งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศิลปะภาพพิมพ์ Printmaking

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศิลปะภาพพิมพ์ Printmaking"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศิลปะภาพพิมพ์ Printmaking

2 ความหมายของภาพพิมพ์ ศิลปะภาพพิมพ์ (Graphic art or graphic) เป็นงานศิลปะประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสร้างภาพด้วยวิธีพิมพ์จากแม่พิมพ์ ตามวิธีการพิมพ์และเทคนิคต่างๆ การพิมพ์ในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า Premere มาจากคำในภาษาละติน หมายถึง การกดให้ติด คือ การสร้างภาพ หรือเครื่องหมายลงบนวัสดุผิวเรียบ เพื่อให้ได้ภาพ การพิมพ์ คือการจำลองต้นฉบับจะเป็นภาพหรือตัวหนังสือก็ตาม ออกมาเป็นจำนวนมากๆ เหมือนๆ กัน การพิมพ์เป็นการจำลองต้นฉบับออกมา การพิมพ์ หมายถึง กรรมวิธีใดๆ ในการจำลองหรือสำเนาภาพจากต้นฉบับแบบในลักษณะสองมิติแบนราบ ทั้งนี้รวมถึงการพิมพ์ผ้า การพิมพ์กระดาษปิดฝาหนังและการอัดรูป

3 กระบวนการสำคัญทางภาพพิมพ์
แม่พิมพ์ พื้นรองรับ ผลงานภาพพิมพ์ จำนวนสำเนา

4 ประเภททางการพิมพ์ กระบวนการพิมพ์ผิวนูน (Letter Press Printing หรือ Relief Printing) กระบวนการพิมพ์ร่องลึก (Gravure หรือ Intaglio) กระบวนการพิมพ์พื้นราบ (Planographic Printing) การพิมพ์จากแม่พิมพ์ช่องฉลุ (Stencil) การพิมพ์ด้วยแสง (Photographic Printing)

5 กระบวนการภาพพิมพ์ผิวนูน Relief Printing
การพิมพ์ที่ใช้พิมพ์ส่วนที่นูนสูงขึ้นมา หมึกจะเกาะติดบนส่วนที่นูนสูงขึ้นมาเท่านั้น ใช้แรงกดกระดาษลงบนแม่พิมพ์ หมึกจะเกาะติดกระดาษ เทคนิคการพิมพ์ผิวนูน เช่น ภาพพิมพ์แกะไม้ ภาพพิมพ์วัสดุ (พิมพ์ผิวบน)

6 กระบวนการภาพพิมพ์ร่องลึก Intaglio
การพิมพ์วิธีนี้ส่วนที่ต้องการพิมพ์จะอยู่ในบริเวณที่เป็นร่องลึกลงไปในแม่พิมพ์ หมึกจะลงไปขังในร่องที่แกะไว้ ส่วนหมึกที่อยู่บนผิวหน้าแม่พิมพ์จะถูกเช็ดออกจนหมด เมื่อกดกระดาษลงบนแม่พิมพ์หมึกในร่องจะเกาะติดกระดาษขึ้นมา เทคนิคการพิมพ์ร่องลึก ประกอบไปด้วย ภาพพิมพ์โลหะ ภาพพิมพ์วัสดุ (พิมพ์ร่องลึก)

7 กระบวนการภาพพิมพ์พื้นราบ (Planographic Printing)
วิธีนี้แม่พิมพ์จะเป็นพื้นแบนๆ สร้างภาพบนแม่พิมพ์โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี ทำให้ส่วนที่ต้องการพิมพ์รับหมึก เมื่อเอาหมึกทาลงบนแม่พิมพ์หมึกจะติดเกาะกระดาษขึ้นไป ก็จะได้สิ่งพิมพ์ตามที่ต้องการเทคนิคการพิมพ์พื้นราบ เช่น แม่พิมพ์กระดาษ แม่พิมพ์หิน

8 กระบวนการภาพพิมพ์ช่องฉลุ Stencil
วิธีการพิมพ์นี้แม่พิมพ์จะมีลักษณะเป็นฉากบางๆ เพื่อกั้นไม่ให้หมึกผ่านในส่วนที่ไม่ต้องการ ส่วนที่ต้องการให้หมึกผ่านนั้นโดยการฉลุรูปรอยต่างๆ ที่จะพิมพ์ลงบนแม่พิมพ์ หมึกจะซึมผ่านรอยฉลุลงไปเกาะติดกระดาษหรือ วัตถุที่จะพิมพ์ เทคนิคภาพพิมพ์ช่องฉลุ ประกอบไปด้วย ภาพพิมพ์ตระแกรงไหม

