งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสอบสวน ป้องกัน และควบคุม โรคไข้เลือดออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสอบสวน ป้องกัน และควบคุม โรคไข้เลือดออก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสอบสวน ป้องกัน และควบคุม โรคไข้เลือดออก

2 สถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออก

3 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกรายอำเภอพื้นที่เขตสุขภาพที่ 4
สัปดาห์ที่ ข้อมูลระหว่างวันที่ 1-28 พ.ย. 58

4 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายสัปดาห์ พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 พ. ศ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายสัปดาห์ พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 พ.ศ เปรียบเทียบกับ พ.ศ และมัธยฐาน (พ.ศ )

5 อัตราป่วยไข้เลือดออก จำแนกตามกลุ่มอายุ พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 และประเทศไทย พ.ศ. 2558

6 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายจังหวัด พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 พ. ศ
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายจังหวัด พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 พ.ศ. 2558 ลำดับอัตราป่วย ประเทศ จังหวัด จำนวนป่วย (ราย) อัตราป่วย/ ประชากรแสนคน 9 อ่างทอง 1,029 362.88 17 ลพบุรี 2,119 279.40 24 สระบุรี 1,398 220.69 31 พระนครศรีอยุธยา 1,368 170.23 36 นครนายก 406 157.79 45 นนทบุรี 1,530 130.34 51 ปทุมธานี 1,217 113.31 72 สิงห์บุรี 108 50.91

7 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออก 10 อันดับ เขตสุขภาพที่ 4

8 มารู้จัก โรคไข้เลือดออกกันดีกว่า

9 1.เชื้อก่อโรค

10 การแพร่โรค Aedes aegypti ยุงลายบ้าน เป็นพาหะหลัก
Aedes albopictus ยุงลายสวน เป็นพาหะรอง ลักษณะที่แตกต่างของยุงตัวเมียและตัวผู้ มีหนวดเป็นพุ่ม เรียกว่า plumose มีหนวดคล้ายเส้นดาย เรียกว่า pilose ตัวเมีย ตัวผู้

11 ยุง ทุกตัวต้องการ น้ำหวานจากพืช เพื่อการยังชีพ แต่ยุงเพศเมียเท่านั้นที่มีความกระหายเลือด ด้วยเหตุผลในการขยายพันธุ์ เพราะเลือดคือ แหล่งโปรตีนที่สำคัญสำหรับการพัฒนาของไข่

12 ยุงชอบกัดคนประเภทไหน
ยุงชอบกัดคนที่มีเหงื่อออกมาก ยุงชอบกัดคนที่ตัวร้อน (อุณหภูมิบริเวณผิวหนังสูง) ยุงชอบกัดคนที่หายใจแรง เพราะคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมากับลมหายใจเป็นตัวดึงดูดยุง ยุงชอบกัดเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ เพราะกลิ่นและลักษณะผิวหนัง ยุงชอบกัดผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เพราะฮอร์โมนแตกต่างกัน ยุงชอบกัดคนที่ใส่เสื้อผ้าสีเข้ม เช่น สีดำ กรมท่า แดง เขียว มากกว่าสีขาว ชอบกินเลือดคนมากกว่าเลือดสัตว์

13 ทำไมยุงกัดแล้วคัน สาเหตุของการคันคือ น้ำลายของยุง โดยที่ยุงจะฉีดน้ำลายลงไปในบริเวณที่เจาะดูดเลือด เพื่อทำให้เลือดเจือจางลง จะได้ดูดขึ้นไปได้ง่าย น้ำลายของยุงทำให้คนเราเกิดอาการแพ้ต่างๆ กัน บางคนแค่มีอาการคัน แต่บางคนแพ้มากเกาจนเป็นแผลลุกลาม ติดเชื้อได้ง่าย

14 3. ระยะฟักตัว

15 4. อาการและอาการแสดง 1.ไข้สูงลอย 2-7 วัน อาจสูง C บางรายอาจชักได้ 2. มีอาการเลือดออก ส่วนใหญ่จะพบที่ผิวหนัง พบบ่อยที่สุดคือที่ผิวหนัง อาจมีเลือดกำเดาหรือเลือดออกตามไรฟัน 3. มีตับโต กดเจ็บ 4. มีภาวะการไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อก หากว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาช็อกอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง ส่วนใหญ่ก็จะฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว

16

17 แล้วทำไมต้องติดเชื้อต่างชนิดกัน แล้วติดเชื้อคนละครั้งจึงทำให้เกิดโรคไข้เลือดออก ????
เมื่อรับเชื้อชนิดแรกเข้ามาร่างกายจะสร้าง แอนติ้บอดี้ (Antibody) ซึ่งจำเพาะกับเชื้อชนิดนั้นขึ้นมา และคงอยู่ตลอดไป

18

19

20

21

22 CBC รายการ ค่าปกติ ผล Hct 36-48 %) 52 WBC 5,000-10,000 3,100
Lymphocyte 20-45 % 36.8 Neutrophil 45-70 % 50 Platelet 140, ,000 96,000

23 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC (ค่าปกติ) วัน เดือน ปี 18 มิ.ย. 58 19 มิ.ย. 58 20 มิ.ย. 58 21 มิ.ย. 58 22 มิ.ย. 58 23 มิ.ย. 58 Hct (36-48 %) 47.5 43.4 36.8 46.6 46.7 WBC (5,000-10,000) 3,100 2,700 2,100 3,600 4,400 7,400 Lymphocyte (20-45 %) 47 42 36 44 45 Neutrophil (45-70 %) 50 40 34 29 30 Platelet (140, ,000) 96,000 82,000 58,000 78,000 110,000 133,000

