ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChristian Lars-Olof Blomqvist ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment - ITA) อาจารย์วีระชน เปรมศรี อาจารย์ศราวุฒิ สำรวมดี
2
ITA คืออะไร ? เนื้อหาส่วนที่ 1 ITA 2560
Integrity and Transparency Assessment: ITA
3
(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA)
4
ที่ครอบคลุมการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐในทุกมิติ
การประเมินภายในองค์กร การประเมินภายนอกองค์กร แบบสำรวจใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence - Based) แบบสำรวจความคิดเห็นภายใน (Internal) แบบสำรวจความคิดเห็นภายนอก (External) การประเมิน ในเชิงบวก
5
พัฒนาการ+การดำเนินการปี 52-60
เนื้อหาส่วนที่ 2 พัฒนาการ+การดำเนินการปี 52-60 ITA 2560 Integrity and Transparency Assessment: ITA
6
ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA
Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี ลงนาม MOU กับคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (ACRC) เพื่อพัฒนาโครงการต่อต้านการทุจริตร่วมกัน ศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างเครื่องมือวัดระดับการทุจริตและเพื่อพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใส ผลการนำร่องทดลองใช้เครื่องมือดังกล่าว นำมาสู่การพัฒนากรอบแนวคิดในการประเมินความโปร่งใส เริ่มนำร่องทดลองใช้เครื่องมือดัชนีวัดความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Transparency Index) 8 หน่วยงาน (ราชการส่วนกลาง)
7
ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA
Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2554 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติให้บูรณาการเครื่องมือการประเมินที่ใช้ในการต่อต้านการทุจริตทั้ง 2 เครื่องมือ Transparency Index + Integrity Assessment การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)”
8
ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA
Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี นำเครื่องมือ ITA มาทดลองใช้ครั้งแรก โดยมีหน่วยงานภาครัฐนำร่อง 4 ประเภท คือ ราชการส่วนกลาง(2) ราชการส่วนภูมิภาค(2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(2) และรัฐวิสาหกิจ(2) รวมทั้งสิ้น 8 หน่วยงาน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้นำระบบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ไปปฏิบัติในปี พ.ศ
9
ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA
Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี พ.ศ สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ท. และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้ดำเนินการประเมินหน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศ จำนวน 8,197 หน่วยงาน พ.ศ สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ดำเนินการ ดำเนินโครงการอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรก มีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 259 หน่วยงาน พ.ศ สำนักงาน ป.ป.ช. และ สำนักงาน ป.ป.ท ได้ดำเนินการประเมิน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐจำนวน 426 หน่วยงาน
10
ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA
Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2560 สำนักงาน ป.ป.ช. กำกับติดตามการประเมิน องค์กรอิสระ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ สำนักเลขาธิการ ส.ส. ส.ว. สำนักงาน ป.ป.ท. กำกับติดตามการประเมิน หน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง หน่วยงานภาครัฐส่วนภูมิภาค กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น กำกับติดตามการประเมิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กำกับติดตามการประเมิน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ รวมจำนวน 8,297 หน่วยงาน
11
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3
ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต ZERO TOLERANCE & CLEAN THAILAND สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อ การทุจริต ยกระดับเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย CPI ? 50 พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต ยกระดับคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริตของประเทศไทย (CPI)
12
ความสำคัญของ ITA เนื้อหาส่วนที่ 3 ITA 2560
Integrity and Transparency Assessment: ITA
13
CPI CPI หมายถึง ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index) คือ ค่าคะแนนการรับรู้การทุจริตของ แต่ละประเทศซึ่งสะท้อนมุมมองต่อสถานการณ์และ ความรับรู้จากข้อมูลและประสบการณ์จริงที่เกิดขึ้นในประเทศนั้นๆ ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index - CPI) เช่น นโยบายทางเศรษฐกิจ การบังคับใช้กฎหมาย ปัญหาการทุจริต ประสิทธิภาพในการบริหารประเทศของรัฐบาล โดยกระบวนการรวบรวมข้อมูลและประมวลผลค่าคะแนนจากผลการประเมินของแหล่งข้อมูลที่มีเชื่อถือ และมีความเป็นสากลจำนวนรวมทั้งหมด 12 แหล่ง สำหรับประเทศไทยใช้ผลการประเมินจาก 8 แหล่ง ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International-TI)
14
ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชันของไทย ปี 2538 - 2559
2558 38 (เต็ม 100) 76 168 2559 35 (เต็ม 100) 101 176
15
ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่น (CPI 2015)
อันดับที่ 12 ในเอเชีย อันดับที่ 3 ในอาเซียน
16
ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน (CPI 2016)
อันดับที่ 16 ในเอเชียแปซิฟิก อันดับที่ 5 ในอาเซียน COUNTRY SCORE RANK Singapore 84 7 Brunei 58 41 Malaysia 49 55 Indonesia 37 90 Philippines 35 101 Thailand Vietnam 33 113 Laos 30 123 Myanmar 28 136 Cambodia 21 156
17
หนังสือแจ้งมติ ครม. เรื่องการประเมิน ITA
18
หนังสือแจ้งมติ ครม. เรื่องการประเมิน ITA (ต่อ)
19
มติสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
ITA มติสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ Integrity and Transparency Assessment: ITA ทุกหน่วยงานจะต้องมีการประเมินตนเอง ผ่านโครงการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ และนำผลการประเมินไปวิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน
20
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.