ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
(เมล็ดเรียบสีเหลือง)
Dihybrid Cross ถ้าผสมถั่วเมล็ดเรียบสีเหลืองที่เป็น homozygous dominance กับถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียวที่เป็น homozygous recessive จะได้ลูก F1 ถ้านำ F1 ผสมกันเองจงหา F2 genotype และ F2 phenotype ตัวอย่าง วิธีทำ 1. สร้างตาราง Punnet square 2. สร้างเส้นแบบแตกแขนง (Branching หรือ Forked-Line method) 3. ใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability) โดยผสมทีละลักษณะ (monohybrid cross) 1. ตารางพันเนต (Punnet Square) ของ F2 รุ่นพ่อแม่ (P) : SSYY X ssyy (เมล็ดเรียบสีเหลือง) (เมล็ดขรุขระสีเขียว) F1 SsYy (เมล็ดเรียบสีเหลือง) เซลล์สืบพันธุ์ F SY Sy sY sy
2
F2 Genotype :- เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย SY Sy sY SSYY SSYs SsYY Ssyy SSYy SSyy SsYy ssYY ssYy ssyy จากตารางจีโนไทป์มี 9 ชนิด (16 Combinations) คือ 1/16 SSYY 2/16 SsYY 1/16 ssYY 2/16 SSyy 4/16 SyYy 2/16 ssYy 1/16 SSyy 2/16 Ssyy 1/16 ssyy สูตร หาชนิดจีโนไทป์ = 3n (n = จำนวนคู่ของ heterozygous gene) เช่น จากกรณีตัวอย่างผสม YySs เข้าด้วยกัน จะเห็นว่า n = 2 คือจำนวนคู่ของ heterozygous gene มี 2 คู่ ดังนั้นจีโนไทป์จึงมี 9 ชนิด (33 = 9) F2 Phenotype
3
ระดับการแสดงลักษณะเด่น
1. Complete dominance Allele หนึ่งสามารถข่มอีก allele หนึ่งได้ทั้งหมด 100 ทำให้ระดับการแสดงออกของ heterozygous (Rr) (แดง) เท่ากับ homozygous (RR)(แดง) Rr = RR
4
2. Incomplete (partial) dominance
Allele หนึ่งสามารถข่มอีก allele หนึ่งได้บางส่วน ทำให้ระดับการแสดงออกของ homozygous dominance > heterozygous (RR > Rr) (แดง) (ชมพู)
5
P1 (RED) P2 (WHITE) X F1 F2
7
ในกว้าง ดอกสีแดง กับใบแคบ ดอกสีขาว ที่ต่างเป็นพันธุ์แท้ F1 ใบกว้าง ดอกสีชมพู ให้ F1 ผสมกันเอง จงหาลูกที่ได้เป็นใบกว้าง ดอกสีชมพู Ex. BB RR bb WW BB RW (กว้าง - ชมพู) Bb RW Bb RW B – RW 4 2 = 6 16 3
8
3. CO – dominance เลือดหมู่ AB
Allele 2 allele ข่มกันไม่ลง จึงแสดงออกร่วมกัน เท่า ๆ กัน เช่น IA เป็น CO – dominance IB IAIB Antigen A Antigen B เลือดหมู่ AB
9
สูง 190 cm. สูง 180 cm. 4. Overdominance > Heterozygous Homozygous
(tT) สูง 190 cm. Homozygous (TT) สูง 180 cm. >
10
Back Cross การผสมระหว่างลูกผสม (hybrid) กับรุ่นพ่อหรือแม่ที่เป็น homozygous recessive TT tt Back cross Tt
12
การตรวจสอบ Unknow genotype 2. ผสมตัวเอง (Self pollination) ในพืช
1. ทำ Test cross ใช้ Tester ที่เป็น homozygous recessive (tt) 2. ผสมตัวเอง (Self pollination) ในพืช TT TT TT 100 Tt TT 1TT 2Tt 1tt 4 4 4 สูง 75 เตี้ย 25
13
Test cross การผสมเพื่อตรวจสอบ Unknown genotype ว่าเป็น homozygous dominance หรือ heterozygous, เป็น linked gene หรือ independent gene, โดยนำไปผสมกับตัวทดสอบ (tester) ที่เป็น homozygous recessive TT tt Tt (100) Tt tt Tt (50) tt (50)
14
Test cross progenies Rr (เมล็ดกลมทั้งหมด)
รุ่นพ่อแม่ เมล็ดกลม RR เมล็ดขรุขระ rr Test cross progenies Rr (เมล็ดกลมทั้งหมด) รุ่นพ่อแม่ เมล็ดกลม RR เมล็ดขรุขระ rr Test cross progenies Rr , rr = 1 : 1 (กลม) (ขรุขระ) RR rr Rr (กลม)
15
พ่อแม่ ต้นสูงไม่มีขน ต้นเตี้ยมีขน เซลล์สืบพันธุ์ 2 แบบ ต้นสูงไม่มีขน
(TtSs) ต้นเตี้ยมีขน (ttss) พ่อแม่ T S O t s o t s o T S O t s o t s o t s o (TS) (ts) (ts) (ts) เซลล์สืบพันธุ์ 2 แบบ ต้นสูงไม่มีขน (TtSs) 54 ต้น ต้นเตี้ยมีขน (ttss) 58 ต้น t s o t s o T S O t s o ลูก 1 : 1 แผนภาพการผสมลักษณะพันธุกรรมที่เป็นลิงค์ยีน
16
พ่อแม่ เซลล์สืบพันธุ์ 4 แบบ 1 : 1 : 1 : 1 ต้นสูงไม่มีขน ต้นเตี้ยมีขน
(TtSs) ต้นเตี้ยมีขน (ttss) พ่อแม่ T o to S o so t o to s o so (TS) (Ts) (tS) (ts) (ts) เซลล์สืบพันธุ์ 4 แบบ T o So T o so t o So t o so t o so ต้นสูงไม่มีขน (TtSs) ต้นสูงมีขน (Ttss) ต้นเตี้ยไม่มีขน (ttSs) ต้นเตี้ยมีขน (ttss) T o to S o so T o to s o so t o to S o so t o to s o so 1 : : : 1 แผนภาพแสดงลักษณะพันธุกรรม independent gene (ยีนเป็นอิสระต่อกัน)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.