งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)
ผศ. นพ. ธนา ขอเจริญพร โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประชุมเปิดโครงการ PrEP2START โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพฯ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559

2 ความเป็นมา บริการเพร็พโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเป็นระยะเวลา 12 เดือน ในกลุ่มผู้มีผลเอชไอวีลบ โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสาธิต การตรวจ รักษาและป้องกัน ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และสาวประเภทสอง

3 การประชาสัมพันธ์บริการเพร็พ (Reach & Recruit)
ใช้การแจกคูปองต่อๆกัน (PDI) ส่งต่อจากกลุ่มองค์กรชุมชน (ฟ้า สีรุ้ง) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ ประชาสัมพันธ์ สื่อสารผ่าน เครือข่ายชุมชน พูดคุยและ ซักถาม

4 Some Infographic posted on www.buddystation.org and Facebook page

5 เอกสารประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับเพร็พและการกินย

6 การให้บริการเพร็พ ร.พ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่เรื่องเพร็พ PrEP training เจ้าหน้าที่ และบทบาท ทีมฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ คลินิกเวชกรรมทั่วไป ทำหน้าที่ให้การปรึกษา HIV Pre-Posttest counseling และให้ คำแนะนำเรื่อง PrEP เบื้องต้น ทีมงานวิจัยโครงการ KPIS ทำหน้าที่ให้คำแนะนำเรื่อง PrEP และส่งตรวจคัดกรองก่อนเริ่ม PrEP (ส่งตรวจ Creatinine, HBsAg, Anti-HBs โดยได้รับสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากโครงการ KPIS และคัดกรองโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์และ Acute HIV infection) แพทย์ ทำหน้าที่พิจารณาเริ่ม PrEP ตามผลการตรวจคัดกรองของผู้รับบริการแต่ละราย และสั่งจ่ายยา (ยาฟรีจาก โครงการ KPIS) วันเวลาของการให้บริการ 2 วัน ในสัปดาห์ (วันพุธ และศุกร์) ระบบการจ่ายยา จ่ายยา โดยแพทย์ ทีมงานวิจัยโครงการ KPIS จัดเตรียมยา ตามนัดหมายของผู้รับบริการ การกำกับติดตามบริการ การติดตามผู้มารับบริการ แพทย์ และทีมงานวิจัยโครงการ KPIS

7 ข้อมูลการรับบริการ ระหว่าง พฤษภาคม 2558 – ตุลาคม 2559

8 Lerdsin Thammasat ALL ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 107
ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 84 (79%) ตัดสินใจกินเพร็พ 83 (78%) ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 420 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 282 (67%) ตัดสินใจกินเพร็พ 83 (20%) ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 527 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 366 (69%) ตัดสินใจกินเพร็พ 166 (31%)

9 ใครบ้างที่กินเพร็พ (N = 166)
ภาพรวม N = 166 อายุเฉลี่ย (ต่ำสุด, สุงสุด) 26 (23,31) 23 (20, 28) 25 อัตลักษณ์ทางเพศ เกย์ สาวประเภทสอง ผู้ชาย 58 (70%) 19 (23%) 6 (7%) 52 (63%) 23 (28%) 8 (10%) 110 (66%) 42 (25%) 14 (8%) เคยกินเพร็พมาก่อนเข้าโครงการ 1 (1%) 0 (0%) 1 (0.6%) ตรวจเอชไอวีครั้งแรกที่โครงการ 29 (35%) 53 (64%) 82 (49%)

10 กินเพร็พแล้วมีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้นไหม....
*ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

11 กินเพร็พแล้วโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้นไหม
จำนวนผู้มีผลตรวซิฟิลิสเป็นบวก ณ จุดเริ่มต้น (เดือน 0) จำนวนผู้มีผลตรวซิฟิลิสเป็นบวก ณ เดือนที่ 6 *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

12 ผู้ที่กินเพร็พมาตามนัดเพื่อรับยาสม่ำเสมอไหม
Lerdsin Thammasat ตัดสินใจกินเพร็พ 83 22 (27%) ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 ตัดสินใจกินเพร็พ 83 44 (53%) ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 ผู้ที่กินเพร็พมาตามนัดเพื่อรับยาสม่ำเสมอไหม รวมผู้ที่ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 จากสองโรงพยาบาล 66/166 (40%)

13 ……ต้องการรับเพร็พที่ไหน
รพ.ที่มีสิทธิประกันสุขภาพอยู่ ร้อยละ 50 ……ต้องการรับเพร็พที่ไหน ศูนย์เพื่อน ร้อยละ 39 ร้านขายยา ร้อยละ 4 รพ.เอกชน ร้อยละ 7 *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

14 เหตุผลที่สำคัญสามเหตุผลแรก ในการตัดสินว่าจะไปรับเพร็พที่ไหน
ร้อยละ 76 เลือกจากมาตรฐานของสถานบริการนั้นๆ ร้อยละ 75 เลือกจากความสะดวกในการเดินทางไปสถานบริการนั้นๆ ร้อยละ 68 เลือกจากความเป็นมิตรของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

15 อุปสรรคสำคัญต่อการกินเพร็พ
ร้อยละ 63 กังวลเรื่องผลข้างเคียง ร้อยละ 56 กลัวลืมกิน ร้อยละ 52 กังวลเรื่องราคา *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

16 กินยาได้ทุกวันในหนึ่งอาทิตย์ที่ผ่านมา
*ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

17 ใครบ้างที่ช่วยให้กินยาได้สม่ำเสมอ
ร้อยละ 60 ผู้ให้คำปรึกษา ร้อยละ 39เจ้าหน้าที่ในศูนย์ ร้อยละ 38แพทย์ ร้อยละ 33 แฟน *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

18 สิ่งซึ่งช่วยให้กินยาได้สม่ำเสมอ
ร้อยละ 80 เชื่อว่ายาป้องกันการติดเชื่อเอชไอวีได้ ร้อยละ 54 คิดว่าตนเองมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 38 คิดว่ายากินง่าย

19 สรุป บริการเพร็พสามารถแทรกอยู่ในระบบริการปกติได้
มีกลุ่มที่สนใจรับบริการเพร็พอยู่พอสมควร แต่จำเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์ และ สร้างความต้องการในการรับบริการ ผู้รับบริการในโครงการนี้ไม่มีรายงานว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้นหลังรับบริการ เพร็พ ยังมีข้อมูลในโครงการไม่เพียงพอที่จะตัดสินใจได้ว่าโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพิ่มขึ้นหลังรับบริการเพร็พหรือไม่ อย่างไรก็ดี การมาตรงตามนัด เป็นประเด็นที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ และ หาทางแก้ไข (ร้อยละ 40 ไม่กลับมาตามนัด และรับยาต่อเนื่อง ในเดือนที่ 1) เน้นการกินยาต่อเนื่องทุกวันกับผู้รับบริการ เพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น


ดาวน์โหลด ppt ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google