ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai
2
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 11.1 การสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การสืบพันธุ์ของสัตว์ การสืบพันธุ์ของคน 11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด การเจริญเติบโตของคน
3
จุดประสงค์การเรียนรู้
5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของคน 7. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างความผิดปกติของการตั้งครรภ์ และสภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
4
การเจริญเติบโตของคน (Human development)
5
11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์
1. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. การเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิด การเจริญเติบโตของแมลง การเจริญเติบโตของกบ การเจริญเติบโตของไก่ 3. การเจริญเติบโตของคน
6
3. การเจริญเติบโตของคน Fertilization = sperm + egg ---- zygote (initial fallopian tube) Cleavage --- embryo (morula) --- blastulation --- beginning of implantation in endometrium
9
http://faculty. southwest. tn
10
http://faculty. southwest. tn
12
Human embryonic development
ประมาณ 7 วัน หลังปฏิสนธิ ซึ่งอยู่ในระยะบลาสทูลา embryo จะสร้าง chorion ล้อมรอบ embryo บางส่วนของ chorion (ลูก) ยื่นเป็นแขนงเล็ก ๆ แทรกใน endometrium (แม่) ซึ่งพัฒนาไปเป็นรก (placenta) Embryo มีการสร้างถุงน้ำคร่ำ (amnion) หุ้มตัวเอง ภายในมี น้ำคร่ำ (amniotic fluid) ทำหน้าที่ ป้องกันการกระทบกระเทือน และช่วยการเคลื่อนไหวของทารก Embryo มีการสร้างสายสะดือเชื่อมกับรก
13
Human embryonic development
เมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ embryo จะมีความยาว 1.5 mm เข้าสู่ระยะ gastrulation เกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ Ectoderm Mesoderm Endoderm
14
http://faculty. southwest. tn
15
http://faculty. southwest. tn
16
http://faculty. southwest. tn
17
http://faculty. southwest. tn
19
Human embryonic development
ในสัปดาห์ที่ 3 จะปรากฏร่องรอยของระบบและอวัยวะขึ้น ซึ่งเข้าสู่ระยะ organogenesis จะมีการสร้างอวัยวะจนครบภายในเวลา 8 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของ embryo และหลังจากระยะนี้แล้ว จะเรียกว่า fetus
20
Human fetus development
เมื่ออายุได้ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือ และนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถแยกเพศได้ ช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น มีการเจริญของกระดูก มีผม และขน ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ฟีตัสจะมีขนาดโตเพิ่มมากขึ้น ในระยะนี้ เป็นระยะที่ระบบประสาทเจริญมาก
21
Human fetus development
หลังจากแม่ตั้งครรภ์ได้ประมาณ 280 วัน ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจำเดือน ครั้งสุดท้ายก็ถึงระยะครบกำหนดคลอดออกมา โดยส่วนใหญ่ส่วนหัวของทารกจะออกมาก่อน หลังจากคลอดออกมาประมาณ 1 นาทีทารกจะเริ่มหายใจ และติดตามด้วยเสียงร้อง ในกรณีที่มีการคลอดก่อนกำหนด ทารกอาจรอดชีวิตได้ แต่ต้องเลี้ยงไว้ในตู้ที่ควบคุมอุณหภูมิให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิในร่างกายแม่
23
Human development 6 weeks
27
http://faculty. southwest. tn
30
การตรวจน้ำคร่ำในครรภ์
31
การเจริญเติบโตของคนระยะหลังคลอด
การเจริญเติบโตของคนในระยะหลังคลอดนี้ ส่วนใหญ่จะมีการเพิ่มความสูงและน้ำหนักของร่างกาย ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะไม่เท่ากัน
32
สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
เซลล์ไข่ของคนอยู่ในประเภท Homolecithal egg เอ็มบริโอและฟีตัสได้รับอาหารจากแม่โดยผ่านทางรก ผู้เป็นแม่จึงต้องบริโภคอาหาร ให้ครบและพอเพียงต่อความต้องการ ครบสารอาหารหลัก 5 หมู่ โดยเฉพาะประเภทเนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเหลือง และมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย พบว่า ถ้าขาดสารอาหารประเภทโปรตีนในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด จะทำให้ทารกที่เกิดมาอาจไม่สมบูรณ์หรือมีระดับสติปัญญาต่ำกว่าปกติ หญิงมีครรภ์ควรได้รับพลังงานจากอาหารวันละประมาณ 2,300 กิโลแคลอรี่
33
สิ่งที่แม่ได้รับอาจมีผลกับทารกในครรภ์
1. สารเคมี เช่น ยากล่อมประสาทพวกทาลิโดไมล์ (thalidomide) สุรา บุหรี่ เป็นต้น 2. เชื้อโรค เช่น หัดเยอรมัน 3. กรรมพันธุ์ 4. รังสีต่าง ๆ เช่น รังสีเอกซ์
34
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของลูกอ่อน
ปัจจัยที่มีความจำเป็นมากสำหรับลูกอ่อน คือ อาหาร (ปริมาณไข่แดง) การคุ้มภัย ปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น
35
References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : หน้า. คณาจารย์ ภาควิชาสัตววิทยา. ปฏิบัติการชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ : หน้า.
36
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.