24 DSS 6. ภาวะแทรกซ้อน

25 7. การเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก

26 8. การวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก
อาการและอาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 26

27 9. การดูแลรักษา

28 10. วัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก
28

29 11. แนวทางการดำเนินงานก่อนการระบาด
29

30 การสอบสวนโรคไข้เลือดออก
ผู้ป่วยเฉพาะราย (รายแรกของเหตุการณ์ในพื้นที่) ผู้ป่วยเป็นกลุ่ม ผู้ป่วยเสียชีวิต

31 ขั้นตอนการสอบสวนโรค (STEPS OF INVESTIGATION)
1. ยืนยันการวินิจฉัยโรค 2. ยืนยันการระบาดของโรค 3. ค้นหาผู้ป่วย  รายแรก ๆ  รายใหม่ 4. รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา เวลา สถานที่ และบุคคล 5. ตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน 6. กำหนดมาตรการป้องกันเพื่อควบคุมการระบาดของโรค 7. เขียนรายงาน  เพื่อรายงานผู้บริหาร  เพื่อพิมพ์เผยแพร่

32 1. ยืนยันการวินิจฉัย ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย

33 2. การยืนยันการระบาดของโรค
สูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 3-5 ปี มีผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน

34 3. การค้นหาผู้ป่วย ผู้สัมผัสในครอบครัว ผู้สัมผัสในชุมชน/โรงเรียน
ผู้สัมผัสในโรงพยาบาล ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ ?? การกำหนดนิยามในการค้นหาผู้ป่วย สามารถอิงคู่มือของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งควรประกอบด้วย - อาการ/อาการแสดง - ระบุ เวลา สถานที่ และบุคคล

35 4. การรวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
เวลา : วัน/เวลาเริ่มป่วย สถานที่ : ที่อยู่ โอกาสได้รับเชื้อ โอกาสแพร่โรค บุคคล : อายุ ฯลฯ

36 5. การตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน
จำเป็นต้องใช้ข้อมูล ประกอบการตั้งสมมุติฐาน เพื่อหาแหล่งแพร่โรค ระยะฟักตัว แหล่งโรค (คนป่วย/พาหะ) ที่สงสัย ซึ่งควรเชื่อมโยงกับผู้ป่วยได้

37 การพิสูจน์สมมุติฐาน เพื่อหาแหล่งแพร่โรค
- ผู้ป่วยจำนวนน้อย ให้ CBC ดูความเข้มข้นของเลือด จำนวนเม็ดเลือดขาว เกร็ดเลือด - ดูความเชื่อมโยงกับผู้ป่วยรายอื่นๆ - ผู้ป่วยจำนวนมาก สามารถทำการศึกษาระบาด เชิงวิเคราะห์ก่อนได้ เช่น Case-control study

38 6. การกำหนดมาตรการเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
1. การเสริมสร้างความรู้ 2. ป้องกันการติดเชื้อ เช่น - ป้องกันการถูกยุงลายกัด - กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย/กำจัดยุงลายตัวแก่ - ฉีดวัคซีนป้องกันโรค (ถ้ามีในอนาคต) 3.คัดกรองโรคก่อนที่จะมีอาการชัดเจน/ช็อค เช่น - คัดกรองผู้ที่มีไข้/สงสัยป่วย ด้วย Tourniquet test - คัดกรองผู้ที่มีไข้/สงสัยป่วย ด้วยผล Lab - ผู้ดูแลเด็กช่วยคัดกรองอาการสำคัญ เช่น จุดเลือดออก เด็กซึม มือเท้าเย็น ฯลฯ แล้วรีบส่งสถานบริการสาธารณสุข 4.ให้การรักษาและติดตามการรักษาเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน/ การเสียชีวิต ที่จะเกิดตามมา - รักษาโรคและดูแลที่ดี 5. การเฝ้าระวังโรคต่อไปอีก อย่างน้อย 2 เท่า ของระยะฟักตัวสูงสุดเพื่อให้แน่ใจ ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เกิดขึ้นอีก

39 มาตรการในการควบคุมยุงลาย
การควบคุมการระบาด ต้องกำจัดทั้งตัวยุงลาย และลูกน้ำยุงลาย การป้องกันโรคล่วงหน้า เน้นการกำจัดลูกน้ำยุงลาย

40 ผลิตภัณฑ์กำจัดลูกน้ำมีความเป็นพิษต่อคนน้อย
ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 3.4 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี น้ำหนักตัว 4 กิโลกรัม น้ำหนักตัว 12 กิโลกรัม ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 10.3 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี น้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 43 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี น้ำหนักตัว 25 กิโลกรัม ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 21.5 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี

41 Integrated Vector Control
Apply more than 1 method Control adult Indoor Residual Spray Insecticide Treated Net Space spray Larval control Environmental control Chemical control Larvivorous fish Biological control

42 การพ่นฝอยละออง (ULV) เป็นวิธีการกำจัดตัวแก่ได้ดีที่สุด แต่ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของสารกำจัดแมลงด้วย

43 - เพื่อรายงานผู้บริหาร - เพื่อพิมพ์เผยแพร่
7. การเขียนรายงาน - เพื่อรายงานผู้บริหาร - เพื่อพิมพ์เผยแพร่

44 Thank you 44


ดาวน์โหลด ppt การสอบสวน ป้องกัน และควบคุม โรคไข้เลือดออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google