9 กระบวนการพิมพ์ภาพด้วยแสง Photographic Printing
การพิมพ์วิธีนี้เป็นการพิมพ์เดียวกันกับการอัดรูปไม่ได้ใช้หมึกพิมพ์ แม่พิมพ์เป็นแผ่นฟิล์ม Negative ซึ่งเคลือบด้วยน้ำยาไวแสง เพื่อเปิดแสงส่องอัดภาพลงบนวัตถุที่เคลือบน้ำยาไวแสงนั้น แล้วนำกระดาษหรือวัตถุที่พิมพ์ไปล้างด้วยน้ำยาเคมี ก็จะได้ภาพตามที่ต้องการ

10 ความเป็นมาของการพิมพ์

11 การพิมพ์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์
ภาพพิมพ์บนผนังถ้ำ ที่มาของภาพ : นายเอ เอฟ จี แคร์ ( A.F.G.KERR) ได้ค้นพบภาพเขียนสีครั้งแรกในพ.ศ.2467 ที่ถ้ำมือแดง บ้านส้มป่อย ตำบลสีบุญเรือง อำเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม  เป็นภาพที่ทำขึ้นโดยใช้มือจุ่มสีประทับบนผนังถ้ำหรือเขียนเป็นภาพมือ  มีทั้งมือสีแดงและสีเทารวม 10 มือด้วยกัน และยังมีภาพคนยืน 6 คน

12 ภาพประทับฝ่ามือบนผนังถ้ำ Grotte Chauvet
ที่มาของภาพ :

13 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษ แม่พิมพ์ช่องฉลุพบที่ญี่ปุ่น ที่มาของภาพ : พบมีการสร้างแม่พิมพ์ช่องฉลุจากเส้นผมที่นำมาทอเป็นผืนเนื่องจากเส้นซึ่งผมมีความเหนียวและแข็งแรงพอที่จะรองรับวัสดุอื่นได้ สามารถเป็นตัวกลางให้หมึกหรือของเหลวอื่นผ่านได้โดยง่าย นอกจากนั้นยังปรากฏมีการนำเอาแผ่นกระดาษและแผ่นโลหะมาฉลุเป็นลวดลายต่างๆแล้วโรยสีลงไปตามรอยฉลุเหล่านั้น เมื่อยกแม่พิมพ์ออกมาจะได้ลวดลายตามแบบ

14 ตราประทับดินเหนียว ที่มาของภาพ : ตราประทับดินเหนียวปรากฏในดินแดนลุ่มน้ำไทกริซ - ยูเฟรติส แถบตะวันออกกลาง และเผยแพร่ไปสองทาง คือยุโรป และอินเดีย โดยผ่านทางพ่อค้าเป็นส่วนใหญ่ ตราประทับเข้าสู่อินเดียจากลุ่มน้ำสินธุ เข้าสู่ลำน้ำเจ้าพระยาเก่าในช่วงสมัยทวารวดี ซึ่งมีหลักฐานตราประทับที่หลงเหลืออยู่จำนวนหนึ่ง โดยเป็นตราประจำตัวของพ่อค้า เพื่อผูกมัดสินค้าและบอกสถานภาพของตน หรือเป็นแม้กระทั่งเป็นเครื่องราง ตราประทับจะประทับจากหัวแหวนก็ดี ทำด้วยหินแกะก็ดี แล้วกดประทับลงบนผิววัสดุซึ่งหาง่ายและราคาถูก คือ ดินเหนียว ซึ่งยังคงสามารถหลงเหลือมาจนทุกวันนี้ ตราดังกล่าวยังถือวัฒนธรรมอินเดีย เช่น รูปสัตว์เคารพ ภาษาปัลลาวะ เป็นต้น

15 ใน ค.ศ. 868 (พ.ศ. 1411) พบมีการพิมพ์หนังสือเล่มแรก คือ วัชรสูตร พิมพ์โดยวางเซียะ หนังสือม้วนวัชรสูตร ที่มาของภาพ : พระสูตรนี้พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเป็นภาษาจีน พิมพ์ด้วยแม่พิมพ์แกะไม้

16 225 ปี ก่อนคริสตกาล เอเชียตอนกลางและจีนรู้จักการแกะตราประทับใช้
ตราประทับของจีน ตราประทับของจีน ที่มาของภาพ : ที่มาของภาพ : จีนโบราณใช้ตราประทับเป็นเครื่องแสดงถึงอำนาจทางการทหารสำหรับลงนามแทนลายมือเพื่อแต่งตั้งหรือถอดถอนขุนนาง ต่อมากวีและนายทหารต่างก็ใช้เพื่อแสดงถึงตัวตนของตนเองในสังคมเหมือนลายเซ็นต์ในปัจจุบัน

17 ระหว่าง ค.ศ ชาวจีนชื่อ ไปเซ็ง(Pi Cheng)ได้คิดวิธีพิมพ์โดยใช้ตัวพิมพ์จากดินเหนียว (Movable Type Printing) ที่มาของภาพ : ที่มาของภาพ : ที่มาของภาพ :

