งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %) 5 ยุทธฯ 2 ลดขาดยา ยุทธฯ 1 ลดเสียชีวิต TB ยุทธฯ 3พัฒนาการส่งต่อและติดตาม

2 สถานการณ์โรควัณโรคเขตสุขภาพที่ 2
ความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ปี (ไตรมาส1-2/2560) เป้าหมาย ≥85% อุตรดิตถ์ KPI>85 ประเทศ แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center) ข้อมูล ณ วันที่ 26/06/2018

3 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5
อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ปี (ไตรมาส ) เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 KPI<5 แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center) ข้อมูล ณ วันที่ 26/06/2018

4 รูปแบบการดำเนินงานควบคุมวัณโรคจังหวัดอุตรดิตถ์
ย.1 ลดการเสียชีวิต คัดกรองเชิงรุกวัณโรค Mobile ตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือทีมีความไว กำกับติดตามการดำเนินงานผ่าน EOC/NOC-TB/พชอ./PATB เขต ย.2 ลดการขาดยา ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่ เสียชีวิตทุกราย วิเคราะห์สาเหตุการเสียชีวิต กำกับติดตามระดับจังหวัด ประชุมติดตามระดับอำเภอ พัฒนาร่วมกับ พชอ. คณะกรรมการ PATB เขต Success Rate ย.3.พัฒนาการส่งต่อและติดตาม พัฒนาระบบการส่งต่อข้อมูลเพื่อการดูแลและการบริหารจัดการคุณภาพยาผู้ป่วย

5 ผลการดำเนินงานของจังหวัดอุตรดิตถ์
คัดกรองเชิงรุกวัณโรค และวัณโรคดื้อยาในกลุ่มเสี่ยง ด้วย Mobile CXR ทุกอำเภอ ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค จังหวัดอุตรดิตถ์ ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2561 กลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย (คน) verbal (ร้อยละ) CXR CXR ผิดปกติเข้า ได้กับวัณโรค (ร้อยละ) พบป่วย ผู้สัมผัส 2517 48.0 24.6 1.7 0.50 HIV 1,691 65.0 57.0 2.2 1.00 เบาหวาน 22,568 59.0 30.0 4.3 0.10 ผู้สูงอายุ 76,521 66.0 14.0 1.8 HCWs 3,046 110.0 102.0 0.4 0.00 เรือนจำ* 1,490 0.0 ต่างด้าว 419 1.0 0.2 อื่นๆ N/A 100.0 2.5 0.14 รวม 108,252 56.0 41.0 1.6 ข้อมูล TBCM ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2561 * เรือนจำ CXR 16 กรกฎาคม 2561

6 ผู้สัมผัส อายุ >5-18 ปี
ผลการคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน อายุต่ำว่า 18 ปี จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2561 อำเภอ ผู้สัมผัส อายุ 0- 5 ปี ผู้สัมผัส อายุ >5-18 ปี จำนวน พบป่วย LTBI ไม่ทราบผล ตรอน 5 1 2 3 ทองแสนขัน 4 6 ท่าปลา 24 109 น้ำปาด 14 บ้านโคก 7 พิชัย 46 21 ฟากท่า ลับแล 16 เมืองอุตรดิตถ์ รวมจังหวัด 47 43 206

7 ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสใกล้ชิด (Close Contact)
อำเภอ เป้าหมาย * (คน) verbal (ร้อยละ) CXR CXR ผิดปกติเข้า ได้กับวัณโรค (ร้อยละ) พบป่วย พิชัย 459 51.2 10.7 2.6 1.28 น้ำปาด 246 27.6 22.0 5.9 0.00 ทองแสนขัน 177 20.3 9.6 8.3 ลับแล 234 67.1 32.5 0.6 เมืองอุตรดิตถ์ 921 11.7 9.2 2.8 0.93 ฟากท่า 75 32.0 24.0 0.0 บ้านโคก 51 49.0 29.4 ท่าปลา 153 343.1 188.2 0.4 ตรอน 201 14.4 8.5 6.9 6.90 รวม 2,517 48.0 24.6 1.7 0.50 * คือ ค่าคาดประมาณจากผู้ป่วยวัณโรคปอด ปี 2559 และ 2560 X 3

8 ผลการตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือที่มีความไว Xpert

9 รายการปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิต
ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสียชีวิตทุกราย(TB Dead Case Review วิเคราะห์สาเหตุการเสียชีวิต ด้วย 5 D (Death DOT Disease Drug Data) รายการปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิต จำนวนN=21 ร้อยละ โรคร่วม CKD,DM,HT,COPD,HIV,CA 7 33 สูงอายุ 13 62 เกรดเสมหะ 2+, 3+ เสียชีวิตเข้มข้น (2 เดือนแรก) 9 56 เข้าสู่การรักษาล่าช้า (เกรดเสมหะ2+, 3+ เสียชีวิตระยะเข้มข้น) ระบบการส่งต่อข้อมูล ผู้ป่วยวัณโรคล่าช้า (ควรภายใน 7 วัน) ความไม่ครอบคลุมของการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค (มีบาง รพ. ไม่ขึ้นทะเบียนผู้ป่วย) แหล่งที่มาของข้อมูล TBCM Data Center ข้อมูล ณ วันที่ 26/06/2018

10 ผลลัพธ์ : ความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
ผลลัพธ์ : ความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำปี ร้อยละ แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center ข้อมูล ณ วันที่ 26/06/2018

11 ผลลัพธ์ความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ไตรมาส 1/2561
ร้อยละ Success rate ประเทศ ร้อยละ 44.4 Success rate เขตสุขภาพที่ 2 ร้อยละ 43.6 Success rate อุตรดิตถ์ ร้อยละ ( รักษาสำเร็จ+กำลังรักษา = 88.4 )

12 ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
Best Practice น้ำปาดโมเดล : TB Clinic Learning Center ตรอนโมเดล : การคัดกรองวัณโรคในอำเภอตรอน ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ การเร่งรัดคัดกรอง การตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือที่มีความไว ยังดำเนินการไม่ตามเป้าหมาย การดูแลแบบมีผู้ดูการกำกับการกินยาหรือผู้จัดการรายบุคคลยังไม่ครอบคลุม การส่งต่อข้อมูลเพื่อการดูแลยังไม่ครอบคลุม

13 ประเด็นที่ควรติดตามปี 2562
การวิเคราะห์กลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยงวัณโรคเพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายการ คัดกรองเชิงรุก รวมถึงการบริหารจัดการการให้บริการตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือที่มีความไว นำข้อมูลรายงานการเสียชีวิตมาวิเคราะห์เพื่อกำหนดแนวทางการดูแลรักษาป้องกันการเสียชีวิตในระหว่างการรักษา จัดระบบการส่งต่อข้อมูลและการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการดูแลผู้ป่วยวัณโรค เช่น กำหนดระยะเวลาการส่งต่อข้อมูล จาก รพศ/รพ.-สสอ/รพสต. ดูแลจัดเก็บยาให้ผู้ป่วยทุก 7 วัน กำกับติดตามการดำเนินงานผ่านศูนย์ปฏิบัติการ EOC/NOC-TB/พชอ. เป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง


ดาวน์โหลด ppt อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google