปัญหา/อุปสรรค (YFHS) แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ โรงพยาบาลขาดการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่นที่ต่อเนื่อง ขาดการเก็บรวบรวมข้อมูลที่สำคัญของวัยรุ่นและเยาวชน และการทำงานแบบบูรณาการในพื้นที่ ส่วนกลาง พัฒนาทีมผู้เยี่ยมประเมินระดับเขตให้สามารถเยี่ยมประเมินและให้ข้อเสนอแนะ/ที่ปรึกษาแก่โรงพยาบาล พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้ในการกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ระดับเขต และจังหวัด ทำความเข้าใจแนวคิด หลักการการดำเนินงานตามมาตรฐาน YFHS และอำเภอRH แก่พื้นที่ทุกระดับ (ทุกช่องทาง วิเคราะห์ การประเมินความพึงพอใจ ) ทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและทำความเข้าใจเรื่องตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ควรดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จัดเวทีวิชาการเพื่อ ช่วยกระตุ้นให้โรงพยาบาลมีแนวคิดการพัฒนาคุณภาพบริการสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนทั้งในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และชุมชนแบบบูรณาการ
36
แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ
ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ 2. มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงานทั้งระดับจังหวัดและโรงพยาบาล บุคลากรในระดับโรงพยาบาล ขาดทักษะ ในการดำเนินงาน เช่น การให้การปรึกษาวัยรุ่น การเชื่อมโยงระบบบริการ การประสานและส่งต่อเครือข่าย การจัดบริการใส่ห่วงอนามัยและยาฝังคุมกำเนิด - การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ส่วนกลาง สำรวจหาความต้องการในประเด็นการพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานในระดับโรงพยาบาล จัดอบรมผู้ให้บริการ ตามการร้องขอ โดยส่วนกลางสนับสนุนวิทยากร เอกสารประกอบการประชุม ประสานหน่วยคะแนนจากสภาการพยาบาล จัดอบรมการใส่ห่วงอนามัยและยาฝังคุมกำเนิด ระดับเขต และจังหวัด ควรจัดให้มีกระบวนการสอนงาน แนะนำ ถ่ายทอด และ เป็นที่ปรึกษา (Coaching) ในการดำเนินงาน YFHS และอำเภอ RH ภายในเขต ควรแสวงหาแหล่งทุน/งบประมาณในการจัดอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตร การอบรมเพศคุยได้ในครอบครัวในพื้นที่ จากเขตสุขภาพ
37
แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ
ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ 3.ทีมประเมินระดับเขต (3 กรมวิชาการ) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพแล้ว ไม่สามารถออกเยี่ยมประเมิน YFHSและอำเภอRH แบบบูรณาการร่วมกัน เพราะมีภาระงานมากและเวลาที่ไม่ตรงกัน มีกระบวนการการเยี่ยมประเมินที่ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และบางเขตสรุปรายงานส่งส่วนกลาง ไม่ทันตามระยะเวลาที่กำหนด ส่วนกลาง พัฒนาศักยภาพทีมเยี่ยมประเมิน YFHS ร่วมกัน 3 กรมเป็นประจำทุกปี จัดอบรมผู้เยี่ยมประเมิน YFHS เพื่อเพิ่มจำนวนทีมเยี่ยมประเมิน YFHS ทั้ง 3 กรม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเยี่ยมประเมินโรงพยาบาลร่วมกัน เพื่อเรียนรู้ปัจจัยความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคร่วมกัน ระดับเขตและจังหวัด ศูนย์อนามัย สคร. และศูนยฺสุขภาพจิต วางแผนการดำเนินงานและกำหนดระยะเวลาเยี่ยมประเมินร่วมกัน โครงการอื่นๆ
38
แนวทางการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง
39
กลไกด้านกฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์ การศึกษาวิจัยและ ระบบการเฝ้าระวัง
การขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 นโยบายและยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ กลไกด้านกฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์ การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย การอบรมการใส่ห่วงอนามัยและยาฝัง คุมกำเนิด YFHS การสื่อสารเรื่องเพศ ส่งเสริมบทบาท อปท. การเข้าถึงบริการ พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ การเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การเฝ้าระวังการแท้ง การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการการมีส่วนร่วมของ อปท. การศึกษาวิจัยและ ระบบการเฝ้าระวัง
40
โครงการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์
โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตร และพัฒนาภาคีเครือข่ายอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน ประเมินผลการดำเนินงาน/ถอดบทเรียน โรงพยาบาลที่มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรตามมาตรฐาน YFHSและเครือข่าย พัฒนาสื่อ/หุ่นจำลองที่เหมาะสมในการให้ความรู้และบริการแก่วัยรุ่น เยี่ยมประเมิน YFHS และ อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และจัดทำแนวทาง re-accreditaion สำหรับรพ.ที่ผ่านการประเมินครบ 3 ปี โครงการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพวิทยากรการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ระดับเขต 9-10 มิถุนายน 2559 การนำคู่มือการสื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว ไปทดลองใช้ ตุลาคม - พฤศจิกายน 2559
41
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
Best practice อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS ศูนย์อนามัย YFHS อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่ รพ. เสริมงาม จ.ลำปาง อ.วังเหนือ จ.ลำปาง ศูนย์อนามัยที่ 3 นครสวรรค์ รพ.วชิรบารมี จ.พิจิตร อ.วชิรบารมี จ.พิจิตร ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี รพ.บ้านนา จ.นครนายก อ.บ้านนา จ.นครนายก ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี รพ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี รพ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น รพ.หนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ อ.หนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี รพ.หนองแสง จ.อุดรธานี อ.หนองแสง จ.อุดรธานี ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา รพ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ อ.พลับพลาชัย จ.บุรีรัมย์ ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี รพ.50 พรรษามหาวชิราลงกรณ์ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี อำเภอเมืองอุบลราชธานี ศูนย์อนามัยที่11นครศรีธรรมราช รพ.เหนือคลอง จ.กระบี่ อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา รพ.สตูล จ.สตูล อ.เมืองสตูล อำเภอเมืองปัตตานี ศูนย์อนามัยที่ 13 กรุงเทพฯ อ.ไชโย จ.อ่างทอง
42
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.