งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

2 Mount Everest

3 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) ยอดเขาเอเวอเรสต์ตั้งอยู่บริเวณจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต(จีน)

4 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย โดยแนวเทือกเขาหิมาลัยซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย

5 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย โดยแนวเทือกเขาหิมาลัยซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย

6 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย โดยแนวเทือกเขาหิมาลัยซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย

7 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) - ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต(จีน)

8 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) - เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย
- เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก โดยสูง 8,848 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล - ยอดเขาเอเวอเรสต์ตั้งอยู่จุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต(จีน) - ยอดเขาเอเวอเรสต์ตั้งอยู่ในแนวที่เกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย

9 ยอดเขาเอเวอเรสต์(Mount Everest) - เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย
- เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก โดยสูง 8,848 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล - ยอดเขาเอเวอเรสต์ตั้งอยู่จุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต(จีน) - ยอดเขาเอเวอเรสต์ตั้งอยู่ในแนวที่เกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย

10 ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ถูกพิชิตครั้งแรกเมื่อปี ค. ศ
ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ถูกพิชิตครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ และถูกตั้งชื่อตามท่านเซอร์ จอร์จ เอเวอร์รสต์ (Sir George Everest)ซึ่งเป็นพลเอกผู้ตรวจการที่ประจำการอยู่ในอินเดียขณะนั้น ยอดเขาเอเวอเรสต์มีชื่อเรียกเป็นภาษาเนปาลว่า ซาการ์มาทา ส่วนชาวทิเบตเรียกยอดเขานี้ว่า มิติ กุติ ชาปู ลองนา สูงกว่าระดับน้ำทะเล 8,848 ม.

11 ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ถูกพิชิตครั้งแรกเมื่อปี ค. ศ
ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ถูกพิชิตครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ และถูกตั้งชื่อตามท่านเซอร์ จอร์จ เอเวอร์รสต์ (Sir George Everest)ซึ่งเป็นพลเอกผู้ตรวจการที่ประจำการอยู่ในอินเดียขณะนั้น ยอดเขาเอเวอเรสต์มีชื่อเรียกเป็นภาษาเนปาลว่า ซาการ์มาทา ส่วนชาวทิเบตเรียกยอดเขานี้ว่า มิติ กุติ ชาปู ลองนา สูงกว่าระดับน้ำทะเล 8,848 ม.

12 Khyber Pass

13 Khyber Pass ช่องเขาไคเบอร์
ช่องเขาไคเบอร์ ซึ่งเป็นหนทางเดียวที่จะเข้าสู่อนุทวีปอินเดียในสมัยโบราณ ช่องเขานี้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อินเดียตลอดมา เพราะเส้นทางนี้เป็นทางผ่านของกองทัพของผู้รุกรานหรือพ่อค้านักเดินทางจากตะวันตกของอินเดีย หรือจาก เอเชียกลาง ผ่านทางอัฟกานิสถานเข้าสู่อินเดีย

14

15 ช่องเขาที่ชาวอารยันจากตะวันตก และกษัตริย์อเล็กซานเดอร์มหาราชของอาณาจักรกรีก ก็ใช้เส้นทางนี้เข้าสู่อินเดียทางเส้นทางนี้ เพราะเป็นช่องทางที่สะดวกที่สุดและง่ายที่สุด

16 ปัจจุบันช่องเขาไคเปอร์ถือเป็นช่องเขาสำคัญที่ใช้ติดต่อทางการค้าและระหว่างประเทศทางบกระหว่างปากีสถานกับอัฟกานีสถาน เพราะตลอดแนวพรมแดนอัฟกานีสถานและปากีสถานเป็นแนวภูเขาสูง

17 ช่องเขาไคเบอร์ ซึ่งเป็นหนทางเดียวที่จะเข้าสู่อนุทวีปอินเดียในสมัยโบราณ ช่องเขานี้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อินเดียตลอดมา เพราะเส้นทางนี้เป็นทางผ่านของกองทัพของผู้รุกรานหรือพ่อค้านักเดินทางจากตะวันตกของอินเดีย หรือจาก เอเชียกลาง ผ่านทางอัฟกานิสถานเข้าสู่อินเดีย

18 ช่องเขาไคเบอร์ ซึ่งเป็นหนทางเดียวที่จะเข้าสู่อนุทวีปอินเดียในสมัยโบราณ ช่องเขานี้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อินเดียตลอดมา เพราะเส้นทางนี้เป็นทางผ่านของกองทัพของผู้รุกรานหรือพ่อค้านักเดินทางจากตะวันตกของอินเดีย หรือจาก เอเชียกลาง ผ่านทางอัฟกานิสถานเข้าสู่อินเดีย

19 ช่องเขาไคเบอร์ ซึ่งเป็นหนทางเดียวที่จะเข้าสู่อนุทวีปอินเดียในสมัยโบราณ ช่องเขานี้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อินเดียตลอดมา เพราะเส้นทางนี้เป็นทางผ่านของกองทัพของผู้รุกรานหรือพ่อค้านักเดินทางจากตะวันตกของอินเดีย หรือจาก เอเชียกลาง ผ่านทางอัฟกานิสถานเข้าสู่อินเดีย

20 ปัจจุบันช่องเขาไคเปอร์ถือเป็นช่องเขาสำคัญที่ใช้ติดต่อทางการค้าและระหว่างประเทศทางบกระหว่างปากีสถานกับอัฟกานีสถาน เพราะตลอดแนวพรมแดนอัฟกานีสถานและปากีสถานเป็นแนวภูเขาสูง

21 Cape Comorin

22 แหลมโคโมริน (Cape Comorin) แหลมปลายสุดของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)

23 Taj Mahal

24

25 ทัชมาฮาล (Taj Mahal) - เป็นอนุสรณ์สถานแห่งความรัก - ตั้งอยู่ในเมืองอัครา(Akra)ประเทศอินเดีย - ทัชมาฮาลตั้งอยู่ในสวนริมฝั่งขวาของแม่น้ำยมุนา - นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ - ได้ถูกรับเลือกเป็นมรดกโลกเมื่อปี ค.ศ. 1983 - ก่อสร้างด้วยหินอ่อนสีขาว ศิลาแลง ประดับลวดลายเครื่องเพชร พลอย หิน - ใช้เวลาการก่อสร้างกินเวลานานถึง 22 ปี - ทัชมาฮาลเป็นสถานที่ตั้งของหลุมศพของพระนางมุมตัซ มาฮาล - เป็นสุสานหินอ่อนที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักที่สวยที่สุดในโลก - สร้างขึ้นโดยกษัตริย์ราชวงศ์โมกุลผู้มีรักมั่นคงต่อพระมเหสีของพระองค์ - นายช่างที่ออกแบบ ชื่อ อุสตาด ไอซา ถูกประหารชีวิตเพื่อมิให้ไปออกแบบสถาปัตยกรรมใด ๆ ที่สวยกว่าได้

26 แม่น้ำยมุนา

27

28


ดาวน์โหลด ppt GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google