18 กระบวนการพิมพ์แบบ Movable Type Printing

19 ค.ศ.1423 มีการพิมพ์แกะไม้ในยุโรป
การพิมพ์ระยะแรกเป็นการพิมพ์หลังไพ่ ด้วยการพิมพ์สีดำโครงเส้นแล้วระบายสี ภาพ St. Christopher, 1423. ที่มาของภาพ :

20 ใน ค.ศ. 1450 Johann Gutenberg ได้คิดวิธีการพิมพ์โดยใช้ตัวเรียง( Move type printing) ได้เป็นคนแรกในยุโรปและได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งการพิมพ์ในยุคปัจจุบัน ที่มาของภาพ : ที่มาของภาพ :

21 Johann Gutenberg and Johann Fust, ‘Biblia Latina’ (1455).

22 ค.ศ.1480 มีระบบการพิมพ์แบบ Dry Point Engraving ในยุโรป
โดยการขูดแผ่นโลหะให้เป็นร่องลึก (Gravure) ค.ศ Albrecht Durer (อัลเบริตร์ ดูเลอร์) ช่างเขียนภาพได้คิดวิธีการพิมพ์จาก Copper plate Engraving โดยใช้ของแหลมขูดให้เป็นรอย

23 ผลงานของอัลเบริตร์ ดูเลอร์
เทคนิค Copper plate engraving

24 ค.ศ.1620 Lucas Van Leyden Lucas van Leyden by Albrecht Durer, 1521
รู้จักการทำ Copper Etching โดยใช้น้ำกรดกัดแผ่นทองแดงให้ เป็นรอยลึก Lucas van Leyden by Albrecht Durer, 1521

25 ตู้โรยยางสนและน้ำหนักที่ได้จากการ
ใช้กรดกัดแผ่นโลหะในเวลาที่ต่างกัน

26

27 ใน ค.ศ.1642 Ludwing Ran Siegen ได้คิดวิธีการพิมพ์ Mezzotint Engraving โดยอาศัยเครื่องมือต่างๆ เพื่อสร้างน้ำหนัก

28 Malgorzata Zurakowska, Apocalypse I
(Angel of Abyss III), 1986, mezzotint

29 ใน ค.ศ.1793 Alois Senefelder ได้พบวิธีพิมพ์หิน Lithography (PLANOGRAPHIC)  เป็นเทคนิควิธีการพิมพ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีเป็นหลัก  โดยการเขียนภาพลงบนหินปูน     หรือแผ่นอลูมินัมเพลท ด้วยวัสดุที่เป็นไข อาทิ เช่น แท่งดินสอไข ,หมึกแท่งไข หรือวัสดุต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นไข จากนั้นนำไปกัดกรด กระบวนการพิมพ์ใช้หลักการความต่างระหว่างน้ำกับน้ำมัน

30

31 ปี 1861 เริ่มมีกระบวนการHalf tone Screen
ปี Edward และ James Bullockได้คิดวิธี Halftone Screen โดยใช้จุดแต่เป็นจุดที่สร้างขึ้นให้กระจายเต็มเนื้อที่ในลักษณะ Grain Halftone Screen

32 ภาพพิมพ์แกะไม้ญี่ปุ่น Ukiyo-e
ภาพ คลื่นยักษ์ ของคัตซึชิกะ โฮกุไซ ที่มาของภาพ :

33 ภาพพิมพ์แกะไม้ใช้กระบวนการพิมพ์ผิวนูน

34 กระบวนการแม่พิมพ์

35

36

37

38

39 การจับกระดาษวางลงบนแม่พิมพ์

40

41 การพิมพ์มือด้วย “บาเร็ง”

42

43 การแยกแม่พิมพ์ออกตามสีที่ต้องการ

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54 อิทธิพลทางศิลปะจาก Ukiyo-e ที่ญี่ปุ่น สู่ Empressionism ในตะวันตก กระแสตื่น ญี่ปุ่น

55

56  แวนโก๊ะ ชื่นชมศิลปะภาพพิมพ์ญี่ปุ่น และหยิบยืมรูปแบบทางศิลปะ มาสร้างสรรค์

57 อิทธพลต่อ กุสตาฟ คิ้ม และศิลปิน อิมเพรสชั่นนิสอีกหลายคน

58 อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก
ได้รับอิทธิพลจากภาพพิมพ์อุคิโยเอะ ซึ่งแสดงให้เห็นลักษณะจากการ ตัดเส้นและลงสีแบบเรียบง่าย มีการใช้ตัวอักษรเข้ามาประกอบ


ดาวน์โหลด ppt ศิลปะภาพพิมพ์ Printmaking

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google